SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
บทที่ 3
ตําแหนงสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยในอาเซียน
ขาว
3.1 การผลิตขาวไทยกับประเทศในอาเซียน
ขาวเปนอาหารหลักของคนไทยและคนในประเทศอาเซียน สําหรับประเทศ
ไทยนั้นขาวเปนพืชเศรษฐกิจสําคัญที่ทํารายไดใหกับประเทศอยางมากมาตั้งแต
อดีตจนกระทั่งปจจุบัน ซึ่งจากขนาดพื้นที่การเกษตรทั้งหมดของประเทศกวา 130
ลานไร พื้นที่เพาะปลูกขาวมีสัดสวนถึงรอยละ 50 หรือกวา 62 ลานไร จะเห็นได
จากมูลคาการสงออกขาวในป 2531 มีมูลคา 69,352.8 ลานบาท และเพิ่มเปน
203,219.1 ลานบาท ในป 2551 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 193.0 ระหวางป 2531-2551
เมื่อพิจารณาการสงออกขาวในป 2551 พบวามีสัดสวนรอยละ 30.8 ของมูลคา
สงออกสินคาเกษตร หรือคิดเปนรอยละ 3.5 ของมูลคาการสงออกรวมทั้งหมด
นอกจากนี้ขาวยังเปนรายไดหลักของชาวนาถึง 3.7 ลานครัวเรือน จากครัวเรือน
เกษตร 5.6 ลานครัวเรือน หรือคิดเปนรอยละ 66 ของครัวเรือนเกษตรทั้งหมด และ
เปนแหลงจางงานเกษตรกรกวา 4 ลานครัวเรือน ซึ่งสามารถสรางรายไดและความ
มั่นคงใหภาคเกษตรไทยเปนอยางมาก
ขณะเดียวกันแมวาไทยจะเปนประเทศผูผลิตหลักและสงออกขาวเปนอันดับ
1 ของโลก แตไทยไมไดเปนประเทศเดียวในอาเซียน ที่มีศักยภาพในการผลิตขาว
เพื่อการบริโภคภายในประเทศและเพื่อการสงออก ยังมีประเทศเพื่อนบานที่เปนทั้ง
คูแขงและคูคาขาวของไทย คือ พมา เวียดนาม ลาว อินโดนีเซีย มาเลเซีย
AEC Promt 
28
ฟลิปปนสและกัมพูชา ซึ่งจากรายงานสถิติของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา
(Foreign Agricultural Service, United States Department of Agriculture :
USDA) สามารถพิจารณาไดดังนี้
3.1.1 เนื้อที่เพาะปลูก
เมื่อพิจารณาเนื้อที่เพาะปลูกขาวทั้งหมดของอาเซียน ในชวงระหวางป
2550/51 ถึง 2552/53 พบวาอาเซียนมีเนื้อที่เพาะปลูกทั้งหมด 283.7 ลานไร และ
เพิ่มขึ้นเปน 284.4 ลานไร คิดเปนอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 3.0 แตเมื่อ
พิจารณาเปนรายประเทศ จะพบวาอินโดนีเซียมีเนื้อที่เพาะปลูกมากที่สุด จํานวน
74.3 ลานไร รองลงมาคือ ไทย 66.3 ลานไร และเวียดนาม 46.3 ลานไร ถา
พิจารณาจากอัตราการขยายตัวในชวงปดังกลาว จะพบวาอินโดนีเซียและ
เวียดนาม มีอัตราการขยายตัวของเนื้อที่เพาะปลูกลดลง โดยอินโดนีเซียขยายตัว
ลดลงรอยละ 2.6 ในป 2552/53 สวนเวียดนามขยายตัวลดลง รอยละ 0.9 ในป
2551/52 และขยายตัวเพิ่มขึ้นในป 2552/53 เหลือติดลบเพียง 0.7 % สวนไทยมี
อัตราการขยายตัวของเนื้อที่เพาะปลูกเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง (ตารางที่ 6)
3.1.2 ผลผลิตตอไร
ดานผลผลิตตอไรของอาเซียน เมื่อมองภาพรวมในระหวางป 2550/51 ถึง
2552/53 พบวามีผลผลิตตอไรเฉลี่ยอยูที่ 572.4-583.4 กิโลกรัมตอไร และเมื่อ
พิจารณาเปนรายประเทศ สามมารถแบงออกไดเปน 2 กลุม คือ
1) กลุมที่มีผลผลิตตอไรสูงกวาคาเฉลี่ยในแตละป ซึ่งประกอบดวย
อินโดนีเซีย เวียดนาม และฟลิปปนส
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
29
2) กลุมที่มีผลผลิตตอไรต่ํากวาคาเฉลี่ยในแตละป ไดแก ไทย พมา ลาว
กัมพูชา และมาเลเซีย
ถาพิจารณาอัตราการขยายตัวของผลผลิตตอไร จะพบวาในชวงปดังกลาว
ประเทศที่มีอัตราการขยายตัวสูงสุด คือประเทศกัมพูชา มีอัตราการขยายตัว
เพิ่มขึ้นรอยละ 5.0 ในป 2551/52 รองลงมาคือไทยมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นรอย
ละ 2.9 และลาว 2.6 ในป 2552/53 (ตารางที่ 6)
3.1.3 ผลผลิตขาวสาร
สําหรับผลผลิตขาวสาร จะพบวาประเทศที่มีผลผลิตมากที่สุดคือ ประเทศ
อินโดนีเซีย รองลงมาคือเวียดนาม ไทย พมา และฟลิปปนส ซึ่งตลอดชวงป
2550/51 ถึง 2552/53 ปริมาณผลผลิตขาวที่ผลิตไดในแตละประเทศยังไมการ
เปลี่ยนแปลงมากนัก แตประเทศที่ถูกจับตามองและกลาวถึงมากในปจจุบัน คือ
ประเทศเวียดนามเนื่องจากเปนประเทศที่สามารถผลิตขาวไดมากเปนอันดับ 2 ของ
อาเซียน และมีตลาดสงออกหลักเชนเดียวกับไทย ถือไดวาเปนคูแขงที่สําคัญของ
ไทยในตลาดโลกโดยเฉพาะกลุมสินคาขาวขาว จะเห็นไดจากผลผลิตขาวของ
เวียดนาม ในป 2552/53 เวียดนามสามารถผลิตขาวสารไดทั้งสิ้น 23.8 ลานตัน แต
ไทยผลิตไดเพียง 20.0 ลานตัน ในขณะที่พมาผลิตได 10.7 ลานตัน กัมพูชาผลิตได
4.6 ลานตัน และลาวผลิตได 1.9 ลานตัน นอกจากนี้เมื่อพิจารณาจากอัตราการ
ขยายตัวของผลผลิตที่ผลิตได พบวาประเทศที่มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นสูงสุด คือ
พมา เพิ่มขึ้นรอยละ 5.7 ลาว 5.6 ไทย 3.1 กัมพูชา 2.4 สวนเวียดนามขยายตัว
เพิ่มขึ้นเพียง 0.4 เทานั้น (ตารางที่ 6)
AEC Promt 
30
สําหรับปริมาณการบริโภคขาวของประเทศในอาเซียน จากสถิติระหวางป
2548/49 ถึง 2552/53 พบวาประเทศที่มีปริมาณการบริโภคขาวสูงสุด คือ กัมพูชา
รองลงมาเวียดนาม พมา และอินโดนีเซีย และเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบป 2552/53
กับป 2548/49 จะเห็นวาประเทศที่มีปริมาณการบริโภคขาวลดลง มีเพียงประเทศ
เวียดนาม พมา และไทยเทานั้น ซึ่งในป 2552/53 ไทยเปนประเทศที่มีปริมาณการ
บริโภคขาวนอยที่สุด 143 กิโลกรัม/คน/ป ในขณะที่กัมพูชามีปริมาณการบริโภค
ขาวถึง 278.3 กิโลกรัม/คน/ป เวียดนาม 218.8 กิโลกรัม/คน/ป และพมา 162.6
กิโลกรัม/คน/ป (ตารางที่ 7)
ตารางที่ 6 เนื้อที่เพาะปลูกขาว ผลผลิตตอไร และผลผลิตขาวสารของอาเซียน
เนื้อที่เพาะปลูก (ลานไร) ผลผลิตตอไร (กิโลกรัม/ไร) ผลผลิตขาวสาร (ลานตัน)
ประเทศ
2550/51 2551/52 2552/53 2550/51 2551/52 2552/53 2550/51 2551/52 2552/53
อินโดนีเซีย
74.3
-
76.1
(2.3)
74.1
(- 2.6)
771.2
-
780.8
(1.2)
787.2
(0.8)
37.0
-
38.3
(3.5)
37.6
(- 1.8)
เวียดนาม
46.3
-
45.9
(- 0.9)
45.6
(- 0.7)
796.8
-
782.4
(- 1.8)
792.0
(1.2)
24.4
-
23.7
(- 2.6)
23.8
(0.4)
ไทย
66.3
-
66.8
(0.8)
67.0
(0.4)
441.6
-
440.0
(- 0.4)
452.8
(2.9)
19.3
-
19.4
(0.5)
20.0
(3.1)
พมา
44.3
-
41.9
(-5.5)
43.8
(4.5)
417.6
-
417.6
-
422.4
(1.2)
10.7
-
10.2
(- 5.4)
10.7
(5.7)
ฟลิปปนส
27.2
-
28.3
(4.1)
27.8
(- 1.8)
612.8
-
603.2
(- 1.6)
611.2
(1.3)
10.5
-
10.8
(2.6)
10.7
(- 0.4)
กัมพูชา
16.1
-
16.3
(1.6)
16.6
(1.5)
419.2
-
440.0
(5.0)
443.2
(0.7)
4.2
-
4.5
(6.6)
4.6
(2.4)
ลาว
5.1
-
5.3
(3.7)
5.5
(3.5)
561.6
-
564.8
(0.6)
579.2
(2.6)
1.7
-
1.8
(4.1)
1.9
(5.6)
มาเลเซีย
4.1
-
4.1
(1.5)
4.2
(1.5)
558.4
-
571.2
(2.3)
579.2
(1.4)
1.5
-
1.5
(3.4)
1.6
(3.3)
รวม 283.7 284.7 284.4 572.4* 575.0* 583.4* 109.3 110.2 111.0
หมายเหตุ: ตัวเลขในวงเล็บแสดงอัตราการขยายตัว และ * คือ คาเฉลี่ย
ที่มา: USDA, Foreign Agricultural Service, August, 2009
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
31
ตารางที่ 7 ปริมาณการบริโภคขาวของประเทศในอาเซียน หนวย: กิโลกรัม/คน/ป
ประเทศ 2548/49 2549/50 2550/51 2551/52 2552/53
กัมพูชา 258.2 257.4 282.7 275.8 278.3
เวียดนาม 221.0 222.5 227.8 221.8 218.8
พมา 187.8 188.8 177.8 162.4 162.6
อินโดนีเซีย 163.0 161.7 161.6 165.2 163.3
ไทย 146.6 149.8 146.0 155.0 143.2
ฟลิปปนส 125.8 138.0 152.4 151.1 150.2
ที่มา: คํานวณจาก USDA, World Rice Production, Consumption, and Stock, August, 2009
หากพิจารณาจากสต็อกขาวของประเทศในอาเซียน ระหวางป 2550/51 ถึง
2552/53 จะเห็นวาอินโดนีเซียและฟลิปปนส มีจํานวนสต็อกขาวคอนขางสูงเมื่อ
เทียบกับประเทศอื่นๆ ในอาเซียน โดยฟลิปปนสมีสต็อกขาว 3.0-4.5 ลานตัน สวน
อินโดนีเซียมีสต็อกขาวสูงถึง 5.6-6.8 ลานตัน เนื่องมาจากทั้งสองประเทศผลิตขาว
ไมเพียงพอตอการบริโภคของคนในประเทศ จึงทําใหทั้งสองประเทศตองมีสต็อก
ขาวไวในจํานวนมากเพื่อความมั่นคงทางดานอาหารของประเทศ
สวนประเทศผูผลิตและสงออกรายใหญของอาเซียนอยางไทยกับเวียดนาม
ที่สามารถผลิตขาวไดเพียงพอกับความตองการบริโภคภายในประเทศ และยังมี
เหลือในการสงออกเปนจํานวนมาก ในชวง 3 ปที่ผานมาสต็อกขาวของไทยเพิ่มขึ้น
จาก 2.2 ลานตัน ในป 2550/51 เปน 4.2 ลานตัน ในป 2552/53 ในขณะที่
เวียดนามสต็อกขาวของประเทศกลับมีจํานวนลดลงจาก 2.0 ลานตัน เปน 1.8 ลาน
ตัน ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบสัดสวนของสต็อกขาวปลายปกับกับปริมาณการบริโภคขาว
ภายในประเทศแลว จะพบวาไทยและอินโดนีเซียมีปริมาณสต็อกขาวเพิ่มขึ้นตลอด
จากป 2550/51 ถึง 2552/53 แตเวียดนามกับฟลิปปนสกลับมีปริมาณสต็อกที่
ลดลง และเมื่อพิจารณาในปลาสุดจะเห็นไดอยางชัดเจนวาไทยมีสัดสวนสต็อกขาว
AEC Promt 
32
ตอการบริโภคสูงที่สุดถึงรอยละ 40.6 รองลงมาคือฟลิปปนส 22.3 อินโดนีเซีย 18.2
และ เวียดนาม 9.2
3.1.4 การสงออกขาวไทยในตลาดอาเซียน
สําหรับการสงออกของไทยในตลาดอาเซียน ระหวางป 2549-2552 จะเห็น
ไดวามูลคาการสงออกของไทยในป 2549-2551 เพิ่มขึ้นจาก 329.5 ลานเหรียญ
สหรัฐฯ เปน 1,052.5 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นถึง
รอยละ 219.4 แตเมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกขาวไทยระหวางป 2551 กับป
2552 ในชวงเดือน ม.ค.-ก.ค. กลับพบวาไทยสงออกขาวในตลาดอาเซียน
ลดลงรอยละ 72.0 และเมื่อพิจารณาเปนรายประเทศพบวาในป 2552 (ม.ค.-ก.ค.)
มูลคาการสงออกขาวของไทยในอาเซียนมีอัตราการขยายตัวลดลงเกือบทุก
ประเทศ ยกเวนลาวกับอินโดนีเซีย สวนประเทศที่มีอัตราการขยายตัวลดลงมาก
ที่สุด ไดแกฟลิปปนส ขยายตัวลดลงถึงรอยละ 92.7 และมาเลเซียขยายตัวลดลง
รอยละ 83.4 (ตารางที่ 9)
3.1.5 ตําแหนงขาวไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก
(1) ตําแหนงขาวไทยในตลาดอาเซียน
เมื่อพิจารณาสวนแบงตลาดขาวในตลาดอาเซียนในระหวางป 2547-2551
จะเห็นวาประเทศผูสงออกขาวรายใหญมีเพียง 2 ประเทศเทานั้น คือไทยกับ
เวียดนาม ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบอัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของของไทยกับ
เวียดนามแลวจะพบวาป 2547 ไทยยังมีการสงออกขาวเปนอันดับ 1 ในตลาด
อาเซียน แตก็มีอัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดมากกวาเวียดนาม
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
33
เพียงเล็กนอยเทานั้น ในขณะที่ป 2548 เวียดนามมีอัตราการขยายตัวของการ
สงออกเพิ่มขึ้นอยางมากถึงรอยละ 94.2 และมีสวนแบงตลาดถึงรอยละ 67.5 ซึ่งใน
ปเดียวกันนั้นไทยกลับมีอัตราการขยายตัวลดลงรอยละ 13.4 และมีสวนแบงตลาด
เพียงรอยละ 31.1 เทานั้น ถึงแมวาตอมาในป 2549-2551 ไทยจะมีอัตราการ
ขยายตัวในการสงออกเพิ่มขึ้นโดยตลอด แตไทยก็ยังไมสามารถแยงสวนแบงตลาด
ขาวสวนใหญมาจากเวียดนามได ดังนั้นเราคงตองยอมรับวา 5 ปที่ผานมาไทยได
สูญเสียตลาดขาวในอาเซียนใหกับเวียดนามไปแลวอยางสิ้นเชิง
ตารางที่ 8 การผลิต การบริโภค การสงออก และสต็อกขาวของประเทศในอาเซียน หนวย: ลานตันขาวสาร
ประเทศ อินโดนีเซีย ไทย ฟลิปปนส เวียดนาม
2550/51 37.0 19.3 10.5 24.4
2551/52 37.3 19.4 10.6 23.7การผลิต
2552/53 37.6 20.0 10.7 23.8
2550/51 36.4 9.6 13.5 19.4
2551/52 36.9 9.5 13.2 19.2การบริโภค
2552/53 37.4 10.4 13.4 19.2
2550/51 n/a 10.0 n/a 4.6
2551/52 n/a 9.0 n/a 5.2การสงออก
2552/53 n/a 8.5 n/a 5.0
2550/51 5.6 2.2 4.5 2.0
2551/52 6.3 3.1 4.0 1.8
สต็อกปลายป
2552/53 6.8 4.2 3.0 1.8
2550/51 15.4 23.0 33.7 10.4
2551/52 17.1 32.8 30.3 9.2
สต็อกปลายป/การบริโภค
(รอยละ)
2552/53 18.2 40.6 22.3 9.2
หมายเหตุ: Na คือ ไมพบขอมูล
ที่มา: USDA, Grain: World Markets and Trade, September, 2009
AEC Promt 
34
ตารางที่ 9 มูลคาการสงออกขาวไทยในตลาดอาเซียน
มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราขยายตัว (รอยละ)
ประเทศ
2549 2550 2551
2551
(ม.ค.-ก.ค.)
2552
(ม.ค.-ก.ค.)
2550 2551
2552
(ม.ค.-ก.ค.)
สิงคโปร 83.6 108.2 184.5 128.0 85.4 29.5 70.6 - 33.2
มาเลเซีย 136.5 161.5 372.5 328.6 54.4 18.3 130.6 - 83.4
อินโดนีเซีย 48.3 140.3 52.6 26.6 46.4 190.6 - 62.5 74.3
ฟลิปปนส 32.1 125.6 381.5 346.6 25.4 291.1 203.8 - 92.7
บรูไน 19.9 21.8 39.2 22.4 19.0 9.3 79.9 - 15.3
ลาว 2.0 3.2 5.2 1.5 6.9 54.1 66.0 365.7
กัมพูชา 6.0 9.0 7.8 4.4 2.7 50.2 - 13.2 - 39.2
เวียดนาม 0.9 1.4 2.2 1.4 0.5 59.7 56.1 - 62.9
พมา 0.2 0.7 6.9 1.3 0.4 221.5 970.6 - 65.4
รวม 329.5 571.5 1,052.5 860.7 241.2 73.5 84.2 - 72.0
ที่มา: ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย โดยความรวมมือจากกรมศุลกากร 2552
-200.0
-100.0
0.0
100.0
200.0
300.0
400.0
-20.0 -10.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 70.0 80.0
สวนแบงตลาด (รอยละ)
อัตราการขยายตัว(รอยละ)
47
51
48
49
50
51
50
48
4947
50
49
47
บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย
พมา ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม
หมายเหตุ: ตัวเลขในรูปภาพแสดงถึงป พ.ศ.
ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas และ CEIC Database, 2009
ภาพที่ 1 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกขาวในตลาดอาเซียน
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
35
(2) ตําแหนงขาวไทยในตลาดโลก
ถาพิจารณาสวนแบงตลาดขาวของไทยในตลาดโลก จะเห็นวาในระหวางป
2547-2551 ไทยเปนผูสงออกขาวอันดับ 1 ของโลก อินเดียตามมาเปนอันดับ 2
และสหรัฐอเมริกาสงออกเปนอันดับ 3 โดยหากเปรียบเทียบสวนแบงตลาดในชวงป
2547-2551 จะพบวาไทยมีสวนแบงตลาดสูงกวาอินเดียและสหรัฐอเมริกา
คอนขางมาก ซึ่งชวงปดังกลาวไทยมีสวนแบงตลาดอยูระหวางรอยละ 32.8 -41.8
ในขณะที่อินเดียมีสวนแบงตลาดอยูที่รอยละ 17.7-24.9 และสหรัฐอเมริกามีสวน
แบงตลาดอยูเพียงรอยละ 13.8-17.5 เทานั้น ถึงแมวาถาดูจากอัตราการขยายตัว
ของการสงออก ในป 2548 และ 2550 อัตราการขยายตัวของไทยจะนอยกวา
อินเดียก็ตาม แตโดยภาพรวมแลวไทยยังคงเปนผูสงออกขาวรายใหญที่สุดของโลก
-200.0
-100.0
0.0
100.0
200.0
300.0
400.0
-10.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0
อัตราการขยายตัว(รอยละ)
สวนแบงตลาด (รอยละ)
ไทย อินเดีย สหรัฐอเมริกา อิตาลี จีน
อุรุกวัย บราซิล เบลเยี่ยม อาเจนตินา เนเธอรแลนด
51
50
49
48
47
51
50 49
48
50
48
51
49
47
หมายเหตุ: ตัวเลขในรูปภาพแสดงถึงป พ.ศ.
ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas, 2009
ภาพที่ 2 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกขาวในตลาดโลก
AEC Promt 
36
มันสําปะหลัง
3.2 การผลิตมันสําปะหลังของไทยกับประเทศในอาเซียน
มันสําปะหลังเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของไทย โดยมีพื้นที่เพาะปลูกทั้ง
ประเทศกวา 8.2 ลานไร ครอบคลุม 45 จังหวัด มีเกษตรกรผูปลูกถึง 0.48 ลาน
ครัวเรือน หรือคิดเปนรอยละ 8 ของจํานวนเกษตรกรทั้งประเทศ 5.6 ลานครัวเรือน
ซึ่งสามารถผลิตหัวมันสดไดประมาณปละ 26-27 ลานตัน แตมีความตองการใชมัน
สําปะหลัง (หัวมันสด) ในประเทศเพียงปละไมเกิน 10 ลานตันเทานั้น ทําใหมีมัน
สําปะหลังสวนเกินอีกประมาณ 16-17 ลานตันตอป ที่สามารถสงออกและนํา
รายไดเขาประเทศเปนจํานวนมาก โดยไทยสามารถสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลัง
ไดหลายรูปแบบ เชน มันเสน มันอัดเม็ด แปงมันสําปะหลังทั้งในรูปของแปงดิบและ
แปงแปรรูป เปนตน ในปจจุบันไทยเปนผูสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังรายใหญ
ที่สุดของโลก โดยมีสวนแบงตลาดสูงถึงรอยละ 70 สวนในตลาดอาเซียนนั้นไทยก็
สามารถครองอันดับ 1 ในการสงออกมาเปนเวลานานกวา 10 ป เชนกัน
ถึงแมวาในปจจุบันไทยจะเปนผูนําในการสงออกและมีสวนแบงตลาดมาก
ที่สุด ทั้งในตลาดอาเซียนและตลาดโลกก็ตาม แตมันสําปะหลังเปนพืชเศรษฐกิจที่
มีอนาคต เพราะนอกจากสามารถนําไปผลิตเปนอาหาร และใชในอุตสาหกรรม
ตางๆ มากมายแลว ยังสามารถนําไปผลิตพลังงานทดแทนไดดวย ดังนั้นจึงทําให
หลายประเทศในอาเซียนเริ่มหันมาใหความสําคัญและสงเสริมใหมีการปลูกมัน
สําปะหลังมากขึ้น จากขอมูลการผลิตมันสําปะหลังขององคการอาหารและเกษตร
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
37
แหงสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations :
FAO) สามารถพิจารณาไดดังนี้
3.2.1 การผลิตมันสําปะหลังของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน
เนื้อที่เก็บเกี่ยวมันสําปะหลังของประเทศในอาเซียนในระหวางป 2548-2550
จะเห็นวาพื้นที่เก็บเกี่ยวรวมทั้งอาเซียนเพิ่มขึ้นจาก 18.3 ลานไร ในป 2548 เปน
20.4 ลานไรในป 2550 โดยประเทศที่มีพื้นที่ในการเก็บเกี่ยวมากที่สุดไดแก
อินโดนีเซียที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยวมากถึง 7.5-7.7 ลานไร รองลงมาคือไทย 6.2-7.3 ลาน
ไร และขยายเปน 7.4 ลานไรในป 2551 เวียดนาม 2.7-3.1 ลานไร ซึ่งจากสถิติจะ
พบวาอินโดนีเซียมีอัตราการขยายตัวลดลงรอยละ 2.1 ในป 2550 ในขณะที่ไทย
และเวียดนามมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง (ตารางที่ 10)
เมื่อพิจารณาจากผลผลิตตอไรในป 2550 จะพบวาโดยภาพรวมทุกประเทศมี
อัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ยกเวนกัมพูชาและเวียดนาม ที่มีอัตราการ
ขยายตัวลดลงรอยละ 9.5 และ 1.9 ตามลําดับ โดยประเทศที่มีผลผลิตตอไร
ขยายตัวเพิ่มขึ้นมากที่สุด คือ ลาว มีผลผลิตตอไรเพิ่มขึ้นจาก 1.7 ตันตอไร ในป
2549 เปน 3.4 ตันตอไรในป 2550 คิดเปนอัตราการขยายตัวสูงถึงรอยละ 105.0
ในขณะที่ไทยมีผลผลิตตอไรเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจากป 2548-2550 แตในป 2551
กลับมีผลผลิตตอไรลดลงเหลือเพียง 3.4 ตันตอไร และเมื่อเทียบกับป 2550 พบวา
ขยายตัวลดลงรอยละ 7.3 (ตารางที่ 10)
นอกจากนี้หากพิจารณาจากผลผลิตจะเห็นวาทั้งผลผลิตรวมของอาเซียน
และผลผลิตของแตละประเทศจะพบวามีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยาง
ตอเนื่อง โดยประเทศผูผลิตรายใหญของอาเซียนจะประกอบไปดวย 3 ประเทศ
AEC Promt 
38
คือ อินโดนีเซีย ไทย เวียดนาม และเมื่อเปรียบเทียบจํานวนผลผลิตทั้งสามประเทศ
ในชวงป 2548-2550 จะเห็นวาในป 2548 อินโดนีเซียมีผลผลิตมากที่สุด คือ 19.3
ลานตัน ในขณะที่ไทยและเวียดนามผลิตได 16.9 และ 6.7 ลานตัน ตามลําดับ
สวนในป 2550 จะพบวาอินโดนีเซียผลิตได 20 ลานตัน เวียดนามผลิตได 8 ลาน
ตัน ในขณะที่ไทยผลิตไดมากถึง 26.9 ลานตัน ถึงแมวาในป 2551 ผลผลิตของไทย
จะลดลงเหลือ 25.2 ลานตัน แตเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ แลวไทยก็ยังเปน
ประเทศที่ผลิตมันสําปะหลังไดมากที่สุดของอาเซียน
ตารางที่ 10 เนื้อที่เพาะปลูกมันสําปะหลัง ผลผลิตตอไร
เนื้อที่เก็บเกี่ยว (ลานไร) ผลผลิตตอไร (ตัน/ไร) ผลผลิต (ลานตัน)
ประเทศ
2548 2549 2550 2551 2548 2549 2550 2551 2548 2549 2550 2551
บรูไน
0.0
-
0.0
-
0.0
-
n/a
1.9
-
1.9
-
1.9
-
n/a
0.0
-
0.0
-
0.0
-
n/a
กัมพูชา
0.2
-
0.6
(221.3)
0.7
(12.1)
n/a
2.9
-
3.6
(26.8)
3.3
(- 9.5)
n/a
0.5
-
2.2
(307.4)
2.2
(1.5)
n/a
อินโดนีเซีย
7.6
-
7.7
(1.2)
7.5
(-2.1)
n/a
2.5
-
2.6
(2.3)
2.7
(2.2)
n/a
19.3
-
20.0
(3.4)
20.0
(0.0)
n/a
ลาว
0.0
-
0.1
(149.5)
0.1
(- 34.7)
n/a
1.2
-
1.7
(36.3)
3.4
(105.0)
n/a
0.1
-
0.2
(240.1)
0.2
(33.8)
n/a
มาเลเซีย
0.3
-
0.3
(2.5)
0.3
-
n/a
1.6
-
1.7
(4.9)
1.7
-
n/a
0.4
-
0.4
(7.5)
0.4
-
n/a
พมา
0.1
-
0.1
(4.2)
0.1
-
n/a
2.0
-
2.0
(-1.5)
2.0
(1.9)
n/a
0.2
-
0.2
(2.7)
0.2
(1.9)
n/a
ฟลิปปนส
1.3
-
1.3
(- 0.1)
1.3
(2.5)
n/a
1.3
-
1.4
(4.8)
1.4
(3.9)
n/a
1.7
-
1.8
(4.7)
1.9
(6.5)
n/a
ไทย
6.2
-
6.7
(8.6)
7.3
(9.7)
7.4
(0.8)
2.7
-
3.4
(22.8)
3.7
(8.6)
3.4
(-7.3)
16.9
-
22.6
(33.3)
26.9
(19.2)
25.2
(-6.5)
เวียดนาม
2.7
-
3.0
(11.7)
3.1
(4.6)
n/a
2.5
-
2.6
(3.8)
2.6
(- 1.9)
n/a
6.7
-
7.8
(15.9)
8.0
(2.6)
n/a
รวม 18.3 19.7 20.4 n/a 1.9* 2.1* 2.3* n/a 45.8 55.1 59.9 n/a
หมายเหตุ: ตัวเลขในวงเล็บแสดงอัตราการขยายตัว และ * คือ คาเฉลี่ย
ที่มา:Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO), 2009
สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2552
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
39
3.2.2 การสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังของไทยในตลาดอาเซียนและ
ตลาดโลก
การสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลัง10
ของไทยในตลาดอาเซียนในชวง 5 ปที่
ผานมาระหวางป 2547-2551 มีมูลคาการสงออกไมสูงมาก เมื่อเทียบกับการ
สงออกไปยังตลาดโลก โดยประเทศในอาเซียนที่นําเขาจากไทยมากที่สุด คือ
มาเลเซีย ซึ่งมีมูลคาการนําเขาเพิ่มขึ้นจาก 51.8 ลานบาทในป 2547 เปน 226.9
ลานบาทในป 2551 สวนประเทศอื่นๆ ก็นําเขาจากไทยบางแตมีมูลคาคอนขาง
นอย และเมื่อพิจารณาจากอัตราการขยายตัวของการสงออก จะพบวาการสงออก
ผลิตภัณฑมันสําปะหลังของไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลกเปนไปในทิศทาง
เดียวกัน คือมีการหดตัวของการสงออกในป 2548 โดยตลาดอาเซียนขยายตัว
ลดลงรอยละ 50.4 ในขณะที่ตลาดโลกขยายตัวลดลงรอยละ 15.0 และตอมาในป
2549-2551 การสงออกของไทยไปยังตลาดอาเซียนเริ่มมีอัตราการขยายตัวในการ
สงออกเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง แตในตลาดโลกป 2551 มีอัตราการขยายตัวลดลงถึง
รอยละ 17.7 (ตารางที่ 11)
ตารางที่ 11 มูลคาการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังของไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก
มูลคา (ลานบาท) อัตราขยายตัว (%)
ประเทศ
2547 2548 2549 2550 2551 2548 2549 2550 2551
อินโดนีเซีย 1.0 - - - - - 100.0 - - -
ฟลิปปนส 18.4 - 0.3 - - - - - 100.0 -
สิงคโปร 18.3 44.3 13.9 - 0.3 142.1 - 68.6 - 100.0 100.0
พมา 0.4 - 0.1 1.1 1.3 - - 1,000.0 18.2
ลาว - 0.1 - 0.3 7.5 - - 100.0 - 2,400.0
มาเลเซีย 51.8 0.1 131.4 211.7 226.9 - 99.8 131,300.0 61.1 7.2
อาเซียน 89.9 44.6 145.7 213.1 236.0 - 50.4 226.7 46.3 10.7
โลก 15,034.1 12,778.0 17,213.8 19,313.7 15,889.5 - 15.0 34.7 12.2 - 17.7
ที่มา: ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย โดยความรวมมือจากกรมศุลกากร 2552
10
ผลิตภัณฑมันสําปะหลัง ประกอบดวย หัวมันสําปะหลัง มันสําปะหลังเสน มันสําปะหลังอัดเม็ด
AEC Promt 
40
3.2.3 การสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูปของไทยในตลาด
อาเซียนและตลาดโลก
สําหรับการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูป11
ของไทยในตลาด
อาเซียน ในชวงป 2547 - 2551 จะเห็นไดวาป 2547 ไทยมีมูลคาการสงออกเพียง
3,092.1 ลานบาท แตในป 2551 มูลคาการสงออกเพิ่มขึ้นเปน 6,451.4 ลานบาท
โดยประเทศที่นําเขาจากไทยมากที่สุด คือ อินโดนีเซีย รองลงมาไดแก มาเลเซีย
สิงคโปร ฟลิปปนส เวียดนาม และลาว ตามลําดับ สวนพมา กัมพูชาและบรูไน มี
มูลคาการนําเขาจากไทยคอนขางนอย และเมื่อพิจารณาจากภาพรวมอัตราการ
ขยายตัวของการสงออก ในป 2550 ของตลาดอาเซียนพบวามีอัตราการขยายตัว
ลดลงรอยละ 12.0 ในขณะที่ตลาดโลกมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง
(ตารางที่ 12)
ตารางที่ 12 มูลคาการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูปของไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก
มูลคา (ลานบาท) อัตราขยายตัว (รอยละ)
ประเทศ
2547 2548 2549 2550 2551 2548 2549 2550 2551
บรูไน 0.7 0.9 1.2 1.0 2.1 28.6 33.3 - 16.7 110.0
กัมพูชา 0.7 0.1 0.1 6.7 5.1 - 85.7 - 6,600.0 - 23.9
พมา 5.7 6.1 11.8 10.6 7.7 7.0 93.4 - 10.2 - 27.4
ลาว 32.0 42.7 32.8 42.6 44.0 33.4 - 23.2 29.9 3.3
เวียดนาม 122.4 68.1 95.2 79.1 95.4 - 44.4 39.8 - 16.9 20.6
ฟลิปปนส 409.5 442.0 433.2 489.0 581.8 7.9 - 2.0 12.9 19.0
สิงคโปร 550.6 732.5 899.0 983.3 962.2 33.0 22.7 9.4 - 2.1
มาเลเซีย 841.0 1,222.9 1,450.7 1,412.4 1,868.2 45.4 18.6 - 2.6 32.3
อินโดนีเซีย 1,129.4 1,880.7 4,215.3 3,256.1 2,884.9 66.5 124.1 - 22.8 - 11.4
อาเซียน 3,092.1 4,395.9 7,139.3 6,280.8 6,451.4 42.2 62.4 - 12.0 2.7
โลก 19,053.2 20,509.7 25,221.5 27,915.7 30,340.6 7.6 23.0 10.7 8.7
ที่มา: ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย โดยความรวมมือจากกรมศุลกากร 2552
11
ผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูป ประกอบดวย แปงมันสําปะหลัง แปงหยาบทําจากมันสําปะหลัง สตารชจากมันสําปะหลัง เด็กตริน
และโมดิไฟดสตารชอื่นๆ สาคูทําจากมันสําปะหลัง
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
41
3.2.4 ตําแหนงมันสําปะหลังของไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก
(1) ตําแหนงผลิตภัณฑมันสําปะหลังของไทยในตลาดอาเซียน
ในป 2547-2551 ไทยเปนประเทศผูสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังไปยัง
ตลาดอาเซียนมากที่สุด โดยมีสวนแบงตลาดอยูระหวางรอยละ 68.6-95.7
รองลงมาคือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และเวียดนาม ตามลําดับ ถึงแมวาในป 2548
ไทยจะมีอัตราการขยายตัวในการสงออกลดลงมากถึงรอยละ 51.9 แตในปเดียวกัน
นั้นประเทศอื่นๆ ในอาเซียนก็มีอัตราการขยายตัวลดลงเชนกัน ทําใหไมมีผลกระทบ
ตอสวนแบงตลาดของไทยในอาเซียน
-200.0
-100.0
0.0
100.0
200.0
300.0
400.0
-20.0 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 120.0
อัตราการขยายตัว(รอยละ)
สวนแบงตลาด (รอยละ)
บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย
พมา ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม
48
50
47
51
49
48
47
51
หมายเหตุ: ตัวเลขในรูปภาพแสดงถึงป พ.ศ.
ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas, 2009
ภาพที่ 3 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลัง
ของไทยในตลาดอาเซียน
AEC Promt 
42
(2) ตําแหนงผลิตภัณฑมันสําปะหลังของไทยในในตลาดโลก
สวนแบงตลาดของผลิตภัณฑมันสําปะหลังไทยในตลาดโลก ไทยสามารถ
ครองสวนแบงตลาดไวไดมากถึงรอยละ 72.0-87.6 ทิ้งหางคูแขงอยางคอสตาริกา
เนเธอรแลนดและอินโดนีเซีย คอนขางมาก ถึงแมวาในป 2551 อัตราการขยายตัว
ของไทยจะลดลงถึงรอยละ 17.3 ในขณะที่เนเธอรแลนด มีอัตราการขยายตัวในการ
สงออกเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 65.8 และมีสวนแบงตลาดเพิ่มขึ้นจากรอยละ 6.6 ในป
2550 เปนรอยละ 11.9 ในป 2551 แตเมื่อเทียบกับไทยที่มีสวนแบงตลาดอยูที่
72.0 แลวถือวายังอยูในระดับที่นอยกวามาก
-200.0
-100.0
0.0
100.0
200.0
300.0
400.0
-20.0 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 120.0
อัตราการขยายตัว(รอยละ)
สวนแบงตลาด (รอยละ)
ไทย คอสตาริกา เนเธอรแลนด อินโดนีเซีย เอกวาดอร
เบลเยี่ยม ไนจีเรีย บราซิล ศรีลังกา ฟลิปปนส
51
50
48
49
47
หมายเหตุ: ตัวเลขในรูปภาพแสดงถึงป พ.ศ.
ขอมูลนี้ไมรวมประเทศเวียดนาม12
ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas, 2009
ภาพที่ 4 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลัง
ของไทยในตลาดโลก
12
เนื่องจากไมพบขอมูลการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังของประเทศเวียดนาม แตเมื่อพิจารณาจากการนําเขาผลิตภัณฑมันสําปะหลังของจีนซึ่งเปน
ตลาดสงออกหลักของเวียดนาม พบวา ป 2550 จีนนําเขาผลิตภัณฑมันสําปะหลังจากเวียดนาม 1.2 ลานตัน และในป 2551 นําเขากวา 6 แสนตัน เมื่อ
นํามาเปรียบเทียบกับการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังจากทั่วโลกแลว ในป 2550-2551 เวียดนามมีปริมาณการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังเปน
อันดับ 2 รองจากไทย
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
43
(3) ตําแหนงผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูปของไทยในตลาดอาเซียน
การสงออกมันสําปะหลังแปรรูปของไทยในตลาดอาเซียน โดยเฉลี่ยสวนแบง
ตลาดของในชวงป 2547-2551 จะอยูที่รอยละ 79.0 ในขณะที่ประเทศที่สงออก
เปนอันดับ 2 คือสิงคโปร โดยเฉลี่ยแลวมีสวนแบงตลาดอยูที่รอยละ 9.7 สวน
อินโดนีเซียมีการขยายตัวของสวนแบงตลาดลดลงอยางตอเนื่อง ผิดกับเวียดนามที่
มีแนวโนมของอัตราการขยายตัวของตลาดเพิ่มขึ้นจากป 2547 ที่มีสวนแบงตลาด
เพียงรอยละ 3.3 เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 8.1 ในป 2551 ซึ่งแมวามูลคาการสงออกของ
เวียดนามจะนอยกวาไทยมาก แตก็นับวาเปนคูแขงที่นาจับตามองในอนาคต
-200.0
-100.0
0.0
100.0
200.0
300.0
400.0
-20.0 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 120.0
อัตราการขยายตัว(รอยละ)
สวนแบงตลาด (รอยละ)
บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย
พมา ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม
51
49
48
50
47
51
49
48
47
หมายเหตุ: ตัวเลขในรูปภาพแสดงถึงป พ.ศ.
ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas, 2009
ภาพที่ 5 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูป
ของไทยในตลาดอาเซียน
AEC Promt 
44
(4) ตําแหนงผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูปของไทยในตลาดโลก
เมื่อพิจารณาจากภาพรวมในป 2547-2551 จะเห็นวาไทยเปนผูสงออก
ผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูปอันดับ 1 ของโลก รองลงมาเปนเนเธอรแลนด
ฝรั่งเศส เยอรมัน และสหรัฐอเมริกา โดยไทยมีอัตราการขยายตัวของการสงออก
อยางตอเนื่อง สงผลใหสวนแบงตลาดของไทยมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นตอเนื่องเชนกัน
ซึ่งเห็นไดจากป 2547 ไทยมีสวนแบงตลาดรอยละ 22.3 แตในป 2551เพิ่มขึ้นเปน
รอยละ 29.5 และเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบสวนแบงตลาดของไทยกับประเทศ
คูแขง ในชวง 5 ปที่ผานมา พบวาโดยเฉลี่ยไทยมีสวนแบงตลาดรอยละ 23.7
เนเธอรแลนดรอยละ 14.5 ฝรั่งเศสรอยละ 12.0 เยอรมันรอยละ 11.0 และ
สหรัฐอเมริการอยละ 11.4
-100.0
0.0
100.0
200.0
300.0
400.0
-5.0 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0
อัตราการขยายตัว(รอยละ)
สวนแบงตลาด (รอยละ)
สหรัฐอเมริกา ไทย เนเธอรแลนด ฝรั่งเศส เยอรมัน
จีน อิตาลี อังกฤษ บราซิล สิงคโปร
51
50
4950
51
49
51
51
หมายเหตุ: ตัวเลขในรูปภาพแสดงถึงป พ.ศ.
ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas, 2009
ภาพที่ 6 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูป
ของไทยในตลาดโลก
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
45
ขาวโพดเลี้ยงสัตว
3.3 การผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยกับประเทศในอาเซียน
ขาวโพดเลี้ยงสัตว ถือเปนพืชอาหารสัตวที่นับวามีความสําคัญที่สุดในบรรดา
พืชอาหารสัตวทั้งหมด คิดเปนสัดสวน 39.7 ของปริมาณการใชวัตถุดิบทั้งหมดใน
การผลิตอาหารสัตวป 2552 (ตารางที่ 13) ขาวโพดเลี้ยงสัตวสวนใหญจะเปนการ
ใชในประเทศมากกวาสงออกไปตางประเทศ โดยใชเปนวัตถุดิบปอนเขาสู
โรงงานผลิตอาหารสัตวในประเทศ ซึ่งแนวโนมของความตองการใชขาวโพดเลี้ยง
สัตวในประเทศไทยมีทิศทางเพิ่มขึ้น เนื่องจากจํานวนประชากรสัตว เชน ไกเนื้อ ไก
ไข โคนม เปนตน มีจํานวนเพิ่มมากขึ้นในทุกๆ ป ซึ่งการเพิ่มขึ้นของปริมาณ
ประชากรสัตวมีอัตราการขยายตัวมากกวาอัตราการขยายตัวของปริมาณการผลิต
ขาวโพดเลี้ยงสัตว จึงสงผลใหในปจจุบันปริมาณการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวไม
เพียงพอตอความตองการใชภายในประเทศ ถึงแมวาเนื้อที่การเพาะปลูกขาวโพด
เลี้ยงสัตวและปริมาณผลผลิตจะเพิ่มขึ้นก็ตาม
นอกจากนี้ในปจจุบันยังพบวาจํานวนครัวเรือนปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวมี
แนวโนมลดลง จากเดิมในป 2549 มีจํานวน 320,615.0 ครัวเรือน ลดลงมาเปน
314,287 และ 308,671 ครัวเรือนในป 2551 และ 2552 ตามลําดับ เหตุที่เปนเชนนี้
สวนหนึ่งมาจากเกษตรกรเกรงจะประสบปญหาภัยแลง รวมทั้งตนทุนในการผลิต
ขาวโพดเลี้ยงสัตวมีทิศทางเพิ่มขึ้น จาก 4.3 บาทตอกิโลกรัมในป 2549 เพิ่มขึ้น
เปน 4.5 และ 6.0 บาทตอกิโลกรัมในป 2550 และ 2551 ทําใหเกษตรกร
บางสวนเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ทนแลงไดมากกวาและใหผลตอบแทนที่ดีกวา
AEC Promt 
46
เชน มันสําปะหลัง เปนตน สําหรับสถานการณดานการผลิต การบริโภค รวมถึงการ
สงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยและประเทศในอาเซียน แสดงไดดังนี้
ตารางที่ 13 ปริมาณอาหารสัตวและปริมาณการใชวัตถุดิบจําแนกตามประเภทของไทย ป 2552 หนวย: ตัน
ประเภท อาหารสัตว ขาวโพด ปลาปน กากถั่วเหลือง ปลายขาว วัตถุดิบอื่นๆ
ไกเนื้อ 3,558,298.0 2,206,144.5 106,748.9 1,067,489.3 - 177,915.3
ไกพอแมพันธุ 559,944.0 335,966.4 16,798.3 139,986.0 - 67,193.3
ไกไขเล็กรุน 663,650.0 398,190.0 19,909.5 165,912.5 - 79,638.0
ไกไขใหไข 1,482,000.0 815,100.0 74,100.0 370,500.0 - 222,300.0
ไกไขพอแมพันธุ 20,000.0 12,000.0 600.0 5,000.0 - 2,400.0
หมูขุน 3,009,000.0 752,250.0 90,270.0 601,800.0 601,800.0 962,880.0
หมูพันธุ 744,000.0 - 37,200.0 148,800.0 334,800.0 223,200.0
เปดเนื้อ 252,000.0 37,800.0 15,120.0 50,400.0 88,200.0 60,480.0
เปดพันธุ 21,900.0 2,190.0 1,314.0 6,570.0 9,855.0 1,971.0
เปดไข 130,000.0 - 10,400.0 19,500.0 52,000.0 48,100.0
โคนม 355,875.0 53,381.3 - 17,793.8 - 284,699.9
กุง 672,000.0 - 67,200.0 134,400.0 - 470,400.0
ปลา 581,800.0 174,540.0 116,360.0 174,540.0 - 116,360.0
รวม 12,050,467.0 4,787,562.2 556,020.7 2,902,691.6 1,086,655.0 2,717,537.5
สัดสวน (รอยละ) 100.0 39.7 4.6 24.1 9.0 22.6
ที่มา: สมาคมผูผลิตอาหารสัตวไทย 2552
3.3.1 การผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของประเทศไทยและประเทศใน
อาเซียน
การผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวในประเทศไทย แบงเปน 2 รุน คือ รุน 1 เกษตรกร
เพาะปลูกตั้งแต 1 พฤษภาคม-31 ตุลาคม และรุน 2 ปลูกตั้งแต 1 พฤศจิกายน-30
เมษายนของปถัดไป ซึ่งการปลูกในรุน 1 นั้นมีพื้นที่ปลูกประมาณรอยละ 98.0 ของ
พื้นที่ปลูกทั้งหมด และหากพิจารณาสถานการณการผลิตระหวางป 2543-2551
แลว พบวาเนื้อที่การเพาะปลูกมีทิศทางลดลงนับตั้งแตป 2543 จนกระทั่งในป
2551 เนื้อที่การเพาะปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวมีจํานวนเพิ่มขึ้นประมาณ 7 แสนไร
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
47
(ตารางที่ 14) ซึ่งเปนผลมาจากราคาขาวโพดเลี้ยงสัตวที่เกษตรกรขายไดในป 2551
เพิ่มขึ้นเปน 7.1 บาทตอกิโลกรัม เนื่องจากการดําเนินนโยบายแทรกแซงจาก
รัฐบาลโดยโครงการรับจํานําขาวโพดเลี้ยงสัตว (ตารางที่ 15) และจากผลของการ
ลดพื้นที่ปลูกขางตนทําใหปริมาณผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวมีปริมาณลดลงดวย
เชนกัน จากที่เคยผลิตได 4,462 พันตันในป 2543 ลดลงเหลือ 4,249.4 พันตันในป
2551 คิดเปนปริมาณลดลงเทากับ 367.6 พันตัน สําหรับปริมาณผลผลิตขาวโพด
เลี้ยงสัตวตอไรนั้น พบวามีแนวโนมเพิ่มขึ้นทุกๆ ป เนื่องจากสภาพอากาศที่
เอื้ออํานวยตอการผลิต และขาวโพดไดรับน้ําฝนในปริมาณที่เพียงพอตอการ
เจริญเติบโต
ตารางที่ 14 เนื้อที่ใหผลผลิต เนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิตตอไร และปริมาณผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทย ป 2543-2551
ป เนื้อที่เพาะปลูก (พันไร) เนื้อที่เก็บเกี่ยว (พันไร) ผลผลิตตอไร (กิโลกรัม) ผลผลิต (พันตัน)
2543 7,802.0 7,594.0 588.0 4,462.0
2544 7,685.0 7,474.0 598.0 4,466.0
2545 7,317.0 7,167.0 590.0 4,230.0
2546 6,943.0 6,774.0 617.0 4,178.0
2547 7,040.0 6,810.0 619.0 4,216.0
2548 6,626.0 6,436.0 613.0 3,943.0
2549 6,040.0 5,871.0 633.0 3,716.0
2550 5,961.0 5,797.0 632.0 3,661.0
2551 6,691.8 6,517.7 652.0 4,249.4
ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2552
ตารางที่ 15 ราคาขาวโพดเลี้ยงสัตวความชื้นนอยกวา14% ที่เกษตรกรขายได ป 2547-2552 (ม.ค.-ส.ค.) หนวย: บาท/กิโลกรัม
ป 2547 2548 2549 2550 2551
2552
(ม.ค.-ส.ค.)
ราคาขาวโพดเลี้ยงสัตวความชื้นนอยกวา 14%
ที่เกษตรกรขายได*
4.5 4.8 5.4 6.8 7.1 5.5
ราคาที่โรงงานอาหารสัตวรับซื้อ 5.3 5.7 7.0 8.4 8.1 6.1
ราคาซื้อขายลวงหนาตลาดชิคาโก 3.3 3.5 4.8 6.1 6.0 4.3
ที่มา: * สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2552
AEC Promt 
48
เมื่อพิจารณาดานการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของประเทศอาเซียนแลว พบวา
อินโดนีเซียเปนผูผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวมากเปนอันดับ 1 ของอาเซียน รองลงมาคือ
ฟลิปปนส เวียดนาม และไทยเปนอันดับที่ 4 แตหากเปรียบเทียบปริมาณผลผลิต
ตอไรของทั้ง 4 ประเทศแลว ไทยมาเปนอันดับ 1 ซึ่งสามารถปลูกไดถึง 652.0
กิโลกรัมตอไรในป 2551 ในขณะที่อินโดนีเซียมีผลผลิตตอไรประมาณ 500.0
กิโลกรัมตอไร และฟลิปปนสประมาณ 400.0 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 16)
ตารางที่ 16 เนื้อที่ใหผลผลิต ผลผลิตตอไร และปริมาณผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยและประเทศในอาเซียน ป 2549-2551
เนื้อที่ใหผลผลิต (พันไร) ผลผลิตตอไร (กิโลกรัม) ผลผลิต (พันตัน)
ประเทศ 2549 2550 2551 2549 2550 2551 2549 2550 2551
รวมทั้งโลก 925,434.4 987,712.7 n/a 763.1 801.6 n/a 706,193.9 791,794.6 n/a
กัมพูชา 658.1 887.5 n/a 572.8 589.3 n/a 376.9 523.0 n/a
อินโดนีเซีย 20,911.3 22,689.5 n/a 555.2 585.6 n/a 11,609.5 13,287.5 n/a
ลาว 711.3 964.1 n/a 632.5 716.5 n/a 449.9 690.8 n/a
มาเลเซีย 156.3 162.5 n/a 512.0 510.8 n/a 80.0 83.0 n/a
พมา 1,718.8 1,706.3 n/a 552.7 462.4 n/a 950.0 789.0 n/a
ฟลิปปนส 16,066.7 16,552.0 n/a 378.6 407.0 n/a 6,082.1 6,736.9 n/a
ไทย 5,871.3 5,796.9 6,517.7 632.9 631.6 652.0 3,716.2 3,661.3 4,249.4
เวียดนาม 6,456.9 6,674.4 n/a 597.0 615.4 n/a 3,854.5 4,107.5 n/a
อาเซียน 52,550.7 55,433.1 n/a 516.1 539.0 n/a 27,119.2 29,879.1 n/a
ประเทศอื่นๆ 872,883.7 932,279.5 n/a 778.0 817.3 n/a 679,074.7 761,915.5 n/a
ที่มา:Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO), 2009
สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2552
3.3.2 การใชขาวโพดเลี้ยงสัตวในประเทศของไทยและประเทศ
ในอาเซียน
จากการที่ขาวโพดเลี้ยงสัตวถือวาเปนวัตถุดิบสําคัญชนิดหนึ่งในการผลิต
อาหารสัตวนั้น จึงทําใหสวนใหญแลวปริมาณความตองการใชขาวโพดเลี้ยงสัตวจะ
เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกันกับปริมาณความตองการเนื้อสัตว นั่นคือ
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
49
หากปริมาณความตองการเนื้อไกเพิ่มขึ้น สงออกไดมากขึ้น ก็ยอมทําใหปริมาณ
ความตองการขาวโพดเพิ่มขึ้นตามไปดวยนั่นเอง ดังจะเห็นไดจากตารางที่ 17 ที่
แสดงจํานวนประชากรสัตวและปริมาณการใชขาวโพดเพื่อผลิตเปนอาหารสัตว
ระหวาง ป 2549-2552 สวนใหญมีทิศทางเดียวกัน โดยสัตวที่มีจํานวนประชากร
มากที่สุดคือไกเนื้อ จะเห็นวาในป 2549 ไกเนื้อมีจํานวน 858.0 ลานตัว ลดลงเปน
812.0 ลานตัวในป 2550 จึงทําใหปริมาณการใชขาวโพดเลี้ยงสัตวเพื่อผลิตอาหาร
ไกลดลงตามไปดวย
สําหรับปริมาณการใชขาวโพดเลี้ยงสัตวของประเทศอาเซียนจากขอมูลของ
กระทรวงการตางประเทศของสหรัฐอเมริกา หรือ (United States Department of
Agriculture : USDA) และขอมูลของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรดังแสดงไวใน
ตารางที่ 18 พบวาประเทศอินโดนีเซียที่เปนประเทศผูผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวอันดับ
1 ของอาเซียน สวนใหญผลผลิตที่ไดถูกใชภายในประเทศเปนหลักและมีปริมาณ
เพิ่มขึ้นทุกป โดยในป 2551 มีปริมาณการใชในประเทศมากถึง 8,800 พันตัน และ
เพิ่มขึ้นเปน 9,100 พันตัน ในป 2552 (ม.ค.-ส.ค.) ประเทศที่มีการบริโภคใน
ประเทศมากเปนอันดับ 2 และ 3 คือ ฟลิปปนสและเวียดนาม ซึ่งทั้ง 2 ประเทศก็
เปนเชนเดียวกับอินโดนีเซียที่ผลผลิตถูกใชไปในประเทศเปนหลัก
AEC Promt 
50
ตารางที่ 17 ประชากรสัตวและปริมาณการใชขาวโพดเลี้ยงสัตวเพื่อเปนวัตถุดิบผลิตอาหารสัตวของไทย ป 2549-2552
ประเภท 2549 2550 2551 2552
ไกเนื้อ (ลานตัว) 858.0 812.0 924.0 899.0
ขาวโพดเลี้ยงสัตว(ตัน) 2,223,592.8 1,793,641.4 1,930,376.4 2,206,144.5
ไกพอแมพันธุ (ลานตัว) 10.6 10.0 11.4 11.1
ขาวโพดเลี้ยงสัตว(ตัน) 334,454.4 273,248.6 293,932.8 335,966.4
ไกไขเล็กรุน (ลานตัว) 30.6 30.6 30.6 30.6
ขาวโพดเลี้ยงสัตว(ตัน) 416,000.0 358,371.0 358,371.0 398,190.0
ไกไขใหไข (ลานตัว) 37.1 37.1 40.1 37.1
ขาวโพดเลี้ยงสัตว(ตัน) 792,000.0 733,590.0 733,590.0 815,100.0
สุกรขุน (ลานตัว) 12.1 13.2 11.1 10.2
ขาวโพดเลี้ยงสัตว(ตัน) 767,000.0 878,141.3 833,670.0 752,250.0
เปดเนื้อ (ลานตัว) 23.9 25.1 30.0 30.0
ขาวโพดเลี้ยงสัตว(ตัน) 23,940.0 28,486.1 28,486.1 37,800.0
โคนม (ตัว) 350,000.0 315,000.0 325,000.0 325,000.0
ขาวโพดเลี้ยงสัตว(ตัน) 65,700.0 46,564.9 48,043.1 53,381.3
ที่มา: ฝายวิชาการ ฝายการตลาด สมาคมผูผลิตอาหารสัตวไทย 2552
ตารางที่ 18 ปริมาณการใชขาวโพดเลี้ยงสัตวของประเทศในอาเซียน ป 2548-2552
ปริมาณการใชในประเทศ (พันตัน)
ประเทศ
2548 2549 2550 2551 2552 (มค.-สค.)
อินโดนีเซีย* 8,300.0 8,100.0 8,500.0 8,800.0 9,100.0
ฟลิปปนส* 5,800.0 6,550.0 7,150.0 7,300.0 7,400.0
เวียดนาม* 4,250.0 4,900.0 5,200.0 5,200.0 5,500.0
ไทย** 3,720.0 3,660.0 3,840.0 3,820.0
ที่มา: * Foreign Agricultural Service, United States Department of Agriculture (USDA), 2009
** สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2552
3.3.3 การสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวของประเทศไทยและประเทศใน
อาเซียน
การสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยมูลคามากกวารอยละ 90.0 เปน
การสงออกไปยังตลาดอาเซียน ซึ่งจากตารางที่ 19 ไดแสดงประเทศอาเซียน
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
51
ที่ไทยสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวไปมากที่สุดในป 2551 คือ มาเลเซีย มีมูลคาถึง
3,856.1 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 58.6 ของการสงออกไปอาเซียน และรอย
ละ 53.6 ของการสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวทั้งหมดของไทย รองลงมาคือ
อินโดนีเซียที่แมประเทศนี้จะสามารถผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวไดเปนปริมาณมาก แต
ยังไมเพียงพอตอความตองการใชในประเทศ จึงมีการนําเขาจากประเทศไทย
1,184.2 ลานบาทในป 2551 สําหรับเวียดนามนั้นเคยเปนประเทศที่ไทยสงออกไป
มากเปนอันดับ 1 โดยในป 2549-2550 ไทยสามารถสงออกไดถึง 1,006.4 และ
1,497.6 ลานบาท
ตารางที่ 19 มูลคาการสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยในตลาดอาเซียน ป 2549-2552 (ม.ค.-ส.ค.)
มูลคา (ลานบาท) อัตราขยายตัว (รอยละ)
รายการ 2549 2550 2551 2551
(ม.ค.-ส.ค.)
2552
(ม.ค.-ส.ค.)
2549 2550 2551 2551
(ม.ค.-ส.ค.)
2552
(ม.ค.-ส.ค.)
มาเลเซีย 329.7 1,006.2 3,856.1 3,010.1 933.7 227.4 205.2 283.2 529.6 - 69.0
อินโดนีเซีย 725.5 559.9 1,184.2 757.5 904.2 352.1 - 22.8 111.5 169.0 19.4
เวียดนาม 1,006.4 1,497.6 1,107.1 811.4 747.9 131.7 48.8 - 26.1 - 3.9 - 7.8
ฟลิปปนส 116.1 155.9 169.8 128.3 463.1 - 38.5 34.3 8.9 22.7 260.8
กัมพูชา 50.1 87.3 98.7 84.0 84.6 70.4 74.1 13.1 10.9 0.8
ลาว 59.9 52.8 91.2 91.1 81.4 3,118.6 - 11.9 72.8 80.6 - 10.6
สิงคโปร 1.7 0.1 41.2 30.0 48.3 - 90.4 - 92.6 31,842.2 24,479.3 61.0
พมา 76.6 10.2 29.1 28.6 30.5 421.0 - 86.6 185.0 2,645.1 6.6
สิงคโปร - - - - - - - - - -
อาเซียนรวม 2,365.9 3,369.9 6,577.5 4,941.0 3,293.7 147.9 42.4 95.2 - - 33.3
ประเทศอื่นๆ 222.7 160.0 611.3 156.6 191.3 66.6 - 28.1 282.0 - 22.2
รวม 2,588.7 3,530.0 7,188.8 5,097.5 3,485.1 137.9 36.4 103.7 - - 31.6
ที่มา: ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย โดยความรวมมือจากกรมศุลกากร 2552
นอกจากนี้เมื่อพิจารณาปริมาณและมูลคาการสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวของ
ประเทศอาเซียนดวยแลว จะเห็นวาประเทศไทยเปนประเทศผูสงออกมาก
ที่สุดของภูมิภาคอาเซียน มีปริมาณ 375.8 พันตัน ในป 2550 เพิ่มขึ้นจากป 2549
AEC Promt 
52
ที่เคยสงออกได 306.3 พันตัน รองลงมาคือพมา มีปริมาณการสงออก 159.6
พันตัน ในป 2550 สวนอันดับที่ 3 คืออินโดนีเซียที่มีการสงออกผลผลิตเปนปริมาณ
101.7 พันตัน ในป 2550 (ตารางที่ 20)
ตารางที่ 20 ปริมาณและมูลคาการสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยและประเทศอาเซียนไปยังตลาดโลก ป 2547-2550
ปริมาณ (พันตัน) มูลคา (ลานบาท)
รายการ
2547 2548 2549 2550 2547 2548 2549 2550
โลก 82,688.2 90,419.4 95,425.3 109,684.2 470,803.5 451,146.8 502,667.4 719,574.5
บรูไน 0.0 - - - 0.1 - - -
กัมพูชา 64.3 22.8 32.6 80.4 149.5 64.4 93.3 232.2
อินโดนีเซีย 32.7 54.0 28.1 101.7 365.4 364.4 163.3 639.5
ลาว 34.7 47.1 127.0 22.9 89.5 111.7 338.7 266.3
มาเลเซีย 6.1 4.2 11.1 1.2 65.5 39.1 86.9 19.9
พมา 254.8 60.2 64.3 159.6 1,158.2 297.1 338.9 876.9
ฟลิปปนส 0.1 0.3 0.6 0.7 7.6 9.6 31.7 22.7
สิงคโปร 2.7 1.8 0.4 0.6 16.0 11.5 4.0 5.7
ไทย 951.3 70.4 306.3 375.8 5,630.3 1,088.1 2,588.7 3,530.0
เวียดนาม 80.0 2.5 1.1 0.2 519.3 28.0 11.5 7.6
อาเซียน 1,426.8 263.4 571.3 743.1 8,001.4 2,038.3 3,677.5 5,637.0
ที่มา:Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO), 2009
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
53
ถั่วเหลือง
3.4 การผลิตถั่วเหลืองไทยกับประเทศในอาเซียน
ถั่วเหลืองเปนพืชมีคุณคาทางโภชนาการ มีสารอาหารหลายประเภทที่เปน
ประโยชนตอสุขภาพ และชวยปองกันโรค ไดแก โปรตีน ไขมัน คารโบรไฮเดรท
แคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามิน และเลซิทีน เปนตน ซึ่งมีประโยชนตอมนุษยและสัตว
มากมาย คือ 1) ใชเปนอาหารที่บริโภคไดโดยตรง ทั้งการตมหรือที่เรียกวา ถั่วแระ
การบริโภคเปนถั่วเหลืองฝกสดหรือบรรจุกระปอง และแปรรูปเปนผลิตภัณฑอาหาร
ไดแก ถั่วงอกเตาเจี้ยวเตาหู ซีอิ้วนมถั่วเหลืองโปรตีนเกษตร แปงถั่วเหลือง และกาแฟ
ถั่วเหลือง เปนตน 2) ใชในอุตสาหกรรมการสกัดน้ํามัน ทําใหไดผลิตภัณฑตางๆ คือ
น้ํามันถั่วเหลืองที่ใชสําหรับปรุงอาหาร และอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารอื่นๆ ที่เปนการ
เพิ่มคุณสมบัติใหถั่วเหลือง เชน เนยเทียมหรือมาการีน น้ําสลัด น้ําพริกเผา ปลาทูนา
กระปอง กาว สี ปุย วิตามินยา กระดาษ ผาฉนวนไฟฟาหมึกพิมพ สบู เครื่องสําอาง
เบียร เสนใย เปนตน นอกจากนั้นยังมีกากถั่วเหลือง ที่เปนแหลงโปรตีนสําหรับ
อุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตว อุตสาหกรรมการผลิตปศุสัตวทั้งเพื่อบริโภค
ภายในประเทศและสงออก3) ใชในอุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตว โดยการนําเมล็ดถั่ว
เหลืองแปรรูปเปนถั่วเหลืองนึ่ง (Full Fat Soy) ใชผสมอาหารสัตว 4) ใชทําปุยหรือ
บํารุงดิน โดยไถกลบถั่วเหลืองลงไปในดินจะเปนปุยพืชสด ทําใหดินมีความอุดม
สมบูรณ และมีคุณสมบัติดีขึ้น ที่รากของถั่วเหลืองจะมีปมซึ่งมีเชื้อแบคทีเรีย
ไรโซเบียมที่สามารถดูดไนโตรเจนใหมาอยูในรูปของสารประกอบซึ่งพืชสามารถ
ใชเปนปุยได เมื่อเก็บถั่วแลว ใบ ลําตน เปลือก ไถกลบลงสูดิน รวมทั้งราก
AEC Promt 
54
และปมที่ตกคางอยูในดินจะกลายเปนปุยอินทรียที่ดีของพืชชนิดอื่นที่จะปลูกตอไป
สําหรับเปลือกสามารถนํามาใชเพาะเห็ดได เรียกวาเห็ดถั่วเหลือง
ปจจุบันการผลิตถั่วเหลืองของประเทศไทยยังไมเพียงพอตอความตองการใช
ในประเทศ จึงทําใหตองนําเขามาจากตางประเทศเปนจํานวนมาก ซึ่งรายละเอียด
เพิ่มเติมของการผลิต การใชในประเทศ การสงออกและตําแหนงตลาดของถั่ว
เหลืองแสดงไดดังนี้
3.4.1 การผลิตถั่วเหลืองของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน
การเพาะปลูกถั่วเหลืองในประเทศไทยเริ่มมาตั้งแตป 2526 เนื่องจากมีการ
เติบโตของการสงออกเนื้อไก ทําใหปริมาณการผลิตอาหารสัตวเพิ่มขึ้น รวมทั้งมี
การกําหนดนโยบายและมาตรการควบคุมการนําเขาเมล็ดถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ
จึงทําใหราคาถั่วเหลืองในประเทศอยูในระดับดีเปนที่พอใจและจูงใจใหเกษตรกร
หันมาปลูกถั่วเหลืองกันมากขึ้น โดยมีแหลงผลิตที่สําคัญ คือ จังหวัดเชียงใหม แพร
ชัยภูมิ เลย และแมฮองสอน จะเห็นวาแหลงผลิตสวนใหญเปนที่ที่มีอากาศคอนขาง
เย็นซึ่งเปนสภาพอากาศที่เหมาะสมในการปลูกถั่วเหลืองนั่นเอง
สําหรับแนวโนมของการปลูกถั่วเหลืองในประเทศไทยนั้น มีแนวโนมลดลง
เรื่อยมา ซึ่งจากขอมูลที่แสดงไวในตารางที่ 21 จะเห็นวาในป 2549 มีพื้นที่ให
ผลผลิต 860.3 พันไร แตในปถัดมาคือ ป 2550 และ 2551 มีเนื้อที่ใหผลผลิตถั่ว
เหลืองลดลงเหลือ 805.5 และ 798.7 พันไรตามลําดับ ซึ่งเปนผลใหปริมาณ
ผลผลิตถั่วเหลืองลดลงตามไปดวย นั่นคือในป 2551 มีปริมาณผลผลิตถั่วเหลือง
198.0 พันตัน ซึ่งลดลงจากปกอนหนา 6.0 พันตัน และเมื่อพิจารณา
เปรียบเทียบการผลิตถั่วเหลืองของไทยกับอาเซียนแลว พบวาประเทศในอาเซียน
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
55
ที่เปนผูผลิตถั่วเหลืองรายใหญ คือ อินโดนีเซีย มีเนื้อที่ใหผลผลิต 2,869.5 พันไร
คิดเปนปริมาณผลผลิต 592.6 พันตัน ในป 2550 รองลงมาเปนเวียดนาม สวนไทย
อยูในอันดับที่ 3 แตทั้งนี้หากเปรียบเทียบปริมาณผลผลิตตอไรของแตละประเทศ
แลว จะเห็นวาไทยเปนอันดับที่ 1 มีผลผลิตตอไรในป 2550 เทากับ 253.2 กิโลกรัม
และลดลงเล็กนอยในป 2551 เปนเทากับ 248.0 กิโลกรัมตอไร
ตารางที่ 21 เนื้อที่ใหผลผลิต ผลผลิตตอไร และปริมาณผลผลิตถั่วเหลืองของไทยและประเทศในอาเซียน ป 2549-2551
เนื้อที่ใหผลผลิต (พันไร) ผลผลิตตอไร (กิโลกรัม) ผลผลิต (พันตัน)
ประเทศ 2549 2550 2551 2549 2550 2551 2549 2550 2551
รวมทั้งโลก 593,361.4 563,747.7 n/a 367.8 391.2 n/a 218,232.7 220,532.6 n/a
กัมพูชา 402.4 475.0 n/a 244.3 246.3 n/a 98.3 117.0 n/a
อินโดนีเซีย 3,628.3 2,869.5 n/a 206.0 206.5 n/a 747.6 592.6 n/a
ลาว 55.8 50.3 n/a 214.4 208.1 n/a 12.0 10.5 n/a
มาเลเซีย - - n/a - - n/a - - n/a
พมา 762.5 768.8 n/a 157.4 158.7 n/a 120.0 122.0 n/a
ฟลิปปนส 4.9 3.9 n/a 213.2 248.1 n/a 1.1 1.0 n/a
ไทย 860.3 805.5 798.7 249.7 253.2 248.0 214.8 204.0 198.0
เวียดนาม 1,160.0 1,188.1 n/a 222.5 231.9 n/a 258.1 275.5 n/a
อาเซียน 6,874.2 6,161.0 n/a 211.2 214.7 n/a 1,451.8 1,322.5 n/a
ประเทศอื่นๆ 586,487.2 557,586.7 n/a 369.6 393.1 n/a 216,780.9 219,210.1 n/a
ที่มา:* องคการอาหารและการเกษตรแหงสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations: FAO), 2009
3.4.2 การบริโภคถั่วเหลืองของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน
ปริมาณความตองการใชถั่วเหลืองในประเทศในปจจุบันเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่ง
เปนผลมาจากประชากรเพิ่มขึ้นจึงมีความตองการอาหารมากขึ้น ทั้งอาหารที่ทํา
จากถั่วเหลือง และอาหารที่ทําจากเนื้อสัตว โดยเฉพาะเนื้อไกและเนื้อหมู ซึ่งจาก
ตารางที่ 22 ที่แสดงปริมาณประชากรสัตวและปริมาณการใชกากถั่วเหลืองระหวาง
ป 2549-2552 พบวากากถั่วเหลืองเปนวัตถุดิบที่ใชผลิตอาหารสัตวสําหรับไกเนื้อ
มากที่สุด โดยในป 2549 กากถั่วเหลืองถูกใชไปเพื่อผลิตอาหารสัตวสําหรับไกเนื้อ
AEC Promt 
56
1,019.3 พันตัน และลดลงมาเปน 713.3 พันตันในป 2552 รองลงมาเปนการใช
เพื่อเลี้ยงสุกรขุน
เมื่อพิจารณาปริมาณความตองการใชในประเทศของไทยกับประเทศอาเซียน
แลว พบวาไทยเปนประเทศที่มีปริมาณการใชในประเทศสูงกวาประเทศอินโดนีเซีย
และเวียดนาม จากขอมูลของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา ตามที่แสดงในตารางที่
23 พบวาในป 2551 ไทยมีปริมาณการใชถั่วเหลือง 3,225.0 พันตัน ซึ่งลดลงจากป
2550 เทากับ 3.0 พันตัน อันดับ 2 รองจากไทยคืออินโดนีเซีย และเวียดนาม มี
ปริมาณการใชในป 2551 เทากับ 2,444.0 และ 2,300.0 พันตันตามลําดับ และมี
ทิศทางที่ประเทศทั้ง 2 จะใชบริโภคในประเทศเพิ่มขึ้นอีกเรื่อยๆ เชนเดียวกับไทย
ตารางที่ 22 ประชากรสัตวและปริมาณการใชกากถั่วเหลืองเพื่อเปนวัตถุดิบผลิตอาหารสัตวของไทย ป 2549-2552
ประเภท 2549 2550 2551 2552
ไกเนื้อ (ลานตัว) 858.0 812.0 924.0 899.0
กากถั่วเหลือง (พันตัน) 1,019.3 964.3 1,097.1 1,067.5
ไกพอแมพันธุ (ลานตัว) 10.6 10.0 11.4 11.1
กากถั่วเหลือง (พันตัน) 133.8 126.5 143.9 140.0
ไกไขเล็กรุน (ลานตัว) 30.6 30.6 30.6 30.6
กากถั่วเหลือง (พันตัน) 165.9 165.9 165.9 165.9
ไกไขใหไข (ลานตัว) 37.1 37.1 40.1 37.1
กากถั่วเหลือง (พันตัน) 370.5 370.5 400.8 370.5
สุกรขุน (ลานตัว) 12.1 13.2 11.1 10.2
กากถั่วเหลือง (พันตัน) 713.3 780.6 651.9 601.8
เปดเนื้อ (ลานตัว) 23.9 25.1 30.0 30.0
กากถั่วเหลือง (พันตัน) 40.2 42.2 50.4 50.4
โคนม (พันตัว) 350.0 315.0 325.0 325.0
กากถั่วเหลือง (พันตัน) 19.1 17.2 17.8 17.8
ที่มา: ฝายวิชาการ ฝายการตลาด สมาคมผูผลิตอาหารสัตวไทย 2552
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3

More Related Content

What's hot

174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1Wangkaew
 
การฝึกวิ่ง
การฝึกวิ่งการฝึกวิ่ง
การฝึกวิ่งCh Khankluay
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ing
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ingภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ing
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ingอภิญญา คำเหลือ
 
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้รายคาบ
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้รายคาบบันทึกหลังการจัดการเรียนรู้รายคาบ
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้รายคาบTheeraphisith Candasaro
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1fsarawanee
 
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะTanyarad Chansawang
 
Presentation gmp
Presentation gmpPresentation gmp
Presentation gmpkhunrit
 
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...Sircom Smarnbua
 
ใบงานที่ 2.2
ใบงานที่ 2.2ใบงานที่ 2.2
ใบงานที่ 2.2Wachi Kook
 
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)Slitip Pimkad
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณSupicha Ploy
 
Bình đơn thuốc Đái tháo đường_DS. Lê Mới Em
Bình đơn thuốc Đái tháo đường_DS. Lê Mới EmBình đơn thuốc Đái tháo đường_DS. Lê Mới Em
Bình đơn thuốc Đái tháo đường_DS. Lê Mới EmHA VO THI
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์sw110
 
รายงาน Google Android - Know2pro.com
รายงาน Google Android - Know2pro.comรายงาน Google Android - Know2pro.com
รายงาน Google Android - Know2pro.comKnow Mastikate
 

What's hot (20)

174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1
 
การฝึกวิ่ง
การฝึกวิ่งการฝึกวิ่ง
การฝึกวิ่ง
 
Thông tư 36/2018/TT-BYT về Thực hành tốt bảo quản thuốc, nguyên liệu làm thuốc
Thông tư 36/2018/TT-BYT về Thực hành tốt bảo quản thuốc, nguyên liệu làm thuốcThông tư 36/2018/TT-BYT về Thực hành tốt bảo quản thuốc, nguyên liệu làm thuốc
Thông tư 36/2018/TT-BYT về Thực hành tốt bảo quản thuốc, nguyên liệu làm thuốc
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ing
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ingภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ing
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ing
 
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้รายคาบ
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้รายคาบบันทึกหลังการจัดการเรียนรู้รายคาบ
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้รายคาบ
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
 
Presentation gmp
Presentation gmpPresentation gmp
Presentation gmp
 
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
 
ใบงานที่ 2.2
ใบงานที่ 2.2ใบงานที่ 2.2
ใบงานที่ 2.2
 
Đề tài: Chất lượng báo cáo ADR trong cơ sở dữ liệu báo cáo, 9đ
Đề tài: Chất lượng báo cáo ADR trong cơ sở dữ liệu báo cáo, 9đĐề tài: Chất lượng báo cáo ADR trong cơ sở dữ liệu báo cáo, 9đ
Đề tài: Chất lượng báo cáo ADR trong cơ sở dữ liệu báo cáo, 9đ
 
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
 
Bình đơn thuốc Đái tháo đường_DS. Lê Mới Em
Bình đơn thuốc Đái tháo đường_DS. Lê Mới EmBình đơn thuốc Đái tháo đường_DS. Lê Mới Em
Bình đơn thuốc Đái tháo đường_DS. Lê Mới Em
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
 
รายงาน Google Android - Know2pro.com
รายงาน Google Android - Know2pro.comรายงาน Google Android - Know2pro.com
รายงาน Google Android - Know2pro.com
 
อาหารว่างไทย ความหมาย
อาหารว่างไทย ความหมายอาหารว่างไทย ความหมาย
อาหารว่างไทย ความหมาย
 
THÔNG TƯ Quy định thủ tục đăng ký, kiểm tra, chứng nhận cơ sở sản xuất thuốc ...
THÔNG TƯ Quy định thủ tục đăng ký, kiểm tra, chứng nhận cơ sở sản xuất thuốc ...THÔNG TƯ Quy định thủ tục đăng ký, kiểm tra, chứng nhận cơ sở sản xuất thuốc ...
THÔNG TƯ Quy định thủ tục đăng ký, kiểm tra, chứng nhận cơ sở sản xuất thuốc ...
 
สงครามเวี..[1]
สงครามเวี..[1]สงครามเวี..[1]
สงครามเวี..[1]
 

More from วิระศักดิ์ บัวคำ

2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 25492 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549วิระศักดิ์ บัวคำ
 
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่วิระศักดิ์ บัวคำ
 
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3วิระศักดิ์ บัวคำ
 
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)วิระศักดิ์ บัวคำ
 
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1วิระศักดิ์ บัวคำ
 
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3วิระศักดิ์ บัวคำ
 
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...วิระศักดิ์ บัวคำ
 
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laosคู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laosวิระศักดิ์ บัวคำ
 
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmarคู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmarวิระศักดิ์ บัวคำ
 

More from วิระศักดิ์ บัวคำ (20)

Chamber commerce issue2
Chamber commerce issue2Chamber commerce issue2
Chamber commerce issue2
 
ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
 
2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 25492 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
 
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
 
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
 
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
 
Form mr
Form mrForm mr
Form mr
 
Form mr
Form mrForm mr
Form mr
 
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
 
สถิติการค้า ไทย อาเซียน Total feb 56
สถิติการค้า ไทย อาเซียน Total feb 56สถิติการค้า ไทย อาเซียน Total feb 56
สถิติการค้า ไทย อาเซียน Total feb 56
 
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
 
บรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรมบรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรม
 
บรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรมบรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรม
 
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
 
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
 
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
 
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
 
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
 
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laosคู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
 
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmarคู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
 

ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3

  • 1. บทที่ 3 ตําแหนงสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยในอาเซียน ขาว 3.1 การผลิตขาวไทยกับประเทศในอาเซียน ขาวเปนอาหารหลักของคนไทยและคนในประเทศอาเซียน สําหรับประเทศ ไทยนั้นขาวเปนพืชเศรษฐกิจสําคัญที่ทํารายไดใหกับประเทศอยางมากมาตั้งแต อดีตจนกระทั่งปจจุบัน ซึ่งจากขนาดพื้นที่การเกษตรทั้งหมดของประเทศกวา 130 ลานไร พื้นที่เพาะปลูกขาวมีสัดสวนถึงรอยละ 50 หรือกวา 62 ลานไร จะเห็นได จากมูลคาการสงออกขาวในป 2531 มีมูลคา 69,352.8 ลานบาท และเพิ่มเปน 203,219.1 ลานบาท ในป 2551 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 193.0 ระหวางป 2531-2551 เมื่อพิจารณาการสงออกขาวในป 2551 พบวามีสัดสวนรอยละ 30.8 ของมูลคา สงออกสินคาเกษตร หรือคิดเปนรอยละ 3.5 ของมูลคาการสงออกรวมทั้งหมด นอกจากนี้ขาวยังเปนรายไดหลักของชาวนาถึง 3.7 ลานครัวเรือน จากครัวเรือน เกษตร 5.6 ลานครัวเรือน หรือคิดเปนรอยละ 66 ของครัวเรือนเกษตรทั้งหมด และ เปนแหลงจางงานเกษตรกรกวา 4 ลานครัวเรือน ซึ่งสามารถสรางรายไดและความ มั่นคงใหภาคเกษตรไทยเปนอยางมาก ขณะเดียวกันแมวาไทยจะเปนประเทศผูผลิตหลักและสงออกขาวเปนอันดับ 1 ของโลก แตไทยไมไดเปนประเทศเดียวในอาเซียน ที่มีศักยภาพในการผลิตขาว เพื่อการบริโภคภายในประเทศและเพื่อการสงออก ยังมีประเทศเพื่อนบานที่เปนทั้ง คูแขงและคูคาขาวของไทย คือ พมา เวียดนาม ลาว อินโดนีเซีย มาเลเซีย
  • 2. AEC Promt  28 ฟลิปปนสและกัมพูชา ซึ่งจากรายงานสถิติของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา (Foreign Agricultural Service, United States Department of Agriculture : USDA) สามารถพิจารณาไดดังนี้ 3.1.1 เนื้อที่เพาะปลูก เมื่อพิจารณาเนื้อที่เพาะปลูกขาวทั้งหมดของอาเซียน ในชวงระหวางป 2550/51 ถึง 2552/53 พบวาอาเซียนมีเนื้อที่เพาะปลูกทั้งหมด 283.7 ลานไร และ เพิ่มขึ้นเปน 284.4 ลานไร คิดเปนอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 3.0 แตเมื่อ พิจารณาเปนรายประเทศ จะพบวาอินโดนีเซียมีเนื้อที่เพาะปลูกมากที่สุด จํานวน 74.3 ลานไร รองลงมาคือ ไทย 66.3 ลานไร และเวียดนาม 46.3 ลานไร ถา พิจารณาจากอัตราการขยายตัวในชวงปดังกลาว จะพบวาอินโดนีเซียและ เวียดนาม มีอัตราการขยายตัวของเนื้อที่เพาะปลูกลดลง โดยอินโดนีเซียขยายตัว ลดลงรอยละ 2.6 ในป 2552/53 สวนเวียดนามขยายตัวลดลง รอยละ 0.9 ในป 2551/52 และขยายตัวเพิ่มขึ้นในป 2552/53 เหลือติดลบเพียง 0.7 % สวนไทยมี อัตราการขยายตัวของเนื้อที่เพาะปลูกเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง (ตารางที่ 6) 3.1.2 ผลผลิตตอไร ดานผลผลิตตอไรของอาเซียน เมื่อมองภาพรวมในระหวางป 2550/51 ถึง 2552/53 พบวามีผลผลิตตอไรเฉลี่ยอยูที่ 572.4-583.4 กิโลกรัมตอไร และเมื่อ พิจารณาเปนรายประเทศ สามมารถแบงออกไดเปน 2 กลุม คือ 1) กลุมที่มีผลผลิตตอไรสูงกวาคาเฉลี่ยในแตละป ซึ่งประกอบดวย อินโดนีเซีย เวียดนาม และฟลิปปนส
  • 3. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  29 2) กลุมที่มีผลผลิตตอไรต่ํากวาคาเฉลี่ยในแตละป ไดแก ไทย พมา ลาว กัมพูชา และมาเลเซีย ถาพิจารณาอัตราการขยายตัวของผลผลิตตอไร จะพบวาในชวงปดังกลาว ประเทศที่มีอัตราการขยายตัวสูงสุด คือประเทศกัมพูชา มีอัตราการขยายตัว เพิ่มขึ้นรอยละ 5.0 ในป 2551/52 รองลงมาคือไทยมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นรอย ละ 2.9 และลาว 2.6 ในป 2552/53 (ตารางที่ 6) 3.1.3 ผลผลิตขาวสาร สําหรับผลผลิตขาวสาร จะพบวาประเทศที่มีผลผลิตมากที่สุดคือ ประเทศ อินโดนีเซีย รองลงมาคือเวียดนาม ไทย พมา และฟลิปปนส ซึ่งตลอดชวงป 2550/51 ถึง 2552/53 ปริมาณผลผลิตขาวที่ผลิตไดในแตละประเทศยังไมการ เปลี่ยนแปลงมากนัก แตประเทศที่ถูกจับตามองและกลาวถึงมากในปจจุบัน คือ ประเทศเวียดนามเนื่องจากเปนประเทศที่สามารถผลิตขาวไดมากเปนอันดับ 2 ของ อาเซียน และมีตลาดสงออกหลักเชนเดียวกับไทย ถือไดวาเปนคูแขงที่สําคัญของ ไทยในตลาดโลกโดยเฉพาะกลุมสินคาขาวขาว จะเห็นไดจากผลผลิตขาวของ เวียดนาม ในป 2552/53 เวียดนามสามารถผลิตขาวสารไดทั้งสิ้น 23.8 ลานตัน แต ไทยผลิตไดเพียง 20.0 ลานตัน ในขณะที่พมาผลิตได 10.7 ลานตัน กัมพูชาผลิตได 4.6 ลานตัน และลาวผลิตได 1.9 ลานตัน นอกจากนี้เมื่อพิจารณาจากอัตราการ ขยายตัวของผลผลิตที่ผลิตได พบวาประเทศที่มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นสูงสุด คือ พมา เพิ่มขึ้นรอยละ 5.7 ลาว 5.6 ไทย 3.1 กัมพูชา 2.4 สวนเวียดนามขยายตัว เพิ่มขึ้นเพียง 0.4 เทานั้น (ตารางที่ 6)
  • 4. AEC Promt  30 สําหรับปริมาณการบริโภคขาวของประเทศในอาเซียน จากสถิติระหวางป 2548/49 ถึง 2552/53 พบวาประเทศที่มีปริมาณการบริโภคขาวสูงสุด คือ กัมพูชา รองลงมาเวียดนาม พมา และอินโดนีเซีย และเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบป 2552/53 กับป 2548/49 จะเห็นวาประเทศที่มีปริมาณการบริโภคขาวลดลง มีเพียงประเทศ เวียดนาม พมา และไทยเทานั้น ซึ่งในป 2552/53 ไทยเปนประเทศที่มีปริมาณการ บริโภคขาวนอยที่สุด 143 กิโลกรัม/คน/ป ในขณะที่กัมพูชามีปริมาณการบริโภค ขาวถึง 278.3 กิโลกรัม/คน/ป เวียดนาม 218.8 กิโลกรัม/คน/ป และพมา 162.6 กิโลกรัม/คน/ป (ตารางที่ 7) ตารางที่ 6 เนื้อที่เพาะปลูกขาว ผลผลิตตอไร และผลผลิตขาวสารของอาเซียน เนื้อที่เพาะปลูก (ลานไร) ผลผลิตตอไร (กิโลกรัม/ไร) ผลผลิตขาวสาร (ลานตัน) ประเทศ 2550/51 2551/52 2552/53 2550/51 2551/52 2552/53 2550/51 2551/52 2552/53 อินโดนีเซีย 74.3 - 76.1 (2.3) 74.1 (- 2.6) 771.2 - 780.8 (1.2) 787.2 (0.8) 37.0 - 38.3 (3.5) 37.6 (- 1.8) เวียดนาม 46.3 - 45.9 (- 0.9) 45.6 (- 0.7) 796.8 - 782.4 (- 1.8) 792.0 (1.2) 24.4 - 23.7 (- 2.6) 23.8 (0.4) ไทย 66.3 - 66.8 (0.8) 67.0 (0.4) 441.6 - 440.0 (- 0.4) 452.8 (2.9) 19.3 - 19.4 (0.5) 20.0 (3.1) พมา 44.3 - 41.9 (-5.5) 43.8 (4.5) 417.6 - 417.6 - 422.4 (1.2) 10.7 - 10.2 (- 5.4) 10.7 (5.7) ฟลิปปนส 27.2 - 28.3 (4.1) 27.8 (- 1.8) 612.8 - 603.2 (- 1.6) 611.2 (1.3) 10.5 - 10.8 (2.6) 10.7 (- 0.4) กัมพูชา 16.1 - 16.3 (1.6) 16.6 (1.5) 419.2 - 440.0 (5.0) 443.2 (0.7) 4.2 - 4.5 (6.6) 4.6 (2.4) ลาว 5.1 - 5.3 (3.7) 5.5 (3.5) 561.6 - 564.8 (0.6) 579.2 (2.6) 1.7 - 1.8 (4.1) 1.9 (5.6) มาเลเซีย 4.1 - 4.1 (1.5) 4.2 (1.5) 558.4 - 571.2 (2.3) 579.2 (1.4) 1.5 - 1.5 (3.4) 1.6 (3.3) รวม 283.7 284.7 284.4 572.4* 575.0* 583.4* 109.3 110.2 111.0 หมายเหตุ: ตัวเลขในวงเล็บแสดงอัตราการขยายตัว และ * คือ คาเฉลี่ย ที่มา: USDA, Foreign Agricultural Service, August, 2009
  • 5. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  31 ตารางที่ 7 ปริมาณการบริโภคขาวของประเทศในอาเซียน หนวย: กิโลกรัม/คน/ป ประเทศ 2548/49 2549/50 2550/51 2551/52 2552/53 กัมพูชา 258.2 257.4 282.7 275.8 278.3 เวียดนาม 221.0 222.5 227.8 221.8 218.8 พมา 187.8 188.8 177.8 162.4 162.6 อินโดนีเซีย 163.0 161.7 161.6 165.2 163.3 ไทย 146.6 149.8 146.0 155.0 143.2 ฟลิปปนส 125.8 138.0 152.4 151.1 150.2 ที่มา: คํานวณจาก USDA, World Rice Production, Consumption, and Stock, August, 2009 หากพิจารณาจากสต็อกขาวของประเทศในอาเซียน ระหวางป 2550/51 ถึง 2552/53 จะเห็นวาอินโดนีเซียและฟลิปปนส มีจํานวนสต็อกขาวคอนขางสูงเมื่อ เทียบกับประเทศอื่นๆ ในอาเซียน โดยฟลิปปนสมีสต็อกขาว 3.0-4.5 ลานตัน สวน อินโดนีเซียมีสต็อกขาวสูงถึง 5.6-6.8 ลานตัน เนื่องมาจากทั้งสองประเทศผลิตขาว ไมเพียงพอตอการบริโภคของคนในประเทศ จึงทําใหทั้งสองประเทศตองมีสต็อก ขาวไวในจํานวนมากเพื่อความมั่นคงทางดานอาหารของประเทศ สวนประเทศผูผลิตและสงออกรายใหญของอาเซียนอยางไทยกับเวียดนาม ที่สามารถผลิตขาวไดเพียงพอกับความตองการบริโภคภายในประเทศ และยังมี เหลือในการสงออกเปนจํานวนมาก ในชวง 3 ปที่ผานมาสต็อกขาวของไทยเพิ่มขึ้น จาก 2.2 ลานตัน ในป 2550/51 เปน 4.2 ลานตัน ในป 2552/53 ในขณะที่ เวียดนามสต็อกขาวของประเทศกลับมีจํานวนลดลงจาก 2.0 ลานตัน เปน 1.8 ลาน ตัน ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบสัดสวนของสต็อกขาวปลายปกับกับปริมาณการบริโภคขาว ภายในประเทศแลว จะพบวาไทยและอินโดนีเซียมีปริมาณสต็อกขาวเพิ่มขึ้นตลอด จากป 2550/51 ถึง 2552/53 แตเวียดนามกับฟลิปปนสกลับมีปริมาณสต็อกที่ ลดลง และเมื่อพิจารณาในปลาสุดจะเห็นไดอยางชัดเจนวาไทยมีสัดสวนสต็อกขาว
  • 6. AEC Promt  32 ตอการบริโภคสูงที่สุดถึงรอยละ 40.6 รองลงมาคือฟลิปปนส 22.3 อินโดนีเซีย 18.2 และ เวียดนาม 9.2 3.1.4 การสงออกขาวไทยในตลาดอาเซียน สําหรับการสงออกของไทยในตลาดอาเซียน ระหวางป 2549-2552 จะเห็น ไดวามูลคาการสงออกของไทยในป 2549-2551 เพิ่มขึ้นจาก 329.5 ลานเหรียญ สหรัฐฯ เปน 1,052.5 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นถึง รอยละ 219.4 แตเมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกขาวไทยระหวางป 2551 กับป 2552 ในชวงเดือน ม.ค.-ก.ค. กลับพบวาไทยสงออกขาวในตลาดอาเซียน ลดลงรอยละ 72.0 และเมื่อพิจารณาเปนรายประเทศพบวาในป 2552 (ม.ค.-ก.ค.) มูลคาการสงออกขาวของไทยในอาเซียนมีอัตราการขยายตัวลดลงเกือบทุก ประเทศ ยกเวนลาวกับอินโดนีเซีย สวนประเทศที่มีอัตราการขยายตัวลดลงมาก ที่สุด ไดแกฟลิปปนส ขยายตัวลดลงถึงรอยละ 92.7 และมาเลเซียขยายตัวลดลง รอยละ 83.4 (ตารางที่ 9) 3.1.5 ตําแหนงขาวไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก (1) ตําแหนงขาวไทยในตลาดอาเซียน เมื่อพิจารณาสวนแบงตลาดขาวในตลาดอาเซียนในระหวางป 2547-2551 จะเห็นวาประเทศผูสงออกขาวรายใหญมีเพียง 2 ประเทศเทานั้น คือไทยกับ เวียดนาม ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบอัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของของไทยกับ เวียดนามแลวจะพบวาป 2547 ไทยยังมีการสงออกขาวเปนอันดับ 1 ในตลาด อาเซียน แตก็มีอัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดมากกวาเวียดนาม
  • 7. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  33 เพียงเล็กนอยเทานั้น ในขณะที่ป 2548 เวียดนามมีอัตราการขยายตัวของการ สงออกเพิ่มขึ้นอยางมากถึงรอยละ 94.2 และมีสวนแบงตลาดถึงรอยละ 67.5 ซึ่งใน ปเดียวกันนั้นไทยกลับมีอัตราการขยายตัวลดลงรอยละ 13.4 และมีสวนแบงตลาด เพียงรอยละ 31.1 เทานั้น ถึงแมวาตอมาในป 2549-2551 ไทยจะมีอัตราการ ขยายตัวในการสงออกเพิ่มขึ้นโดยตลอด แตไทยก็ยังไมสามารถแยงสวนแบงตลาด ขาวสวนใหญมาจากเวียดนามได ดังนั้นเราคงตองยอมรับวา 5 ปที่ผานมาไทยได สูญเสียตลาดขาวในอาเซียนใหกับเวียดนามไปแลวอยางสิ้นเชิง ตารางที่ 8 การผลิต การบริโภค การสงออก และสต็อกขาวของประเทศในอาเซียน หนวย: ลานตันขาวสาร ประเทศ อินโดนีเซีย ไทย ฟลิปปนส เวียดนาม 2550/51 37.0 19.3 10.5 24.4 2551/52 37.3 19.4 10.6 23.7การผลิต 2552/53 37.6 20.0 10.7 23.8 2550/51 36.4 9.6 13.5 19.4 2551/52 36.9 9.5 13.2 19.2การบริโภค 2552/53 37.4 10.4 13.4 19.2 2550/51 n/a 10.0 n/a 4.6 2551/52 n/a 9.0 n/a 5.2การสงออก 2552/53 n/a 8.5 n/a 5.0 2550/51 5.6 2.2 4.5 2.0 2551/52 6.3 3.1 4.0 1.8 สต็อกปลายป 2552/53 6.8 4.2 3.0 1.8 2550/51 15.4 23.0 33.7 10.4 2551/52 17.1 32.8 30.3 9.2 สต็อกปลายป/การบริโภค (รอยละ) 2552/53 18.2 40.6 22.3 9.2 หมายเหตุ: Na คือ ไมพบขอมูล ที่มา: USDA, Grain: World Markets and Trade, September, 2009
  • 8. AEC Promt  34 ตารางที่ 9 มูลคาการสงออกขาวไทยในตลาดอาเซียน มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราขยายตัว (รอยละ) ประเทศ 2549 2550 2551 2551 (ม.ค.-ก.ค.) 2552 (ม.ค.-ก.ค.) 2550 2551 2552 (ม.ค.-ก.ค.) สิงคโปร 83.6 108.2 184.5 128.0 85.4 29.5 70.6 - 33.2 มาเลเซีย 136.5 161.5 372.5 328.6 54.4 18.3 130.6 - 83.4 อินโดนีเซีย 48.3 140.3 52.6 26.6 46.4 190.6 - 62.5 74.3 ฟลิปปนส 32.1 125.6 381.5 346.6 25.4 291.1 203.8 - 92.7 บรูไน 19.9 21.8 39.2 22.4 19.0 9.3 79.9 - 15.3 ลาว 2.0 3.2 5.2 1.5 6.9 54.1 66.0 365.7 กัมพูชา 6.0 9.0 7.8 4.4 2.7 50.2 - 13.2 - 39.2 เวียดนาม 0.9 1.4 2.2 1.4 0.5 59.7 56.1 - 62.9 พมา 0.2 0.7 6.9 1.3 0.4 221.5 970.6 - 65.4 รวม 329.5 571.5 1,052.5 860.7 241.2 73.5 84.2 - 72.0 ที่มา: ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย โดยความรวมมือจากกรมศุลกากร 2552 -200.0 -100.0 0.0 100.0 200.0 300.0 400.0 -20.0 -10.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 70.0 80.0 สวนแบงตลาด (รอยละ) อัตราการขยายตัว(รอยละ) 47 51 48 49 50 51 50 48 4947 50 49 47 บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พมา ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม หมายเหตุ: ตัวเลขในรูปภาพแสดงถึงป พ.ศ. ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas และ CEIC Database, 2009 ภาพที่ 1 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกขาวในตลาดอาเซียน
  • 9. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  35 (2) ตําแหนงขาวไทยในตลาดโลก ถาพิจารณาสวนแบงตลาดขาวของไทยในตลาดโลก จะเห็นวาในระหวางป 2547-2551 ไทยเปนผูสงออกขาวอันดับ 1 ของโลก อินเดียตามมาเปนอันดับ 2 และสหรัฐอเมริกาสงออกเปนอันดับ 3 โดยหากเปรียบเทียบสวนแบงตลาดในชวงป 2547-2551 จะพบวาไทยมีสวนแบงตลาดสูงกวาอินเดียและสหรัฐอเมริกา คอนขางมาก ซึ่งชวงปดังกลาวไทยมีสวนแบงตลาดอยูระหวางรอยละ 32.8 -41.8 ในขณะที่อินเดียมีสวนแบงตลาดอยูที่รอยละ 17.7-24.9 และสหรัฐอเมริกามีสวน แบงตลาดอยูเพียงรอยละ 13.8-17.5 เทานั้น ถึงแมวาถาดูจากอัตราการขยายตัว ของการสงออก ในป 2548 และ 2550 อัตราการขยายตัวของไทยจะนอยกวา อินเดียก็ตาม แตโดยภาพรวมแลวไทยยังคงเปนผูสงออกขาวรายใหญที่สุดของโลก -200.0 -100.0 0.0 100.0 200.0 300.0 400.0 -10.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 อัตราการขยายตัว(รอยละ) สวนแบงตลาด (รอยละ) ไทย อินเดีย สหรัฐอเมริกา อิตาลี จีน อุรุกวัย บราซิล เบลเยี่ยม อาเจนตินา เนเธอรแลนด 51 50 49 48 47 51 50 49 48 50 48 51 49 47 หมายเหตุ: ตัวเลขในรูปภาพแสดงถึงป พ.ศ. ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas, 2009 ภาพที่ 2 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกขาวในตลาดโลก
  • 10. AEC Promt  36 มันสําปะหลัง 3.2 การผลิตมันสําปะหลังของไทยกับประเทศในอาเซียน มันสําปะหลังเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของไทย โดยมีพื้นที่เพาะปลูกทั้ง ประเทศกวา 8.2 ลานไร ครอบคลุม 45 จังหวัด มีเกษตรกรผูปลูกถึง 0.48 ลาน ครัวเรือน หรือคิดเปนรอยละ 8 ของจํานวนเกษตรกรทั้งประเทศ 5.6 ลานครัวเรือน ซึ่งสามารถผลิตหัวมันสดไดประมาณปละ 26-27 ลานตัน แตมีความตองการใชมัน สําปะหลัง (หัวมันสด) ในประเทศเพียงปละไมเกิน 10 ลานตันเทานั้น ทําใหมีมัน สําปะหลังสวนเกินอีกประมาณ 16-17 ลานตันตอป ที่สามารถสงออกและนํา รายไดเขาประเทศเปนจํานวนมาก โดยไทยสามารถสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลัง ไดหลายรูปแบบ เชน มันเสน มันอัดเม็ด แปงมันสําปะหลังทั้งในรูปของแปงดิบและ แปงแปรรูป เปนตน ในปจจุบันไทยเปนผูสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังรายใหญ ที่สุดของโลก โดยมีสวนแบงตลาดสูงถึงรอยละ 70 สวนในตลาดอาเซียนนั้นไทยก็ สามารถครองอันดับ 1 ในการสงออกมาเปนเวลานานกวา 10 ป เชนกัน ถึงแมวาในปจจุบันไทยจะเปนผูนําในการสงออกและมีสวนแบงตลาดมาก ที่สุด ทั้งในตลาดอาเซียนและตลาดโลกก็ตาม แตมันสําปะหลังเปนพืชเศรษฐกิจที่ มีอนาคต เพราะนอกจากสามารถนําไปผลิตเปนอาหาร และใชในอุตสาหกรรม ตางๆ มากมายแลว ยังสามารถนําไปผลิตพลังงานทดแทนไดดวย ดังนั้นจึงทําให หลายประเทศในอาเซียนเริ่มหันมาใหความสําคัญและสงเสริมใหมีการปลูกมัน สําปะหลังมากขึ้น จากขอมูลการผลิตมันสําปะหลังขององคการอาหารและเกษตร
  • 11. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  37 แหงสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations : FAO) สามารถพิจารณาไดดังนี้ 3.2.1 การผลิตมันสําปะหลังของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน เนื้อที่เก็บเกี่ยวมันสําปะหลังของประเทศในอาเซียนในระหวางป 2548-2550 จะเห็นวาพื้นที่เก็บเกี่ยวรวมทั้งอาเซียนเพิ่มขึ้นจาก 18.3 ลานไร ในป 2548 เปน 20.4 ลานไรในป 2550 โดยประเทศที่มีพื้นที่ในการเก็บเกี่ยวมากที่สุดไดแก อินโดนีเซียที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยวมากถึง 7.5-7.7 ลานไร รองลงมาคือไทย 6.2-7.3 ลาน ไร และขยายเปน 7.4 ลานไรในป 2551 เวียดนาม 2.7-3.1 ลานไร ซึ่งจากสถิติจะ พบวาอินโดนีเซียมีอัตราการขยายตัวลดลงรอยละ 2.1 ในป 2550 ในขณะที่ไทย และเวียดนามมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง (ตารางที่ 10) เมื่อพิจารณาจากผลผลิตตอไรในป 2550 จะพบวาโดยภาพรวมทุกประเทศมี อัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ยกเวนกัมพูชาและเวียดนาม ที่มีอัตราการ ขยายตัวลดลงรอยละ 9.5 และ 1.9 ตามลําดับ โดยประเทศที่มีผลผลิตตอไร ขยายตัวเพิ่มขึ้นมากที่สุด คือ ลาว มีผลผลิตตอไรเพิ่มขึ้นจาก 1.7 ตันตอไร ในป 2549 เปน 3.4 ตันตอไรในป 2550 คิดเปนอัตราการขยายตัวสูงถึงรอยละ 105.0 ในขณะที่ไทยมีผลผลิตตอไรเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจากป 2548-2550 แตในป 2551 กลับมีผลผลิตตอไรลดลงเหลือเพียง 3.4 ตันตอไร และเมื่อเทียบกับป 2550 พบวา ขยายตัวลดลงรอยละ 7.3 (ตารางที่ 10) นอกจากนี้หากพิจารณาจากผลผลิตจะเห็นวาทั้งผลผลิตรวมของอาเซียน และผลผลิตของแตละประเทศจะพบวามีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่อง โดยประเทศผูผลิตรายใหญของอาเซียนจะประกอบไปดวย 3 ประเทศ
  • 12. AEC Promt  38 คือ อินโดนีเซีย ไทย เวียดนาม และเมื่อเปรียบเทียบจํานวนผลผลิตทั้งสามประเทศ ในชวงป 2548-2550 จะเห็นวาในป 2548 อินโดนีเซียมีผลผลิตมากที่สุด คือ 19.3 ลานตัน ในขณะที่ไทยและเวียดนามผลิตได 16.9 และ 6.7 ลานตัน ตามลําดับ สวนในป 2550 จะพบวาอินโดนีเซียผลิตได 20 ลานตัน เวียดนามผลิตได 8 ลาน ตัน ในขณะที่ไทยผลิตไดมากถึง 26.9 ลานตัน ถึงแมวาในป 2551 ผลผลิตของไทย จะลดลงเหลือ 25.2 ลานตัน แตเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ แลวไทยก็ยังเปน ประเทศที่ผลิตมันสําปะหลังไดมากที่สุดของอาเซียน ตารางที่ 10 เนื้อที่เพาะปลูกมันสําปะหลัง ผลผลิตตอไร เนื้อที่เก็บเกี่ยว (ลานไร) ผลผลิตตอไร (ตัน/ไร) ผลผลิต (ลานตัน) ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2548 2549 2550 2551 2548 2549 2550 2551 บรูไน 0.0 - 0.0 - 0.0 - n/a 1.9 - 1.9 - 1.9 - n/a 0.0 - 0.0 - 0.0 - n/a กัมพูชา 0.2 - 0.6 (221.3) 0.7 (12.1) n/a 2.9 - 3.6 (26.8) 3.3 (- 9.5) n/a 0.5 - 2.2 (307.4) 2.2 (1.5) n/a อินโดนีเซีย 7.6 - 7.7 (1.2) 7.5 (-2.1) n/a 2.5 - 2.6 (2.3) 2.7 (2.2) n/a 19.3 - 20.0 (3.4) 20.0 (0.0) n/a ลาว 0.0 - 0.1 (149.5) 0.1 (- 34.7) n/a 1.2 - 1.7 (36.3) 3.4 (105.0) n/a 0.1 - 0.2 (240.1) 0.2 (33.8) n/a มาเลเซีย 0.3 - 0.3 (2.5) 0.3 - n/a 1.6 - 1.7 (4.9) 1.7 - n/a 0.4 - 0.4 (7.5) 0.4 - n/a พมา 0.1 - 0.1 (4.2) 0.1 - n/a 2.0 - 2.0 (-1.5) 2.0 (1.9) n/a 0.2 - 0.2 (2.7) 0.2 (1.9) n/a ฟลิปปนส 1.3 - 1.3 (- 0.1) 1.3 (2.5) n/a 1.3 - 1.4 (4.8) 1.4 (3.9) n/a 1.7 - 1.8 (4.7) 1.9 (6.5) n/a ไทย 6.2 - 6.7 (8.6) 7.3 (9.7) 7.4 (0.8) 2.7 - 3.4 (22.8) 3.7 (8.6) 3.4 (-7.3) 16.9 - 22.6 (33.3) 26.9 (19.2) 25.2 (-6.5) เวียดนาม 2.7 - 3.0 (11.7) 3.1 (4.6) n/a 2.5 - 2.6 (3.8) 2.6 (- 1.9) n/a 6.7 - 7.8 (15.9) 8.0 (2.6) n/a รวม 18.3 19.7 20.4 n/a 1.9* 2.1* 2.3* n/a 45.8 55.1 59.9 n/a หมายเหตุ: ตัวเลขในวงเล็บแสดงอัตราการขยายตัว และ * คือ คาเฉลี่ย ที่มา:Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO), 2009 สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2552
  • 13. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  39 3.2.2 การสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังของไทยในตลาดอาเซียนและ ตลาดโลก การสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลัง10 ของไทยในตลาดอาเซียนในชวง 5 ปที่ ผานมาระหวางป 2547-2551 มีมูลคาการสงออกไมสูงมาก เมื่อเทียบกับการ สงออกไปยังตลาดโลก โดยประเทศในอาเซียนที่นําเขาจากไทยมากที่สุด คือ มาเลเซีย ซึ่งมีมูลคาการนําเขาเพิ่มขึ้นจาก 51.8 ลานบาทในป 2547 เปน 226.9 ลานบาทในป 2551 สวนประเทศอื่นๆ ก็นําเขาจากไทยบางแตมีมูลคาคอนขาง นอย และเมื่อพิจารณาจากอัตราการขยายตัวของการสงออก จะพบวาการสงออก ผลิตภัณฑมันสําปะหลังของไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลกเปนไปในทิศทาง เดียวกัน คือมีการหดตัวของการสงออกในป 2548 โดยตลาดอาเซียนขยายตัว ลดลงรอยละ 50.4 ในขณะที่ตลาดโลกขยายตัวลดลงรอยละ 15.0 และตอมาในป 2549-2551 การสงออกของไทยไปยังตลาดอาเซียนเริ่มมีอัตราการขยายตัวในการ สงออกเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง แตในตลาดโลกป 2551 มีอัตราการขยายตัวลดลงถึง รอยละ 17.7 (ตารางที่ 11) ตารางที่ 11 มูลคาการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังของไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก มูลคา (ลานบาท) อัตราขยายตัว (%) ประเทศ 2547 2548 2549 2550 2551 2548 2549 2550 2551 อินโดนีเซีย 1.0 - - - - - 100.0 - - - ฟลิปปนส 18.4 - 0.3 - - - - - 100.0 - สิงคโปร 18.3 44.3 13.9 - 0.3 142.1 - 68.6 - 100.0 100.0 พมา 0.4 - 0.1 1.1 1.3 - - 1,000.0 18.2 ลาว - 0.1 - 0.3 7.5 - - 100.0 - 2,400.0 มาเลเซีย 51.8 0.1 131.4 211.7 226.9 - 99.8 131,300.0 61.1 7.2 อาเซียน 89.9 44.6 145.7 213.1 236.0 - 50.4 226.7 46.3 10.7 โลก 15,034.1 12,778.0 17,213.8 19,313.7 15,889.5 - 15.0 34.7 12.2 - 17.7 ที่มา: ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย โดยความรวมมือจากกรมศุลกากร 2552 10 ผลิตภัณฑมันสําปะหลัง ประกอบดวย หัวมันสําปะหลัง มันสําปะหลังเสน มันสําปะหลังอัดเม็ด
  • 14. AEC Promt  40 3.2.3 การสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูปของไทยในตลาด อาเซียนและตลาดโลก สําหรับการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูป11 ของไทยในตลาด อาเซียน ในชวงป 2547 - 2551 จะเห็นไดวาป 2547 ไทยมีมูลคาการสงออกเพียง 3,092.1 ลานบาท แตในป 2551 มูลคาการสงออกเพิ่มขึ้นเปน 6,451.4 ลานบาท โดยประเทศที่นําเขาจากไทยมากที่สุด คือ อินโดนีเซีย รองลงมาไดแก มาเลเซีย สิงคโปร ฟลิปปนส เวียดนาม และลาว ตามลําดับ สวนพมา กัมพูชาและบรูไน มี มูลคาการนําเขาจากไทยคอนขางนอย และเมื่อพิจารณาจากภาพรวมอัตราการ ขยายตัวของการสงออก ในป 2550 ของตลาดอาเซียนพบวามีอัตราการขยายตัว ลดลงรอยละ 12.0 ในขณะที่ตลาดโลกมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง (ตารางที่ 12) ตารางที่ 12 มูลคาการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูปของไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก มูลคา (ลานบาท) อัตราขยายตัว (รอยละ) ประเทศ 2547 2548 2549 2550 2551 2548 2549 2550 2551 บรูไน 0.7 0.9 1.2 1.0 2.1 28.6 33.3 - 16.7 110.0 กัมพูชา 0.7 0.1 0.1 6.7 5.1 - 85.7 - 6,600.0 - 23.9 พมา 5.7 6.1 11.8 10.6 7.7 7.0 93.4 - 10.2 - 27.4 ลาว 32.0 42.7 32.8 42.6 44.0 33.4 - 23.2 29.9 3.3 เวียดนาม 122.4 68.1 95.2 79.1 95.4 - 44.4 39.8 - 16.9 20.6 ฟลิปปนส 409.5 442.0 433.2 489.0 581.8 7.9 - 2.0 12.9 19.0 สิงคโปร 550.6 732.5 899.0 983.3 962.2 33.0 22.7 9.4 - 2.1 มาเลเซีย 841.0 1,222.9 1,450.7 1,412.4 1,868.2 45.4 18.6 - 2.6 32.3 อินโดนีเซีย 1,129.4 1,880.7 4,215.3 3,256.1 2,884.9 66.5 124.1 - 22.8 - 11.4 อาเซียน 3,092.1 4,395.9 7,139.3 6,280.8 6,451.4 42.2 62.4 - 12.0 2.7 โลก 19,053.2 20,509.7 25,221.5 27,915.7 30,340.6 7.6 23.0 10.7 8.7 ที่มา: ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย โดยความรวมมือจากกรมศุลกากร 2552 11 ผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูป ประกอบดวย แปงมันสําปะหลัง แปงหยาบทําจากมันสําปะหลัง สตารชจากมันสําปะหลัง เด็กตริน และโมดิไฟดสตารชอื่นๆ สาคูทําจากมันสําปะหลัง
  • 15. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  41 3.2.4 ตําแหนงมันสําปะหลังของไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก (1) ตําแหนงผลิตภัณฑมันสําปะหลังของไทยในตลาดอาเซียน ในป 2547-2551 ไทยเปนประเทศผูสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังไปยัง ตลาดอาเซียนมากที่สุด โดยมีสวนแบงตลาดอยูระหวางรอยละ 68.6-95.7 รองลงมาคือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และเวียดนาม ตามลําดับ ถึงแมวาในป 2548 ไทยจะมีอัตราการขยายตัวในการสงออกลดลงมากถึงรอยละ 51.9 แตในปเดียวกัน นั้นประเทศอื่นๆ ในอาเซียนก็มีอัตราการขยายตัวลดลงเชนกัน ทําใหไมมีผลกระทบ ตอสวนแบงตลาดของไทยในอาเซียน -200.0 -100.0 0.0 100.0 200.0 300.0 400.0 -20.0 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 120.0 อัตราการขยายตัว(รอยละ) สวนแบงตลาด (รอยละ) บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พมา ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม 48 50 47 51 49 48 47 51 หมายเหตุ: ตัวเลขในรูปภาพแสดงถึงป พ.ศ. ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas, 2009 ภาพที่ 3 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลัง ของไทยในตลาดอาเซียน
  • 16. AEC Promt  42 (2) ตําแหนงผลิตภัณฑมันสําปะหลังของไทยในในตลาดโลก สวนแบงตลาดของผลิตภัณฑมันสําปะหลังไทยในตลาดโลก ไทยสามารถ ครองสวนแบงตลาดไวไดมากถึงรอยละ 72.0-87.6 ทิ้งหางคูแขงอยางคอสตาริกา เนเธอรแลนดและอินโดนีเซีย คอนขางมาก ถึงแมวาในป 2551 อัตราการขยายตัว ของไทยจะลดลงถึงรอยละ 17.3 ในขณะที่เนเธอรแลนด มีอัตราการขยายตัวในการ สงออกเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 65.8 และมีสวนแบงตลาดเพิ่มขึ้นจากรอยละ 6.6 ในป 2550 เปนรอยละ 11.9 ในป 2551 แตเมื่อเทียบกับไทยที่มีสวนแบงตลาดอยูที่ 72.0 แลวถือวายังอยูในระดับที่นอยกวามาก -200.0 -100.0 0.0 100.0 200.0 300.0 400.0 -20.0 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 120.0 อัตราการขยายตัว(รอยละ) สวนแบงตลาด (รอยละ) ไทย คอสตาริกา เนเธอรแลนด อินโดนีเซีย เอกวาดอร เบลเยี่ยม ไนจีเรีย บราซิล ศรีลังกา ฟลิปปนส 51 50 48 49 47 หมายเหตุ: ตัวเลขในรูปภาพแสดงถึงป พ.ศ. ขอมูลนี้ไมรวมประเทศเวียดนาม12 ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas, 2009 ภาพที่ 4 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลัง ของไทยในตลาดโลก 12 เนื่องจากไมพบขอมูลการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังของประเทศเวียดนาม แตเมื่อพิจารณาจากการนําเขาผลิตภัณฑมันสําปะหลังของจีนซึ่งเปน ตลาดสงออกหลักของเวียดนาม พบวา ป 2550 จีนนําเขาผลิตภัณฑมันสําปะหลังจากเวียดนาม 1.2 ลานตัน และในป 2551 นําเขากวา 6 แสนตัน เมื่อ นํามาเปรียบเทียบกับการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังจากทั่วโลกแลว ในป 2550-2551 เวียดนามมีปริมาณการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังเปน อันดับ 2 รองจากไทย
  • 17. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  43 (3) ตําแหนงผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูปของไทยในตลาดอาเซียน การสงออกมันสําปะหลังแปรรูปของไทยในตลาดอาเซียน โดยเฉลี่ยสวนแบง ตลาดของในชวงป 2547-2551 จะอยูที่รอยละ 79.0 ในขณะที่ประเทศที่สงออก เปนอันดับ 2 คือสิงคโปร โดยเฉลี่ยแลวมีสวนแบงตลาดอยูที่รอยละ 9.7 สวน อินโดนีเซียมีการขยายตัวของสวนแบงตลาดลดลงอยางตอเนื่อง ผิดกับเวียดนามที่ มีแนวโนมของอัตราการขยายตัวของตลาดเพิ่มขึ้นจากป 2547 ที่มีสวนแบงตลาด เพียงรอยละ 3.3 เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 8.1 ในป 2551 ซึ่งแมวามูลคาการสงออกของ เวียดนามจะนอยกวาไทยมาก แตก็นับวาเปนคูแขงที่นาจับตามองในอนาคต -200.0 -100.0 0.0 100.0 200.0 300.0 400.0 -20.0 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 120.0 อัตราการขยายตัว(รอยละ) สวนแบงตลาด (รอยละ) บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พมา ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม 51 49 48 50 47 51 49 48 47 หมายเหตุ: ตัวเลขในรูปภาพแสดงถึงป พ.ศ. ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas, 2009 ภาพที่ 5 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูป ของไทยในตลาดอาเซียน
  • 18. AEC Promt  44 (4) ตําแหนงผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูปของไทยในตลาดโลก เมื่อพิจารณาจากภาพรวมในป 2547-2551 จะเห็นวาไทยเปนผูสงออก ผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูปอันดับ 1 ของโลก รองลงมาเปนเนเธอรแลนด ฝรั่งเศส เยอรมัน และสหรัฐอเมริกา โดยไทยมีอัตราการขยายตัวของการสงออก อยางตอเนื่อง สงผลใหสวนแบงตลาดของไทยมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นตอเนื่องเชนกัน ซึ่งเห็นไดจากป 2547 ไทยมีสวนแบงตลาดรอยละ 22.3 แตในป 2551เพิ่มขึ้นเปน รอยละ 29.5 และเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบสวนแบงตลาดของไทยกับประเทศ คูแขง ในชวง 5 ปที่ผานมา พบวาโดยเฉลี่ยไทยมีสวนแบงตลาดรอยละ 23.7 เนเธอรแลนดรอยละ 14.5 ฝรั่งเศสรอยละ 12.0 เยอรมันรอยละ 11.0 และ สหรัฐอเมริการอยละ 11.4 -100.0 0.0 100.0 200.0 300.0 400.0 -5.0 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 อัตราการขยายตัว(รอยละ) สวนแบงตลาด (รอยละ) สหรัฐอเมริกา ไทย เนเธอรแลนด ฝรั่งเศส เยอรมัน จีน อิตาลี อังกฤษ บราซิล สิงคโปร 51 50 4950 51 49 51 51 หมายเหตุ: ตัวเลขในรูปภาพแสดงถึงป พ.ศ. ที่มา: คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas, 2009 ภาพที่ 6 สวนแบงตลาดและอัตราการขยายตัวของการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังแปรรูป ของไทยในตลาดโลก
  • 19. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  45 ขาวโพดเลี้ยงสัตว 3.3 การผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยกับประเทศในอาเซียน ขาวโพดเลี้ยงสัตว ถือเปนพืชอาหารสัตวที่นับวามีความสําคัญที่สุดในบรรดา พืชอาหารสัตวทั้งหมด คิดเปนสัดสวน 39.7 ของปริมาณการใชวัตถุดิบทั้งหมดใน การผลิตอาหารสัตวป 2552 (ตารางที่ 13) ขาวโพดเลี้ยงสัตวสวนใหญจะเปนการ ใชในประเทศมากกวาสงออกไปตางประเทศ โดยใชเปนวัตถุดิบปอนเขาสู โรงงานผลิตอาหารสัตวในประเทศ ซึ่งแนวโนมของความตองการใชขาวโพดเลี้ยง สัตวในประเทศไทยมีทิศทางเพิ่มขึ้น เนื่องจากจํานวนประชากรสัตว เชน ไกเนื้อ ไก ไข โคนม เปนตน มีจํานวนเพิ่มมากขึ้นในทุกๆ ป ซึ่งการเพิ่มขึ้นของปริมาณ ประชากรสัตวมีอัตราการขยายตัวมากกวาอัตราการขยายตัวของปริมาณการผลิต ขาวโพดเลี้ยงสัตว จึงสงผลใหในปจจุบันปริมาณการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวไม เพียงพอตอความตองการใชภายในประเทศ ถึงแมวาเนื้อที่การเพาะปลูกขาวโพด เลี้ยงสัตวและปริมาณผลผลิตจะเพิ่มขึ้นก็ตาม นอกจากนี้ในปจจุบันยังพบวาจํานวนครัวเรือนปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวมี แนวโนมลดลง จากเดิมในป 2549 มีจํานวน 320,615.0 ครัวเรือน ลดลงมาเปน 314,287 และ 308,671 ครัวเรือนในป 2551 และ 2552 ตามลําดับ เหตุที่เปนเชนนี้ สวนหนึ่งมาจากเกษตรกรเกรงจะประสบปญหาภัยแลง รวมทั้งตนทุนในการผลิต ขาวโพดเลี้ยงสัตวมีทิศทางเพิ่มขึ้น จาก 4.3 บาทตอกิโลกรัมในป 2549 เพิ่มขึ้น เปน 4.5 และ 6.0 บาทตอกิโลกรัมในป 2550 และ 2551 ทําใหเกษตรกร บางสวนเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ทนแลงไดมากกวาและใหผลตอบแทนที่ดีกวา
  • 20. AEC Promt  46 เชน มันสําปะหลัง เปนตน สําหรับสถานการณดานการผลิต การบริโภค รวมถึงการ สงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยและประเทศในอาเซียน แสดงไดดังนี้ ตารางที่ 13 ปริมาณอาหารสัตวและปริมาณการใชวัตถุดิบจําแนกตามประเภทของไทย ป 2552 หนวย: ตัน ประเภท อาหารสัตว ขาวโพด ปลาปน กากถั่วเหลือง ปลายขาว วัตถุดิบอื่นๆ ไกเนื้อ 3,558,298.0 2,206,144.5 106,748.9 1,067,489.3 - 177,915.3 ไกพอแมพันธุ 559,944.0 335,966.4 16,798.3 139,986.0 - 67,193.3 ไกไขเล็กรุน 663,650.0 398,190.0 19,909.5 165,912.5 - 79,638.0 ไกไขใหไข 1,482,000.0 815,100.0 74,100.0 370,500.0 - 222,300.0 ไกไขพอแมพันธุ 20,000.0 12,000.0 600.0 5,000.0 - 2,400.0 หมูขุน 3,009,000.0 752,250.0 90,270.0 601,800.0 601,800.0 962,880.0 หมูพันธุ 744,000.0 - 37,200.0 148,800.0 334,800.0 223,200.0 เปดเนื้อ 252,000.0 37,800.0 15,120.0 50,400.0 88,200.0 60,480.0 เปดพันธุ 21,900.0 2,190.0 1,314.0 6,570.0 9,855.0 1,971.0 เปดไข 130,000.0 - 10,400.0 19,500.0 52,000.0 48,100.0 โคนม 355,875.0 53,381.3 - 17,793.8 - 284,699.9 กุง 672,000.0 - 67,200.0 134,400.0 - 470,400.0 ปลา 581,800.0 174,540.0 116,360.0 174,540.0 - 116,360.0 รวม 12,050,467.0 4,787,562.2 556,020.7 2,902,691.6 1,086,655.0 2,717,537.5 สัดสวน (รอยละ) 100.0 39.7 4.6 24.1 9.0 22.6 ที่มา: สมาคมผูผลิตอาหารสัตวไทย 2552 3.3.1 การผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของประเทศไทยและประเทศใน อาเซียน การผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวในประเทศไทย แบงเปน 2 รุน คือ รุน 1 เกษตรกร เพาะปลูกตั้งแต 1 พฤษภาคม-31 ตุลาคม และรุน 2 ปลูกตั้งแต 1 พฤศจิกายน-30 เมษายนของปถัดไป ซึ่งการปลูกในรุน 1 นั้นมีพื้นที่ปลูกประมาณรอยละ 98.0 ของ พื้นที่ปลูกทั้งหมด และหากพิจารณาสถานการณการผลิตระหวางป 2543-2551 แลว พบวาเนื้อที่การเพาะปลูกมีทิศทางลดลงนับตั้งแตป 2543 จนกระทั่งในป 2551 เนื้อที่การเพาะปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวมีจํานวนเพิ่มขึ้นประมาณ 7 แสนไร
  • 21. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  47 (ตารางที่ 14) ซึ่งเปนผลมาจากราคาขาวโพดเลี้ยงสัตวที่เกษตรกรขายไดในป 2551 เพิ่มขึ้นเปน 7.1 บาทตอกิโลกรัม เนื่องจากการดําเนินนโยบายแทรกแซงจาก รัฐบาลโดยโครงการรับจํานําขาวโพดเลี้ยงสัตว (ตารางที่ 15) และจากผลของการ ลดพื้นที่ปลูกขางตนทําใหปริมาณผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวมีปริมาณลดลงดวย เชนกัน จากที่เคยผลิตได 4,462 พันตันในป 2543 ลดลงเหลือ 4,249.4 พันตันในป 2551 คิดเปนปริมาณลดลงเทากับ 367.6 พันตัน สําหรับปริมาณผลผลิตขาวโพด เลี้ยงสัตวตอไรนั้น พบวามีแนวโนมเพิ่มขึ้นทุกๆ ป เนื่องจากสภาพอากาศที่ เอื้ออํานวยตอการผลิต และขาวโพดไดรับน้ําฝนในปริมาณที่เพียงพอตอการ เจริญเติบโต ตารางที่ 14 เนื้อที่ใหผลผลิต เนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิตตอไร และปริมาณผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทย ป 2543-2551 ป เนื้อที่เพาะปลูก (พันไร) เนื้อที่เก็บเกี่ยว (พันไร) ผลผลิตตอไร (กิโลกรัม) ผลผลิต (พันตัน) 2543 7,802.0 7,594.0 588.0 4,462.0 2544 7,685.0 7,474.0 598.0 4,466.0 2545 7,317.0 7,167.0 590.0 4,230.0 2546 6,943.0 6,774.0 617.0 4,178.0 2547 7,040.0 6,810.0 619.0 4,216.0 2548 6,626.0 6,436.0 613.0 3,943.0 2549 6,040.0 5,871.0 633.0 3,716.0 2550 5,961.0 5,797.0 632.0 3,661.0 2551 6,691.8 6,517.7 652.0 4,249.4 ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2552 ตารางที่ 15 ราคาขาวโพดเลี้ยงสัตวความชื้นนอยกวา14% ที่เกษตรกรขายได ป 2547-2552 (ม.ค.-ส.ค.) หนวย: บาท/กิโลกรัม ป 2547 2548 2549 2550 2551 2552 (ม.ค.-ส.ค.) ราคาขาวโพดเลี้ยงสัตวความชื้นนอยกวา 14% ที่เกษตรกรขายได* 4.5 4.8 5.4 6.8 7.1 5.5 ราคาที่โรงงานอาหารสัตวรับซื้อ 5.3 5.7 7.0 8.4 8.1 6.1 ราคาซื้อขายลวงหนาตลาดชิคาโก 3.3 3.5 4.8 6.1 6.0 4.3 ที่มา: * สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2552
  • 22. AEC Promt  48 เมื่อพิจารณาดานการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของประเทศอาเซียนแลว พบวา อินโดนีเซียเปนผูผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวมากเปนอันดับ 1 ของอาเซียน รองลงมาคือ ฟลิปปนส เวียดนาม และไทยเปนอันดับที่ 4 แตหากเปรียบเทียบปริมาณผลผลิต ตอไรของทั้ง 4 ประเทศแลว ไทยมาเปนอันดับ 1 ซึ่งสามารถปลูกไดถึง 652.0 กิโลกรัมตอไรในป 2551 ในขณะที่อินโดนีเซียมีผลผลิตตอไรประมาณ 500.0 กิโลกรัมตอไร และฟลิปปนสประมาณ 400.0 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 16) ตารางที่ 16 เนื้อที่ใหผลผลิต ผลผลิตตอไร และปริมาณผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยและประเทศในอาเซียน ป 2549-2551 เนื้อที่ใหผลผลิต (พันไร) ผลผลิตตอไร (กิโลกรัม) ผลผลิต (พันตัน) ประเทศ 2549 2550 2551 2549 2550 2551 2549 2550 2551 รวมทั้งโลก 925,434.4 987,712.7 n/a 763.1 801.6 n/a 706,193.9 791,794.6 n/a กัมพูชา 658.1 887.5 n/a 572.8 589.3 n/a 376.9 523.0 n/a อินโดนีเซีย 20,911.3 22,689.5 n/a 555.2 585.6 n/a 11,609.5 13,287.5 n/a ลาว 711.3 964.1 n/a 632.5 716.5 n/a 449.9 690.8 n/a มาเลเซีย 156.3 162.5 n/a 512.0 510.8 n/a 80.0 83.0 n/a พมา 1,718.8 1,706.3 n/a 552.7 462.4 n/a 950.0 789.0 n/a ฟลิปปนส 16,066.7 16,552.0 n/a 378.6 407.0 n/a 6,082.1 6,736.9 n/a ไทย 5,871.3 5,796.9 6,517.7 632.9 631.6 652.0 3,716.2 3,661.3 4,249.4 เวียดนาม 6,456.9 6,674.4 n/a 597.0 615.4 n/a 3,854.5 4,107.5 n/a อาเซียน 52,550.7 55,433.1 n/a 516.1 539.0 n/a 27,119.2 29,879.1 n/a ประเทศอื่นๆ 872,883.7 932,279.5 n/a 778.0 817.3 n/a 679,074.7 761,915.5 n/a ที่มา:Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO), 2009 สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2552 3.3.2 การใชขาวโพดเลี้ยงสัตวในประเทศของไทยและประเทศ ในอาเซียน จากการที่ขาวโพดเลี้ยงสัตวถือวาเปนวัตถุดิบสําคัญชนิดหนึ่งในการผลิต อาหารสัตวนั้น จึงทําใหสวนใหญแลวปริมาณความตองการใชขาวโพดเลี้ยงสัตวจะ เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกันกับปริมาณความตองการเนื้อสัตว นั่นคือ
  • 23. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  49 หากปริมาณความตองการเนื้อไกเพิ่มขึ้น สงออกไดมากขึ้น ก็ยอมทําใหปริมาณ ความตองการขาวโพดเพิ่มขึ้นตามไปดวยนั่นเอง ดังจะเห็นไดจากตารางที่ 17 ที่ แสดงจํานวนประชากรสัตวและปริมาณการใชขาวโพดเพื่อผลิตเปนอาหารสัตว ระหวาง ป 2549-2552 สวนใหญมีทิศทางเดียวกัน โดยสัตวที่มีจํานวนประชากร มากที่สุดคือไกเนื้อ จะเห็นวาในป 2549 ไกเนื้อมีจํานวน 858.0 ลานตัว ลดลงเปน 812.0 ลานตัวในป 2550 จึงทําใหปริมาณการใชขาวโพดเลี้ยงสัตวเพื่อผลิตอาหาร ไกลดลงตามไปดวย สําหรับปริมาณการใชขาวโพดเลี้ยงสัตวของประเทศอาเซียนจากขอมูลของ กระทรวงการตางประเทศของสหรัฐอเมริกา หรือ (United States Department of Agriculture : USDA) และขอมูลของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรดังแสดงไวใน ตารางที่ 18 พบวาประเทศอินโดนีเซียที่เปนประเทศผูผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวอันดับ 1 ของอาเซียน สวนใหญผลผลิตที่ไดถูกใชภายในประเทศเปนหลักและมีปริมาณ เพิ่มขึ้นทุกป โดยในป 2551 มีปริมาณการใชในประเทศมากถึง 8,800 พันตัน และ เพิ่มขึ้นเปน 9,100 พันตัน ในป 2552 (ม.ค.-ส.ค.) ประเทศที่มีการบริโภคใน ประเทศมากเปนอันดับ 2 และ 3 คือ ฟลิปปนสและเวียดนาม ซึ่งทั้ง 2 ประเทศก็ เปนเชนเดียวกับอินโดนีเซียที่ผลผลิตถูกใชไปในประเทศเปนหลัก
  • 24. AEC Promt  50 ตารางที่ 17 ประชากรสัตวและปริมาณการใชขาวโพดเลี้ยงสัตวเพื่อเปนวัตถุดิบผลิตอาหารสัตวของไทย ป 2549-2552 ประเภท 2549 2550 2551 2552 ไกเนื้อ (ลานตัว) 858.0 812.0 924.0 899.0 ขาวโพดเลี้ยงสัตว(ตัน) 2,223,592.8 1,793,641.4 1,930,376.4 2,206,144.5 ไกพอแมพันธุ (ลานตัว) 10.6 10.0 11.4 11.1 ขาวโพดเลี้ยงสัตว(ตัน) 334,454.4 273,248.6 293,932.8 335,966.4 ไกไขเล็กรุน (ลานตัว) 30.6 30.6 30.6 30.6 ขาวโพดเลี้ยงสัตว(ตัน) 416,000.0 358,371.0 358,371.0 398,190.0 ไกไขใหไข (ลานตัว) 37.1 37.1 40.1 37.1 ขาวโพดเลี้ยงสัตว(ตัน) 792,000.0 733,590.0 733,590.0 815,100.0 สุกรขุน (ลานตัว) 12.1 13.2 11.1 10.2 ขาวโพดเลี้ยงสัตว(ตัน) 767,000.0 878,141.3 833,670.0 752,250.0 เปดเนื้อ (ลานตัว) 23.9 25.1 30.0 30.0 ขาวโพดเลี้ยงสัตว(ตัน) 23,940.0 28,486.1 28,486.1 37,800.0 โคนม (ตัว) 350,000.0 315,000.0 325,000.0 325,000.0 ขาวโพดเลี้ยงสัตว(ตัน) 65,700.0 46,564.9 48,043.1 53,381.3 ที่มา: ฝายวิชาการ ฝายการตลาด สมาคมผูผลิตอาหารสัตวไทย 2552 ตารางที่ 18 ปริมาณการใชขาวโพดเลี้ยงสัตวของประเทศในอาเซียน ป 2548-2552 ปริมาณการใชในประเทศ (พันตัน) ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552 (มค.-สค.) อินโดนีเซีย* 8,300.0 8,100.0 8,500.0 8,800.0 9,100.0 ฟลิปปนส* 5,800.0 6,550.0 7,150.0 7,300.0 7,400.0 เวียดนาม* 4,250.0 4,900.0 5,200.0 5,200.0 5,500.0 ไทย** 3,720.0 3,660.0 3,840.0 3,820.0 ที่มา: * Foreign Agricultural Service, United States Department of Agriculture (USDA), 2009 ** สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2552 3.3.3 การสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวของประเทศไทยและประเทศใน อาเซียน การสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยมูลคามากกวารอยละ 90.0 เปน การสงออกไปยังตลาดอาเซียน ซึ่งจากตารางที่ 19 ไดแสดงประเทศอาเซียน
  • 25. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  51 ที่ไทยสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวไปมากที่สุดในป 2551 คือ มาเลเซีย มีมูลคาถึง 3,856.1 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 58.6 ของการสงออกไปอาเซียน และรอย ละ 53.6 ของการสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวทั้งหมดของไทย รองลงมาคือ อินโดนีเซียที่แมประเทศนี้จะสามารถผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวไดเปนปริมาณมาก แต ยังไมเพียงพอตอความตองการใชในประเทศ จึงมีการนําเขาจากประเทศไทย 1,184.2 ลานบาทในป 2551 สําหรับเวียดนามนั้นเคยเปนประเทศที่ไทยสงออกไป มากเปนอันดับ 1 โดยในป 2549-2550 ไทยสามารถสงออกไดถึง 1,006.4 และ 1,497.6 ลานบาท ตารางที่ 19 มูลคาการสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยในตลาดอาเซียน ป 2549-2552 (ม.ค.-ส.ค.) มูลคา (ลานบาท) อัตราขยายตัว (รอยละ) รายการ 2549 2550 2551 2551 (ม.ค.-ส.ค.) 2552 (ม.ค.-ส.ค.) 2549 2550 2551 2551 (ม.ค.-ส.ค.) 2552 (ม.ค.-ส.ค.) มาเลเซีย 329.7 1,006.2 3,856.1 3,010.1 933.7 227.4 205.2 283.2 529.6 - 69.0 อินโดนีเซีย 725.5 559.9 1,184.2 757.5 904.2 352.1 - 22.8 111.5 169.0 19.4 เวียดนาม 1,006.4 1,497.6 1,107.1 811.4 747.9 131.7 48.8 - 26.1 - 3.9 - 7.8 ฟลิปปนส 116.1 155.9 169.8 128.3 463.1 - 38.5 34.3 8.9 22.7 260.8 กัมพูชา 50.1 87.3 98.7 84.0 84.6 70.4 74.1 13.1 10.9 0.8 ลาว 59.9 52.8 91.2 91.1 81.4 3,118.6 - 11.9 72.8 80.6 - 10.6 สิงคโปร 1.7 0.1 41.2 30.0 48.3 - 90.4 - 92.6 31,842.2 24,479.3 61.0 พมา 76.6 10.2 29.1 28.6 30.5 421.0 - 86.6 185.0 2,645.1 6.6 สิงคโปร - - - - - - - - - - อาเซียนรวม 2,365.9 3,369.9 6,577.5 4,941.0 3,293.7 147.9 42.4 95.2 - - 33.3 ประเทศอื่นๆ 222.7 160.0 611.3 156.6 191.3 66.6 - 28.1 282.0 - 22.2 รวม 2,588.7 3,530.0 7,188.8 5,097.5 3,485.1 137.9 36.4 103.7 - - 31.6 ที่มา: ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย โดยความรวมมือจากกรมศุลกากร 2552 นอกจากนี้เมื่อพิจารณาปริมาณและมูลคาการสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวของ ประเทศอาเซียนดวยแลว จะเห็นวาประเทศไทยเปนประเทศผูสงออกมาก ที่สุดของภูมิภาคอาเซียน มีปริมาณ 375.8 พันตัน ในป 2550 เพิ่มขึ้นจากป 2549
  • 26. AEC Promt  52 ที่เคยสงออกได 306.3 พันตัน รองลงมาคือพมา มีปริมาณการสงออก 159.6 พันตัน ในป 2550 สวนอันดับที่ 3 คืออินโดนีเซียที่มีการสงออกผลผลิตเปนปริมาณ 101.7 พันตัน ในป 2550 (ตารางที่ 20) ตารางที่ 20 ปริมาณและมูลคาการสงออกขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทยและประเทศอาเซียนไปยังตลาดโลก ป 2547-2550 ปริมาณ (พันตัน) มูลคา (ลานบาท) รายการ 2547 2548 2549 2550 2547 2548 2549 2550 โลก 82,688.2 90,419.4 95,425.3 109,684.2 470,803.5 451,146.8 502,667.4 719,574.5 บรูไน 0.0 - - - 0.1 - - - กัมพูชา 64.3 22.8 32.6 80.4 149.5 64.4 93.3 232.2 อินโดนีเซีย 32.7 54.0 28.1 101.7 365.4 364.4 163.3 639.5 ลาว 34.7 47.1 127.0 22.9 89.5 111.7 338.7 266.3 มาเลเซีย 6.1 4.2 11.1 1.2 65.5 39.1 86.9 19.9 พมา 254.8 60.2 64.3 159.6 1,158.2 297.1 338.9 876.9 ฟลิปปนส 0.1 0.3 0.6 0.7 7.6 9.6 31.7 22.7 สิงคโปร 2.7 1.8 0.4 0.6 16.0 11.5 4.0 5.7 ไทย 951.3 70.4 306.3 375.8 5,630.3 1,088.1 2,588.7 3,530.0 เวียดนาม 80.0 2.5 1.1 0.2 519.3 28.0 11.5 7.6 อาเซียน 1,426.8 263.4 571.3 743.1 8,001.4 2,038.3 3,677.5 5,637.0 ที่มา:Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO), 2009
  • 27. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  53 ถั่วเหลือง 3.4 การผลิตถั่วเหลืองไทยกับประเทศในอาเซียน ถั่วเหลืองเปนพืชมีคุณคาทางโภชนาการ มีสารอาหารหลายประเภทที่เปน ประโยชนตอสุขภาพ และชวยปองกันโรค ไดแก โปรตีน ไขมัน คารโบรไฮเดรท แคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามิน และเลซิทีน เปนตน ซึ่งมีประโยชนตอมนุษยและสัตว มากมาย คือ 1) ใชเปนอาหารที่บริโภคไดโดยตรง ทั้งการตมหรือที่เรียกวา ถั่วแระ การบริโภคเปนถั่วเหลืองฝกสดหรือบรรจุกระปอง และแปรรูปเปนผลิตภัณฑอาหาร ไดแก ถั่วงอกเตาเจี้ยวเตาหู ซีอิ้วนมถั่วเหลืองโปรตีนเกษตร แปงถั่วเหลือง และกาแฟ ถั่วเหลือง เปนตน 2) ใชในอุตสาหกรรมการสกัดน้ํามัน ทําใหไดผลิตภัณฑตางๆ คือ น้ํามันถั่วเหลืองที่ใชสําหรับปรุงอาหาร และอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารอื่นๆ ที่เปนการ เพิ่มคุณสมบัติใหถั่วเหลือง เชน เนยเทียมหรือมาการีน น้ําสลัด น้ําพริกเผา ปลาทูนา กระปอง กาว สี ปุย วิตามินยา กระดาษ ผาฉนวนไฟฟาหมึกพิมพ สบู เครื่องสําอาง เบียร เสนใย เปนตน นอกจากนั้นยังมีกากถั่วเหลือง ที่เปนแหลงโปรตีนสําหรับ อุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตว อุตสาหกรรมการผลิตปศุสัตวทั้งเพื่อบริโภค ภายในประเทศและสงออก3) ใชในอุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตว โดยการนําเมล็ดถั่ว เหลืองแปรรูปเปนถั่วเหลืองนึ่ง (Full Fat Soy) ใชผสมอาหารสัตว 4) ใชทําปุยหรือ บํารุงดิน โดยไถกลบถั่วเหลืองลงไปในดินจะเปนปุยพืชสด ทําใหดินมีความอุดม สมบูรณ และมีคุณสมบัติดีขึ้น ที่รากของถั่วเหลืองจะมีปมซึ่งมีเชื้อแบคทีเรีย ไรโซเบียมที่สามารถดูดไนโตรเจนใหมาอยูในรูปของสารประกอบซึ่งพืชสามารถ ใชเปนปุยได เมื่อเก็บถั่วแลว ใบ ลําตน เปลือก ไถกลบลงสูดิน รวมทั้งราก
  • 28. AEC Promt  54 และปมที่ตกคางอยูในดินจะกลายเปนปุยอินทรียที่ดีของพืชชนิดอื่นที่จะปลูกตอไป สําหรับเปลือกสามารถนํามาใชเพาะเห็ดได เรียกวาเห็ดถั่วเหลือง ปจจุบันการผลิตถั่วเหลืองของประเทศไทยยังไมเพียงพอตอความตองการใช ในประเทศ จึงทําใหตองนําเขามาจากตางประเทศเปนจํานวนมาก ซึ่งรายละเอียด เพิ่มเติมของการผลิต การใชในประเทศ การสงออกและตําแหนงตลาดของถั่ว เหลืองแสดงไดดังนี้ 3.4.1 การผลิตถั่วเหลืองของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน การเพาะปลูกถั่วเหลืองในประเทศไทยเริ่มมาตั้งแตป 2526 เนื่องจากมีการ เติบโตของการสงออกเนื้อไก ทําใหปริมาณการผลิตอาหารสัตวเพิ่มขึ้น รวมทั้งมี การกําหนดนโยบายและมาตรการควบคุมการนําเขาเมล็ดถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ จึงทําใหราคาถั่วเหลืองในประเทศอยูในระดับดีเปนที่พอใจและจูงใจใหเกษตรกร หันมาปลูกถั่วเหลืองกันมากขึ้น โดยมีแหลงผลิตที่สําคัญ คือ จังหวัดเชียงใหม แพร ชัยภูมิ เลย และแมฮองสอน จะเห็นวาแหลงผลิตสวนใหญเปนที่ที่มีอากาศคอนขาง เย็นซึ่งเปนสภาพอากาศที่เหมาะสมในการปลูกถั่วเหลืองนั่นเอง สําหรับแนวโนมของการปลูกถั่วเหลืองในประเทศไทยนั้น มีแนวโนมลดลง เรื่อยมา ซึ่งจากขอมูลที่แสดงไวในตารางที่ 21 จะเห็นวาในป 2549 มีพื้นที่ให ผลผลิต 860.3 พันไร แตในปถัดมาคือ ป 2550 และ 2551 มีเนื้อที่ใหผลผลิตถั่ว เหลืองลดลงเหลือ 805.5 และ 798.7 พันไรตามลําดับ ซึ่งเปนผลใหปริมาณ ผลผลิตถั่วเหลืองลดลงตามไปดวย นั่นคือในป 2551 มีปริมาณผลผลิตถั่วเหลือง 198.0 พันตัน ซึ่งลดลงจากปกอนหนา 6.0 พันตัน และเมื่อพิจารณา เปรียบเทียบการผลิตถั่วเหลืองของไทยกับอาเซียนแลว พบวาประเทศในอาเซียน
  • 29. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  55 ที่เปนผูผลิตถั่วเหลืองรายใหญ คือ อินโดนีเซีย มีเนื้อที่ใหผลผลิต 2,869.5 พันไร คิดเปนปริมาณผลผลิต 592.6 พันตัน ในป 2550 รองลงมาเปนเวียดนาม สวนไทย อยูในอันดับที่ 3 แตทั้งนี้หากเปรียบเทียบปริมาณผลผลิตตอไรของแตละประเทศ แลว จะเห็นวาไทยเปนอันดับที่ 1 มีผลผลิตตอไรในป 2550 เทากับ 253.2 กิโลกรัม และลดลงเล็กนอยในป 2551 เปนเทากับ 248.0 กิโลกรัมตอไร ตารางที่ 21 เนื้อที่ใหผลผลิต ผลผลิตตอไร และปริมาณผลผลิตถั่วเหลืองของไทยและประเทศในอาเซียน ป 2549-2551 เนื้อที่ใหผลผลิต (พันไร) ผลผลิตตอไร (กิโลกรัม) ผลผลิต (พันตัน) ประเทศ 2549 2550 2551 2549 2550 2551 2549 2550 2551 รวมทั้งโลก 593,361.4 563,747.7 n/a 367.8 391.2 n/a 218,232.7 220,532.6 n/a กัมพูชา 402.4 475.0 n/a 244.3 246.3 n/a 98.3 117.0 n/a อินโดนีเซีย 3,628.3 2,869.5 n/a 206.0 206.5 n/a 747.6 592.6 n/a ลาว 55.8 50.3 n/a 214.4 208.1 n/a 12.0 10.5 n/a มาเลเซีย - - n/a - - n/a - - n/a พมา 762.5 768.8 n/a 157.4 158.7 n/a 120.0 122.0 n/a ฟลิปปนส 4.9 3.9 n/a 213.2 248.1 n/a 1.1 1.0 n/a ไทย 860.3 805.5 798.7 249.7 253.2 248.0 214.8 204.0 198.0 เวียดนาม 1,160.0 1,188.1 n/a 222.5 231.9 n/a 258.1 275.5 n/a อาเซียน 6,874.2 6,161.0 n/a 211.2 214.7 n/a 1,451.8 1,322.5 n/a ประเทศอื่นๆ 586,487.2 557,586.7 n/a 369.6 393.1 n/a 216,780.9 219,210.1 n/a ที่มา:* องคการอาหารและการเกษตรแหงสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations: FAO), 2009 3.4.2 การบริโภคถั่วเหลืองของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน ปริมาณความตองการใชถั่วเหลืองในประเทศในปจจุบันเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่ง เปนผลมาจากประชากรเพิ่มขึ้นจึงมีความตองการอาหารมากขึ้น ทั้งอาหารที่ทํา จากถั่วเหลือง และอาหารที่ทําจากเนื้อสัตว โดยเฉพาะเนื้อไกและเนื้อหมู ซึ่งจาก ตารางที่ 22 ที่แสดงปริมาณประชากรสัตวและปริมาณการใชกากถั่วเหลืองระหวาง ป 2549-2552 พบวากากถั่วเหลืองเปนวัตถุดิบที่ใชผลิตอาหารสัตวสําหรับไกเนื้อ มากที่สุด โดยในป 2549 กากถั่วเหลืองถูกใชไปเพื่อผลิตอาหารสัตวสําหรับไกเนื้อ
  • 30. AEC Promt  56 1,019.3 พันตัน และลดลงมาเปน 713.3 พันตันในป 2552 รองลงมาเปนการใช เพื่อเลี้ยงสุกรขุน เมื่อพิจารณาปริมาณความตองการใชในประเทศของไทยกับประเทศอาเซียน แลว พบวาไทยเปนประเทศที่มีปริมาณการใชในประเทศสูงกวาประเทศอินโดนีเซีย และเวียดนาม จากขอมูลของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา ตามที่แสดงในตารางที่ 23 พบวาในป 2551 ไทยมีปริมาณการใชถั่วเหลือง 3,225.0 พันตัน ซึ่งลดลงจากป 2550 เทากับ 3.0 พันตัน อันดับ 2 รองจากไทยคืออินโดนีเซีย และเวียดนาม มี ปริมาณการใชในป 2551 เทากับ 2,444.0 และ 2,300.0 พันตันตามลําดับ และมี ทิศทางที่ประเทศทั้ง 2 จะใชบริโภคในประเทศเพิ่มขึ้นอีกเรื่อยๆ เชนเดียวกับไทย ตารางที่ 22 ประชากรสัตวและปริมาณการใชกากถั่วเหลืองเพื่อเปนวัตถุดิบผลิตอาหารสัตวของไทย ป 2549-2552 ประเภท 2549 2550 2551 2552 ไกเนื้อ (ลานตัว) 858.0 812.0 924.0 899.0 กากถั่วเหลือง (พันตัน) 1,019.3 964.3 1,097.1 1,067.5 ไกพอแมพันธุ (ลานตัว) 10.6 10.0 11.4 11.1 กากถั่วเหลือง (พันตัน) 133.8 126.5 143.9 140.0 ไกไขเล็กรุน (ลานตัว) 30.6 30.6 30.6 30.6 กากถั่วเหลือง (พันตัน) 165.9 165.9 165.9 165.9 ไกไขใหไข (ลานตัว) 37.1 37.1 40.1 37.1 กากถั่วเหลือง (พันตัน) 370.5 370.5 400.8 370.5 สุกรขุน (ลานตัว) 12.1 13.2 11.1 10.2 กากถั่วเหลือง (พันตัน) 713.3 780.6 651.9 601.8 เปดเนื้อ (ลานตัว) 23.9 25.1 30.0 30.0 กากถั่วเหลือง (พันตัน) 40.2 42.2 50.4 50.4 โคนม (พันตัว) 350.0 315.0 325.0 325.0 กากถั่วเหลือง (พันตัน) 19.1 17.2 17.8 17.8 ที่มา: ฝายวิชาการ ฝายการตลาด สมาคมผูผลิตอาหารสัตวไทย 2552