SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 132
ชื่อเรื่อง	 รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
ในประเทศไทย ปี 2559
Thailand Internet User Profile 2016
จัดทำ�โดย	 สำ�นักยุทธศาสตร์
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
(องค์การมหาชน)
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ISBN	 ISBN 978-974-9765-74-6
พิมพ์ครั้งที่ 1	 สิงหาคม 2559
พิมพ์จำ�นวน	 2,000 เล่ม
ราคา	 200 บาท
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ.
เป็นองค์กรของรัฐที่ท�ำหน้าที่พัฒนา ส่งเสริม
และสนับสนุนการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ
มีการบริหารจัดการและกำ�หนดนโยบายโดยคณะกรรมการบริหาร
รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559
Thailand Internet User Profile 2016
4
ดร.อุตตม สาวนายน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การจะเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่
เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม หรือ
Thailand 4.0 ต้องพึ่งพิงข้อมูล
ที่สะท้อนความต้องการของผู้บริโภค
ได้อย่างถูกต้อง ใกล้เคียงความเป็นจริง
ผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
จึงถือเป็นข้อมูลชิ้นสำ�คัญ
ที่จะช่วยเพิ่มความได้เปรียบในเชิงการแข่งขัน
ให้แก่ภาคการผลิตและภาคธุรกิจ
รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559
Thailand Internet User Profile 2016
6
ทรงพร โกมลสุรเดช
ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
พฤติกรรมการใช้ Internet
ของคนไทย เป็นสิ่งที่กระทรวง ICT
ให้ความสำ�คัญ เพราะสะท้อนว่า
วันนี้ เราอยู่ตรงไหน...
ยุทธศาสตร์ตอบโจทย์ และ
ความต้องการของสังคมได้อย่างไร...
ในวันที่สังคมไทยต้องเตรียมพร้อม
ก้าวกระโดดรับเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล
เพื่อเป็น Thailand 4.0 เต็มรูปแบบ
รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559
Thailand Internet User Profile 2016
8
(สุรางคณา วายุภาพ)
ผู้อ�ำนวยการ
ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทคและการสื่อสาร
พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต
มีความน่าสนใจ
ตัวเลขที่สำ�รวจแต่ละปี
สะท้อนปรากฏการณ์ทางสังคม
จำ�เป็นสำ�หรับการกำ�หนด ”นโยบาย”
หรือ ”ยุทธศาสตร์” ของรัฐ
และจำ�เป็นสำ�หรับ
“การปรับตัวของภาคธุรกิจ”
ให้เหมาะกับ Lifestyle
ที่เปลี่ยนไปในแต่ละปี
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 9
รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559
Thailand Internet User Profile 2016
10
คำ�นำ�
ในการก�ำหนดนโยบายด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (Digital
Economy) เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการวางแผนระดับชาติ/ระดับหน่วยงาน และสามารถ
ตอบโจทย์/ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริงนั้น จ�ำเป็นที่จะต้องมี
ข้อมูลส่วนหนึ่งเพื่อใช้สะท้อนภาพของพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตจากภาคประชาชน
ทุกกลุ่ม และข้อมูลดังกล่าวควรจะมีการจัดท�ำอย่างต่อเนื่องเป็นประจ�ำทุกปี เพื่อให้เห็น
ทิศทางการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งแนวโน้มของการใช้งานอินเทอร์เน็ตและพฤติกรรมของ
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
นอกจากนี้ข้อมูลดังกล่าวยังสามารถน�ำไปใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นที่ส�ำคัญส�ำหรับ
ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์รายใหม่ที่สนใจจะเข้ามาท�ำธุรกิจนี้หรือผู้ที่ประกอบ
ธุรกิจออนไลน์อยู่แล้ว ได้ท�ำความเข้าใจในลักษณะการใช้งานและพฤติกรรมของผู้ใช้
อินเทอร์เน็ต เพื่อจะได้ก�ำหนดกลยุทธ์/วางแผนการตลาดให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย
รวมถึงภาครัฐจะได้น�ำข้อมูลไปใช้ก�ำหนดนโยบายเพื่อผลักดันให้การใช้อินเทอร์เน็ต
เป็นไปอย่างแพร่หลายและเหมาะสม
ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. ซึ่ง
มีภารกิจหลักในการพัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของ
ประเทศ ร่วมผลักดันโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้อต่อการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และ
สนับสนุนธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนการมีมาตรฐาน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีความมั่นคงปลอดภัยและน่าเชื่อถือ
สพธอ. ได้เห็นถึงความส�ำคัญในการจัดเก็บข้อมูลพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จึงได้
ริเริ่มให้มีโครงการส�ำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยขึ้นมานับตั้งแต่ปี
พ.ศ. 2556 และจัดท�ำการส�ำรวจนี้เป็นประจ�ำอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
จัดเก็บข้อมูลลักษณะของผู้ใช้งานและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยไว้เป็น
ฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ อันน�ำไปสู่การก�ำหนดยุทธศาสตร์ที่จ�ำเป็นต่อไป
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 11
ในรายงานฉบับนี้จะน�ำเสนอผลการส�ำรวจโดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลัก ๆ ได้แก่
ส่วนแรก เป็นการส�ำรวจพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต และส่วนที่ 2 เป็นการส�ำรวจเรื่อง
ที่ก�ำลังได้รับความสนใจอยู่ในช่วงที่ท�ำการส�ำรวจ ข้อค�ำถามจึงมีการปรับเปลี่ยนไปทุกปี
โดยในปีนี้เป็นการส�ำรวจว่าเมื่อเทคโนโลยี 4G เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการในปีนี้แล้ว
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมีความคิดเห็นเป็นเช่นไรกับการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวท�ำกิจกรรมต่าง ๆ
ผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นการส�ำรวจในมิติของปริมาณการใช้งาน ความ
คิดเห็นที่มีต่อความเร็วในการท�ำกิจกรรมแต่ละประเภท รวมทั้งปัญหาที่ประสบกันอยู่ใน
ขณะนี้ เป็นต้น
อนึ่ง การส�ำรวจครั้งนี้เป็นการส�ำรวจผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยผู้ตอบต้องเป็นผู้ที่
พักอาศัยในประเทศไทยเท่านั้น ในการตอบแบบส�ำรวจเป็นการเข้ามาตอบด้วยความ
สมัครใจ (Self-Selection) แม้ว่าโดยระเบียบวิธีทางวิชาการทางสถิติ ข้อมูลที่ประมวล
ผลได้ไม่ถือว่าเป็นตัวแทนของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั้งประเทศไทย แต่เนื่องจากมีผู้ให้ความ
ร่วมมือเข้ามาตอบแบบส�ำรวจครั้งนี้มากถึง 16,661 คน และการประมวลผลข้อมูลมีการ
ถ่วงน�้ำหนักตามโครงสร้างอายุและพื้นที่พักอาศัยของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั้งสิ้นในประเทศไทย
โดยโครงสร้างดังกล่าวมาจากการส�ำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ในครัวเรือน ปี 2557 ซึ่งจัดท�ำโดยส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ ผลการส�ำรวจจึงถือว่ามีความ
น่าเชื่อถือได้ในระดับหนึ่ง
นอกจากนี้ในการประมวลผลและวิเคราะห์ผลยังมีการจัดตั้งคณะท�ำงานซึ่งมาจาก
หน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์สอดคล้องกับการด�ำเนินการส�ำรวจครั้ง
นี้ เพื่อให้ผลการส�ำรวจครั้งนี้มีความถูกต้องแม่นย�ำตามหลักวิชาการ
การส�ำรวจครั้งนี้ได้รับความอนุเคราะห์เป็นอย่างดีจากหน่วยงานภาครัฐและภาค
เอกชนในการประชาสัมพันธ์ติดป้ายประกาศ (Banner) เชิญชวนให้มีผู้เข้ามาตอบแบบ
ส�ำรวจจากเว็บไซต์หลายแห่ง รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้เจ้าหน้าที่/พนักงานภายใต้
สังกัดหน่วยงานได้ร่วมตอบแบบส�ำรวจฯ นี้ด้วย ดังมีรายชื่อในภาคผนวกท้ายเล่ม สพธอ.
รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559
Thailand Internet User Profile 2016
12
จึงขอขอบพระคุณหน่วยงานดังกล่าวไว้ ณ ที่นี้ และหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์
กับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะกลุ่มผู้ประกอบการพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ และผู้ที่สนใจโดยทั่วไป
สุรางคณา วายุภาพ
ผู้อ�ำนวยการ
ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
(องค์การมหาชน)
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สิงหาคม 2559
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 13
Gen Z
Gen Y
Gen X
Baby Boomer
(Awareness)
Lifestyle
1
100%
. . 2544
. . 2524–2543
. . 2508–2523
. . 2489–2507
6.2
/
( 2558 5.7 / )
1
2
3
4
5
6
7 5 & 6
” ”
รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559
Thailand Internet User Profile 2016
14
สารบัญ
คำ�นำ� ........................................................................................................10
สารบัญภาพ..............................................................................................16
สารบัญตาราง .........................................................................................19
บทสรุปผู้บริหาร........................................................................................20
ผลการสำ�รวจที่สำ�คัญ...............................................................................21
บทนำ�........................................................................................................25
วัตถุประสงค์ของการสำ�รวจ.................................................................26
วิธีการสำ�รวจ.......................................................................................26
ระเบียบวิธีวิจัย.....................................................................................27
พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต....................................................................28
ระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต..................................................................32
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต....................................................36
ช่วงเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต...................................................................38
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตในช่วงเวลาต่าง ๆ.........................40
สถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต........................................................................44
กิจกรรมการใช้งานผ่านอินเทอร์เน็ต......................................................48
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 15
การใช้งานสื่อสังคมออนไลน์.................................................................54
ปัญหาจากการใช้อินเทอร์เน็ต................................................................60
เจาะลึกพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต รายเจนเนอเรชั่น..............................65
Gen Z...............................................................................................66
Gen Y...............................................................................................68
Gen X...............................................................................................70
Baby Boomer................................................................................72
พฤติกรรมการใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์....................................................75
การใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่เข้าถึงอินเทอร์เน็ตในยุค 3G/4G........................81
ภาคผนวก.................................................................................................95
ภาพรวมของผู้ตอบแบบสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
ในประเทศไทย ปี 2559.....................................................................96
แบบสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศ ปี 2559...............105
รายชื่อหน่วยงานผู้ให้ความอนุเคราะห์ในการติดป้ายประกาศ (Banner)
โดยไม่คิดค่่าใช้จ่าย............................................................................112
ตารางสถิติ.......................................................................................121
ทีมงานจัดทำ�โครงการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
ในประเทศไทย ปี 2559.......................................................................128
รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559
Thailand Internet User Profile 2016
16
สารบัญภาพ
ภาพ 1	 จำ�นวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยต่อสัปดาห์
	 จำ�แนกตามลักษณะทั่วไปของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต..............................32
ภาพ 2	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต และจำ�นวนชั่วโมงการใช้งานเฉลี่ยต่อวัน
	เปรียบเทียบตามอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต..................36
ภาพ 3	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
	เปรียบเทียบตามช่วงเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ต....................................38
ภาพ 4	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามการใช้งานอุปกรณ์
	 แต่ละประเภทในช่วงเวลาต่าง ๆ...................................................40
ภาพ 5	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
	เปรียบเทียบตามสถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต......................................44
ภาพ 6	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายพื้นที่พักอาศัย
	เปรียบเทียบตามสถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต......................................46
ภาพ 7	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
	เปรียบเทียบตามกิจกรรมการใช้งานผ่านอินเทอร์เน็ต....................48
ภาพ 8	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบ 5 อันดับแรกของ
	 กิจกรรมการใช้งานผ่านอินเทอร์เน็ต ระหว่างอุปกรณ์เคลื่อนที่กับ
	คอมพิวเตอร์..............................................................................50
ภาพ 9	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามความนิยมของ
	สื่อสังคมออนไลน์.......................................................................54
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 17
ภาพ 10	ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเจนเนอเรชั่น
	เปรียบเทียบตามความนิยมของสื่อสังคมออนไลน์.........................56
ภาพ 11	ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
	เปรียบเทียบตามความถี่ในการใช้งานสื่อสังคมออนไลน์.................58
ภาพ 12	ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามปัญหาที่เกิดจาก
	การทำ�กิจกรรมผ่านอินเทอร์เน็ต..................................................60
ภาพ 13	พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของ Gen Z................................. 66
ภาพ 14	พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของ Gen Y................................ 68
ภาพ 15	พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของ Gen X................................ 70
ภาพ 16	พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของ Baby Boomer ................ 72
ภาพ 17	ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
	เปรียบเทียบตามการใช้บริการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์....................76
ภาพ 18	ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
	จำ�แนกตามภาษาที่ใช้ในการอ่านเนื้อหาจากเว็บไซต์........................78
ภาพ 19	ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามการรับรู้และการป้อนชื่อ
	เว็บไซต์เป็นภาษาไทย..................................................................79
ภาพ 20	ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่
	จำ�แนกตามอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงและเครือข่าย
	การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต.............................................................84
ภาพ 21	ร้อยละของผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ผ่านระบบ 3G/4G
	จำ�แนกตามช่องทางในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต............................86
รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559
Thailand Internet User Profile 2016
18
ภาพ 22	ร้อยละของผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ผ่านระบบ 3G/4G
	 เปรียบเทียบตามกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำ�ผ่านระบบ 3G/4G...........88
ภาพ 23	จำ�นวนครั้งในการทำ�กิจกรรมเฉลี่ยต่อสัปดาห์ จำ�แนกตาม
	 กิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำ�ผ่านระบบ 3G/4G....................................90
ภาพ 24	ร้อยละของผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ผ่านระบบ 3G/4G
	 เปรียบเทียบตามปัญหาที่เกิดจากการใช้งานระบบ 3G/4G.........92
ภาพ 25	ร้อยละของผู้ตอบแบบสำ�รวจ จำ�แนกตามเพศ..............................96
ภาพ 26	ร้อยละของผู้ตอบแบบสำ�รวจ จำ�แนกตามสถานภาพสมรส............97
ภาพ 27	ร้อยละของผู้ตอบแบบสำ�รวจ จำ�แนกตามเจนเนอเรชั่น.................98
ภาพ 28	ร้อยละของผู้ตอบแบบสำ�รวจ จำ�แนกตามพื้นที่พักอาศัย...............99
ภาพ 29	ร้อยละของผู้ตอบแบบสำ�รวจ จำ�แนกตามระดับการศึกษา..........100
ภาพ 30	ร้อยละของผู้ตอบแบบสำ�รวจ
	จำ�แนกตามสถานภาพการทำ�งาน..............................................101
ภาพ 31	ร้อยละของผู้ตอบแบบสำ�รวจ
	จำ�แนกตามระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือน.......................................102
ภาพ 32	ร้อยละของผู้ตอบแบบสำ�รวจ
	จำ�แนกตามระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน...................103
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 19
สารบัญตาราง
ตาราง 1	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามกิจกรรม
	 การใช้งานผ่านอินเทอร์เน็ต ระหว่างอุปกรณ์เคลื่อนที่
	กับคอมพิวเตอร์.....................................................................121
ตาราง 2	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเจนเนอเรชั่น
	เปรียบเทียบตามความนิยมของสื่อสังคมออนไลน์....................122
ตาราง3	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเจนเนอเรชั่น
	เปรียบเทียบตามปัญหาที่เกิดจากการทำ�กิจกรรม
	ผ่านอินเทอร์เน็ต....................................................................123
ตาราง 4	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเจนเนอเรชั่น
	เปรียบเทียบตามอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต.............124
ตาราง 5	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเจนเนอเรชั่น
	 เปรียบเทียบตามช่วงเวลาต่าง ๆ ในการใช้อินเทอร์เน็ต.............125
ตาราง 6	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเจนเนอเรชั่น
	เปรียบเทียบตามสถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต..................................126
ตาราง 7	 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเจนเนอเรชั่น
	เปรียบเทียบตามกิจกรรมที่ทำ�ผ่านอินเทอร์เน็ต........................127
รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559
Thailand Internet User Profile 2016
20
บทสรุปผู้บริหาร
การส�ำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 มีวัตถุประสงค์
หลักเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลในมิติต่างๆที่เกี่ยวกับลักษณะและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต
ของคนไทย ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้งาน ระยะเวลาและช่วงเวลาในการใช้อินเทอร์เน็ต
กิจกรรมที่ท�ำผ่านอินเทอร์เน็ต รวมทั้งปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ที่เกิดจากการใช้อินเทอร์เน็ต
นอกจากนี้ในการส�ำรวจแต่ละปี จะมีส่วนที่เป็นค�ำถามพิเศษประจ�ำปี ซึ่งจะเป็นเรื่องที่
น่าสนใจและน่าติดตามของปีที่ท�ำการส�ำรวจ
จากการเปิดประมูลคลื่นความถี่ของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมเมื่อปลายเดือนธันวาคม
2558 ที่ผ่านมา ท�ำให้มีการเปิดให้บริการเทคโนโลยี 4G อย่างเป็นทางการในปีนี้ ค�ำถาม
พิเศษจึงเป็นการส�ำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่ได้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่เข้าถึง
อินเทอร์เน็ตผ่านเครือข่ายระบบ 3G และ 4G ในแง่มุมต่าง ๆ เช่น ใช้ท�ำกิจกรรมต่าง ๆ
กันมากน้อยแค่ไหน และจากการเปลี่ยนผ่านยุค 2G มา มีกิจกรรมใดบ้างที่ท�ำแล้วรู้สึก
ว่ารวดเร็วขึ้น รวมทั้งปัญหาต่าง ๆ ที่ประสบกันอยู่ในปัจจุบัน เป็นต้น
นอกจากนี้ การน�ำเสนอผลการส�ำรวจในปีนี้ ยังเพิ่มอรรถประโยชน์ให้กับผู้ใช้ข้อมูล
ด้วยการน�ำพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตมาแจกแจงเป็นรายเจนเนอเรชั่น และน�ำเสนอ
ในรูปแบบของ Infographic เพื่อให้ผู้ใช้ข้อมูลไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ผู้ประกอบ
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และผู้ที่สนใจ ได้เข้าใจพฤติกรรมลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย และ
สามารถน�ำข้อมูลดังกล่าวไปใช้ในการก�ำหนดนโยบาย/วางแผนธุรกิจ/แผนการตลาด เพื่อ
ให้ตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างแท้จริง	
การส�ำรวจครั้งนี้เป็นการส�ำรวจทางอินเทอร์เน็ต สพธอ. เริ่มวางแบบส�ำรวจบน
เว็บไซต์ต่าง ๆ และเครือข่ายสังคมออนไลน์ ตั้งแต่กลางเดือนมีนาคมจนถึงสิ้นเดือน
พฤษภาคม 2559 มีผู้ให้ความสนใจเข้ามาตอบแบบส�ำรวจด้วยความสมัครใจมากถึง
16,661 คน
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 21
ผลการสำ�รวจที่สำ�คัญ
ข้อมูลลักษณะทั่วไปของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
จากจ�ำนวนผู้ที่เข้ามาตอบแบบส�ำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยปี
2559 ด้วยความสมัครใจทั้งหมด 16,661 คน พบว่า เพศหญิง (ร้อยละ 57.3) เข้ามา
ตอบแบบส�ำรวจสูงกว่าเพศชาย (ร้อยละ 41.1) และเพศที่สาม ซึ่งมีเพียงร้อยละ 1.3
เท่านั้น
ในปีนี้ยังคงจ�ำแนกช่วงอายุของผู้ตอบแบบส�ำรวจออกเป็น 4 เจนเนอเรชั่น ได้แก่
Gen Z, Gen Y, Gen X และ Baby Boomer จากจ�ำนวนผู้ตอบแบบส�ำรวจทั้งหมด
Gen Y (ร้อยละ 54.5) เข้ามาตอบแบบส�ำรวจสูงกว่าเจนเนอเรชั่นอื่น ๆ โดยเปรียบเทียบ
รองลงมา เป็น Gen X (ร้อยละ 36.3), Baby Boomer (ร้อยละ 8.5) และ Gen Z (ร้อย
ละ 0.8) ตามล�ำดับ (ดูข้อมูลรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากภาคผนวกท้ายเล่ม)
ส่วนการกระจายตัวของผู้ตอบแบบส�ำรวจ จ�ำแนกตามสถานที่พักอาศัย พบว่า
ประกอบด้วยผู้ที่อาศัยในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัดในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน และมีการ
กระจายตัวของเพศ อายุ การศึกษา สถานภาพการท�ำงานและรายได้ที่สอดคล้องกับ
โครงสร้างประชากร สามารถน�ำไปวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตเปรียบเทียบ
ระหว่างกลุ่มได้
พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต
จากผลการส�ำรวจ พบว่า จ�ำนวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 45.0
ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือคิดเป็นระยะเวลาการใช้งานเฉลี่ย 6.4 ชั่วโมงต่อวัน โดยเพศที่สาม
และ Gen Y เป็นกลุ่มที่มีการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยสูงที่สุด อยู่ที่ 48.9 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
และ 53.2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ตามล�ำดับ
ในปี 2559 นี้ สมาร์ตโฟนยังคงเป็นอุปกรณ์หลักที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนิยมใช้ในการ
เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โดยมีจ�ำนวนผู้ใช้งานมากถึงร้อยละ 85.5 และมีจ�ำนวนชั่วโมงการ
รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559
Thailand Internet User Profile 2016
22
ใช้งานโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 6.2 ชั่วโมงต่อวัน ซึ่งทั้งจ�ำนวนผู้ใช้งานและจ�ำนวนชั่วโมงการใช้
งานของปีนี้สูงกว่าปีที่แล้วอย่างเห็นได้ชัด โดยในปี 2558 มีจ�ำนวนผู้ใช้งานร้อยละ 82.1
และมีจ�ำนวนชั่วโมงการใช้งานโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 5.7 ชั่วโมงต่อวันเท่านั้น
ช่วงเวลาเรียน/ท�ำงาน (08.01–16.00 น.) คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเป็นอุปกรณ์อันดับ
1 ที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนิยมใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต โดยช่วงเวลา 08.01–12.00 น.
เป็นช่วงเวลาที่คนนิยมใช้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตมากที่สุด คิด
เป็นร้อยละ 64.5
ช่วงเวลาหลังเลิกเรียน/ท�ำงานจนถึงเช้า (16.01–08.00 น.) สมาร์ตโฟนเป็นอุปกรณ์
อันดับ 1 ที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนิยมใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต โดยช่วงเวลา
16.01–20.00 น. เป็นช่วงเวลาที่คนนิยมใช้สมาร์ตโฟนในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตมาก
ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 68.4
จากผลการส�ำรวจ ยังพบอีกว่า ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่พักอาศัยในกรุงเทพฯ คิดเป็นร้อย
ละ 29.3 ใช้อินเทอร์เน็ตระหว่างการเดินทางในสัดส่วนที่สูงกว่าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่พัก
อาศัยในต่างจังหวัด ซึ่งมีเพียงร้อยละ 10.3 เท่านั้น ด้วยโครงสร้างพื้นฐานทางอินเทอร์เน็ต
ของคนกรุงเทพฯ ที่ดีและพร้อมกว่าต่างจังหวัด และการที่คนกรุงเทพฯ ในปัจจุบันต้อง
ประสบปัญหาสภาพการจราจรที่แออัดหนาแน่นกว่าต่างจังหวัด ท�ำให้คนกรุงเทพฯ นิยม
ที่จะหยิบโทรศัพท์มือถือขึ้นมาเล่น/ใช้งานในระหว่างรถติด
กิจกรรมยอดนิยม 5 อันดับแรกที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนิยมท�ำผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่
ได้แก่ การพูดคุยผ่าน Social Network (ร้อยละ 86.8) รองลงมา เป็นการดูวิดีโอผ่าน
YouTube (ร้อยละ 66.6), การอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (ร้อยละ 55.7), การค้นหา
ข้อมูล (ร้อยละ 54.7) และการท�ำธุรกรรมทางการเงิน (ร้อยละ 45.9) ตามล�ำดับ
ในขณะที่กิจกรรมยอดฮิต 5 อันดับแรกที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนิยมท�ำผ่านคอมพิวเตอร์
ได้แก่ การค้นหาข้อมูล (ร้อยละ 57.6) รองลงมา เป็นการรับ-ส่งอีเมล (ร้อยละ 56.9),
การดูวิดีโอผ่าน YouTube (ร้อยละ 47.2), การดาวน์โหลดซอฟต์แวร์/เพลง/ละคร/เกม
(ร้อยละ 45.6) และการอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (ร้อยละ 44.2) ตามล�ำดับ
ด้วยพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการติดต่อสื่อสารกันอย่างกว้างขวางใน
ปัจจุบัน การส�ำรวจครั้งนี้จึงแบ่งการน�ำเสนอผลการส�ำรวจการใช้งานสื่อสังคมออนไลน์
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 23
ออกเป็น 2 มิติ ได้แก่ มิติของความนิยมในการใช้งานสื่อสังคมออนไลน์แต่ละประเภท
และมิติของความถี่ในการใช้งานสื่อสังคมออนไลน์แต่ละประเภท
จากผลการส�ำรวจสื่อสังคมออนไลน์ยอดนิยม 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก ได้แก่
YouTube มีผู้ใช้งานมากถึงร้อยละ 97.3 รองลงมา คือ Facebook และ Line มีผู้ใช้
งานคิดเป็นร้อยละ 94.8 และ 94.6 ตามล�ำดับ
YouTube เป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่กลุ่ม Gen Y และ Gen Z นิยมใช้กันมาก
ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 98.8 และ 98.6 ตามล�ำดับ รองลงมา คือ Facebook คิดเป็นร้อย
ละ 97.9 และ 93.8 ตามล�ำดับ ส่วนอันดับ 3 คือ Line คิดเป็นร้อยละ 97.2 และ 91.4
ตามล�ำดับ
ในขณะที่ Line เป็นแอปพลิเคชันที่กลุ่ม Baby Boomer และ Gen X นิยมใช้ใน
การติดต่อสื่อสารมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 91.5 และ 96.2 ตามล�ำดับ รองลงมา คือ
YouTube คิดเป็นร้อยละ 89.3 และ 95.3 ตามล�ำดับ ส่วนอันดับ 3 คือ Facebook คิด
เป็นร้อยละ 86.5 และ 93.9 ตามล�ำดับ
ในมิติของความถี่ในการใช้งานสื่อสังคมออนไลน์แต่ละประเภท Facebook เป็นสื่อ
สังคมออนไลน์ที่มีปริมาณการใช้งานบ่อยที่สุดเป็นอันดับ 1 รองลงมา เป็น Line และ
YouTube โดยมีสัดส่วนของผู้ใช้งาน คิดเป็นร้อยละ 84.2, 82.0 และ 76.9 ตามล�ำดับ
ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดจากการใช้อินเทอร์เน็ต จากผลการส�ำรวจ พบว่า ปัญหาอันดับ
แรก ได้แก่ ความล่าช้าในการเชื่อมต่อ/ใช้อินเทอร์เน็ต (ร้อยละ 70.3) รองลงมา เป็น
เรื่องของปริมาณโฆษณาที่มารบกวน (ร้อยละ 50.7), การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตยาก/หลุด
บ่อย (ร้อยละ 32.7), เสียค่าใช้จ่ายแพง (ร้อยละ 26.8) และการให้บริการอินเทอร์เน็ต
ยังไม่ทั่วถึง (ร้อยละ 21.2) ตามล�ำดับ
รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559
Thailand Internet User Profile 2016
24
การใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่เข้าถึงอินเทอร์เน็ตในยุค 3G/4G
กิจกรรม 3 อันดับแรกที่ผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ผ่านระบบ 3G/4G รู้สึกว่าท�ำได้รวดเร็ว
ขึ้น อันดับ 1 ได้แก่ การแชร์รูปถ่าย/วิดีโอ/อัพโหลดคลิปผ่านโซเชียลมีเดีย คิดเป็นร้อย
ละ 75.9 รองลงมา เป็นการคุยโทรศัพท์ผ่านอินเทอร์เน็ต/คุยโทรศัพท์ผ่าน Video call
และการดูโทรทัศน์/ฟังเพลง/เล่นเกมออนไลน์ คิดเป็นร้อยละ 68.1 และ 60.3 ตามล�ำดับ
หากพิจารณาว่ากิจกรรมใดที่มีการใช้งานถี่ที่สุดในรอบสัปดาห์ จากผลการส�ำรวจ
พบว่า ผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ผ่านระบบ 3G/4G ส่วนใหญ่นิยมดูโทรทัศน์/ฟังเพลง/เล่น
เกมออนไลน์โดยมีการท�ำกิจกรรมดังกล่าวโดยเฉลี่ย14ครั้งต่อสัปดาห์รองลงมาเป็นการ
แชร์รูปถ่าย/วิดีโอ/อัพโหลดคลิปผ่านโซเชียลมีเดีย และการคุยโทรศัพท์ผ่านอินเทอร์เน็ต/
คุยโทรศัพท์ผ่าน Video call โดยมีการท�ำกิจกรรมดังกล่าวโดยเฉลี่ย 11 ครั้งต่อสัปดาห์
และ 9 ครั้งต่อสัปดาห์ ตามล�ำดับ
ในความคิดเห็นของผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ผ่านระบบ 3G/4G ปัญหาส�ำคัญที่สุด 3
อันดับแรกที่เกิดจากการใช้งานระบบ 3G/4G อันดับแรก เป็นเรื่องของความสิ้นเปลือง
แบตเตอรี่ ต้องหมั่นคอยชาร์จ รองลงมา เป็นเรื่องของการใช้งาน 4G ในบางพื้นที่ไม่มี
สัญญาณ หรือสัญญาณอ่อน และค่าใช้จ่ายในการใช้งานค่อนข้างสูง คิดเป็นร้อยละ 70.4,
64.7 และ 40.2 ตามล�ำดับ
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 25
บทนำ�
ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ.
มีภารกิจหลักในการพัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของ
ประเทศ ซึ่งครอบคลุมทั้งการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และการให้บริการของรัฐทางออนไลน์
ร่วมผลักดันโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศที่เอื้อต่อการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
สนับสนุนธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนก�ำหนดมาตรฐาน
เทคโนโลยีสารสนเทศ และเพื่อให้การท�ำธุรกรรมทางออนไลน์มีความมั่นคงปลอดภัยและ
น่าเชื่อถือ
ด้วยภารกิจดังที่กล่าวมา การศึกษาวิจัยพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยจึง
มีความส�ำคัญเป็นอย่างมาก เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน สามารถ
น�ำข้อมูลที่สะท้อนพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตในหลาย ๆ มิติไปใช้ในการก�ำหนดทิศทาง
ในการพัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ให้สอดคล้องและ
ตอบสนองความต้องการของประชาชน/ผู้บริโภคได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
สพธอ. จึงได้จัดให้มีการส�ำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559
(Thailand Internet User Profile 2016) ขึ้น ซึ่งเป็นการส�ำรวจเป็นประจ�ำทุกปี โดย
ในการส�ำรวจจะเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต และมีการผนวก
ค�ำถามพิเศษประจ�ำปี โดยในปีนี้เป็นค�ำถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่
เข้าถึงอินเทอร์เน็ตในยุค 3G/4G
สพธอ. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลการส�ำรวจจะเป็นประโยชน์ส�ำหรับหน่วยงานภาครัฐที่
จะน�ำไปใช้ในการวางแผน/ก�ำหนดนโยบายให้สอดคล้องกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตกลุ่ม
ต่าง ๆ รวมทั้งภาคเอกชน โดยเฉพาะผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถน�ำ
ข้อมูลผลการส�ำรวจไปใช้ประกอบการจัดท�ำแผนธุรกิจหรือปรับกลยุทธ์การตลาดให้
สอดคล้องกับความต้องการหรือพฤติกรรมของลูกค้ากลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิผล
อันจะส่งผลให้การท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศมีอัตราการเติบโตเพิ่มสูงขึ้น
รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559
Thailand Internet User Profile 2016
26
วัตถุประสงค์ของการสำ�รวจ
1.	 เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยอย่าง
ต่อเนื่องเป็นประจ�ำทุกปี ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง
2.	 เพื่อรวบรวมข้อมูลที่อยู่ในความสนใจในปีที่มีการส�ำรวจ ซึ่งผู้ที่สนใจสามารถ
น�ำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างทันสถานการณ์
3.	 เพื่อให้มีข้อมูลที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นต่อการพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
ไว้ให้บริการแก่ผู้ใช้ข้อมูลภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้สนใจโดยทั่วไปอย่าง
ต่อเนื่อง
4.	 เพื่อให้ สพธอ. มีข้อมูลไว้ใช้ส�ำหรับใช้ก�ำหนดยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมและ
สนับสนุนการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งการติดตามและ
ประเมินผล
วิธีการสำ�รวจ
การส�ำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 นี้ ยังคงเป็นการ
ส�ำรวจทางอินเทอร์เน็ตเช่นในปีที่ผ่านมา โดยได้น�ำแบบส�ำรวจดังกล่าวไปวาง (ติด
แบนเนอร์) ไว้ในหน้าเว็บไซต์ของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่ให้ความ
อนุเคราะห์พื้นที่ในการประชาสัมพันธ์ รวมทั้งการกระจายแบบส�ำรวจผ่านช่องทาง
โซเชียลมีเดีย เช่น Facebook เพื่อให้มีการกระจายแบบส�ำรวจไปยังกลุ่มตัวอย่างอย่าง
ทั่วถึง
การส�ำรวจนี้ได้เริ่มกระจายแบบส�ำรวจตั้งแต่กลางเดือนมีนาคมจนถึงสิ้นเดือน
พฤษภาคม 2559 โดยมีผู้ให้ความสนใจเข้ามาตอบแบบส�ำรวจได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์
จ�ำนวนทั้งสิ้น 16,661 คน จากนั้นจึงน�ำผลการตอบแบบส�ำรวจที่ได้ทั้งหมดเข้าสู่
กระบวนการประมวลผลโดยใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูปทางสถิติ
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 27
ระเบียบวิธีวิจัย
การส�ำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต
ของคนไทย โดยเลือกใช้การตอบแบบส�ำรวจผ่านทางอินเทอร์เน็ตและเครือข่ายสังคม
ออนไลน์ และเนื่องจากทีมวิจัยไม่มีรายชื่อของประชากรผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั้งหมด จึงไม่
ได้ใช้การเลือกตัวอย่างตามหลักความน่าจะเป็น
ผู้ที่เข้ามาตอบแบบส�ำรวจ คือ ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่เข้ามาตอบด้วยความสมัครใจ (Self
Selection) ท�ำให้เมื่อพิจารณารายกลุ่มย่อย สัดส่วนของจ�ำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจาก
ตัวอย่างที่ได้ จึงอาจแตกต่างกับสัดส่วนของจ�ำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั้งสิ้นในประเทศไทย
ดังนั้นการค�ำนวณค่าต่าง ๆ ในภาพรวมจึงมีการถ่วงน�้ำหนักด้วยสัดส่วนของจ�ำนวนผู้ใช้
อินเทอร์เน็ตทั้งสิ้นในประเทศไทยรายกลุ่มอายุ และพื้นที่พักอาศัย (กรุงเทพฯ และต่าง
จังหวัด) ที่ได้จากการส�ำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัว
เรือน พ.ศ. 2557 ของส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ
รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559
Thailand Internet User Profile 2016
28
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 29
พฤติกรรมการใช้
อินเทอร์เน็ต
ในการส�ำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 นี้ มีผู้ให้ความ
สนใจและเข้ามาตอบแบบส�ำรวจมากถึง 16,661 คน จึงได้น�ำผลการตอบแบบส�ำรวจมา
ประมวลผลและวิเคราะห์ผล เพื่อแสดงให้ผู้อ่านได้เห็นถึงพฤติกรรมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต1
ในแง่มุมต่าง ๆ ทั้งในเรื่องของระยะเวลาการใช้งานอินเทอร์เน็ต อุปกรณ์การใช้งาน ช่วง
เวลาที่ใช้งาน สถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต กิจกรรมต่าง ๆ ที่ใช้งานผ่านทางอินเทอร์เน็ต
โซเชียลมีเดียยอดนิยม และปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ในปีนี้เราจะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าปัจจุบันนี้อุปกรณ์เคลื่อนที่2
กลายเป็นส่วนหนึ่ง
ของชีวิตคนไทย (Mobile Life) นับตั้งแต่ตื่นนอนขึ้นมา คงปฏิเสธไม่ได้ว่าเกือบทุกคน
เลือกที่จะหยิบโทรศัพท์เคลื่อนที่หรือแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ขึ้นมาก่อนที่จะหยิบแปรงสีฟัน
เพื่อจะตรวจสอบว่ามีใครส่งไลน์หรืออีเมลมาถึงเรา ในโลกโซเชียลมีการโพสต์อะไรบ้าง
หรือในการเดินทางไปในสถานที่ต่าง ๆ ภาพที่ทุกคนได้เห็นกันอย่างคุ้นชิน ก็คือภาพที่
คนส่วนใหญ่ ทุกเพศและทุกวัย ก้มหน้าก้มตาอ่านหรือจิ้มหน้าจอโทรศัพท์เคลื่อนที่หรือ
แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์แทนการพูดคุยกันแล้ว และแม้กระทั่งก่อนเข้านอน สิ่งสุดท้ายที่
คนส่วนใหญ่จะท�ำก่อนนอน ก็ยังหนีไม่พ้นที่จะวางโทรศัพท์เคลื่อนที่หรือแท็บเล็ต
คอมพิวเตอร์เป็นสิ่งสุดท้ายก่อนหลับตานอนด้วยเช่นกัน
ปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลให้คนไทยในปัจจุบันมีชีวิตติดอินเทอร์เน็ตมากมายเช่นนี้ มา
จากการที่ตลาดอุปกรณ์เคลื่อนที่มีการแข่งขันกันอย่างดุเดือด ทั้งลดแลกแจกแถม โดย
1 เนื่องจากเป็นการส�ำรวจทางอินเทอร์เน็ต ผู้ตอบแบบส�ำรวจในที่นี้ จึงหมายถึง ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่สมัคร
ใจเข้ามาตอบแบบส�ำรวจ ซึ่งจากนี้ไป ในรายงานผลการส�ำรวจฉบับนี้ จะใช้ค�ำว่า ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
2 อุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile Devices) หมายถึง อุปกรณ์สื่อสารที่ใช้ในการพกพา เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่
(Feature Phone), สมาร์ตโฟน (Smartphone) และแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ (Tablet Computer)
รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559
Thailand Internet User Profile 2016
30
เฉพาะสมาร์ตโฟนที่มีราคาถูกลงมาก จนท�ำให้ผู้ใช้งานทุกระดับรายได้ สามารถจับจอง
เป็นเจ้าของสมาร์ตโฟนได้อย่างง่ายดาย
นอกจากนี้การเปิดประมูลคลื่นความถี่ของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมเมื่อปลายเดือน
ธันวาคม 2558 ที่ผ่านมา ท�ำให้มีการเปิดให้บริการเทคโนโลยี 4G อย่างเป็นทางการ ส่ง
ผลให้ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ค่ายต่าง ๆ ต่างแข่งขันกันพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อให้
บริการผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่สามารถตอบโจทย์ของผู้บริโภคได้ในทุกไลฟ์สไตล์ ด้วยอัตรา
ค่าบริการที่เหมาะสม
รวมทั้งการเปลี่ยนถ่ายนโยบายของภาครัฐมาสู่แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ
สังคม ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2559 ที่มุ่งเน้น
การน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เป็นเครื่องมือส�ำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ
ด้วยปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนสนับสนุนให้เกิดการใช้งาน/การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้
ในผู้ใช้งานทุกระดับรายงานผลการส�ำรวจฉบับนี้จึงมีเป้าหมายเพื่อสะท้อนภาพพฤติกรรม
การใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยในปัจจุบันว่ามีพฤติกรรมการใช้งานกันอย่างไร เพื่อให้
ผู้ใช้ข้อมูลระดับต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นผู้ก�ำหนดนโยบาย ผู้ประกอบธุรกิจ ผู้ประกอบการ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ นักวิจัย/นักวิเคราะห์ธุรกิจ เป็นต้น สามารถน�ำข้อมูลต่าง ๆ เหล่า
นี้ไปใช้ในการก�ำหนดนโยบาย วางแผนการตลาด บริหารจัดการงบประมาณ รวมไปถึง
การวิเคราะห์ทิศทางการลงทุนเพื่อให้ตอบสนองความต้องการของลูกค้า/ผู้บริโภคได้
อย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่ากับเม็ดเงิน/งบประมาณที่ลงทุนไป
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 31
รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559
Thailand Internet User Profile 2016
32
Baby BoomerGen Z Gen XGen Y
40.2 53.2 44.3 31.8
ตางจังหวัด
44.648.1
กรุงเทพฯ
45.3 44.7 48.9
จำนวนชั่วโมง
การใชอินเทอรเน็ตเฉลี่ย 45.0ชั่วโมง/สัปดาห
ชั่วโมง/สัปดาห
ชั่วโมง/สัปดาห ชั่วโมง/สัปดาห ชั่วโมง/สัปดาห ชั่วโมง/สัปดาห
ชั่วโมง/สัปดาหชั่วโมง/สัปดาห
ชั่วโมง/สัปดาห ชั่วโมง/สัปดาห
6.4ชั่วโมง/วัน
ระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต
ภาพ 1 จำ�นวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยต่อสัปดาห์
จำ�แนกตามลักษณะทั่วไปของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 33
ในการส�ำรวจครั้งนี้ พบว่า จ�ำนวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 45.0
ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือคิดเป็นระยะเวลาการใช้งานเฉลี่ย 6.4 ชั่วโมงต่อวัน หรือเทียบ
เท่ากับว่าในแต่ละวัน จะมีการใช้อินเทอร์เน็ตมากถึง 1 ใน 4 ของวันกันเลยทีเดียว ดัง
แสดงในภาพ 1
เมื่อเปรียบเทียบระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยกับลักษณะทั่วไปของผู้ใช้
อินเทอร์เน็ต ได้แก่ เพศ เจนเนอเรชั่น 3
และพื้นที่พักอาศัย จะเห็นได้ว่า เพศที่สาม เป็น
เพศที่มีจ�ำนวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตสูงที่สุดเมื่อเทียบกับเพศชายและเพศหญิง โดย
เพศที่สาม มีการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยประมาณ 48.9 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ในขณะที่เพศชาย
และเพศหญิง มีการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยอยู่ที่ 45.3 และ 44.7 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ตาม
ล�ำดับ
Gen Y เป็นกลุ่มที่มีจ�ำนวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตสูงที่สุดเมื่อเทียบกับ
เจนเนอเรชั่นอื่น ๆ เนื่องจากเป็นกลุ่มคนที่อยู่ในยุคที่ใช้อินเทอร์เน็ตและโซเชียลมีเดีย
กันอย่างแพร่หลาย จึงมีการใช้อินเทอร์เน็ตทั้งในการเรียน/การท�ำงานและชีวิตส่วนตัว
ดังจะเห็นได้จากผลการส�ำรวจที่พบว่า Gen Y มีการใช้อินเทอร์เน็ตสูงถึง 53.2 ชั่วโมง
ต่อสัปดาห์ หรือคิดเป็นระยะเวลาการใช้งานเฉลี่ย 7.6 ชั่วโมงต่อวัน ในขณะที่ Gen X,
Gen Z และ Baby Boomer มีจ�ำนวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยอยู่ที่ 44.3, 40.2
และ 31.8 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ตามล�ำดับ
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่พักอาศัยในกรุงเทพฯ ยังคงมีจ�ำนวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตสูง
กว่าผู้ที่พักอาศัยในต่างจังหวัด อันเนื่องมาจากโครงสร้างพื้นฐานด้านการสื่อสารดิจิทัล
3 การแบ่งช่วงอายุออกเป็นเจนเนอเรชั่นต่าง ๆ (อ้างอิงจากรายงานผลการส�ำรวจพฤติกรรมผู้ใช้
อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558) ซึ่งจะแบ่งคนในช่วงอายุต่าง ๆ ออกเป็น 5 เจนเนอเรชั่น ได้แก่
	 1.	 Traditionalist เป็นผู้ที่เกิดในปี พ.ศ. 2468–2488
	 2.	 Baby Boomers เป็นผู้ที่เกิดในปี พ.ศ. 2489–2507
	 3.	 Generation X หรือเรียกสั้น ๆ ว่า Gen X เป็นผู้ที่เกิดในปี พ.ศ. 2508–2523
	 4.	 Generation Y หรือเรียกสั้น ๆ ว่า Gen Y เป็นผู้ที่เกิดในปี พ.ศ. 2524–2543
	 5.	 Generation Z หรือเรียกสั้น ๆ ว่า Gen Z เป็นผู้ที่เกิดในปี พ.ศ. 2544 เป็นต้นไป
รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559
Thailand Internet User Profile 2016
34
ของประเทศไทยยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ โดยเฉพาะระดับหมู่บ้าน มีเพียงร้อยละ 53
(จากจ�ำนวน 74,965 หมู่บ้าน) ที่สามารถเข้าถึงบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ส่วนที่
เหลือเป็นหมู่บ้านที่อยู่ห่างไกลซึ่งยังขาดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคมที่เพียง
พอ4
ดังนั้นผู้ให้บริการเทคโนโลยีการสื่อสารจึงยังคงเน้นการพัฒนาจากส่วนกลางกระจาย
ออกไปตามพื้นที่ในต่างจังหวัด ท�ำให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในกรุงเทพฯ มีจ�ำนวนชั่วโมงการ
ใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 48.1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ส่วนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในต่างจังหวัด
มีจ�ำนวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 44.6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์เท่านั้น
ทั้งนี้แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ได้ก�ำหนดกรอบยุทธศาสตร์ไว้ 6
ด้าน เพื่อให้วิสัยทัศน์และเป้าหมายในการพัฒนาประเทศด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลบรรลุผล
ตามแผนดังกล่าว แต่มีอยู่ 2 ยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาเรื่องความ
เหลื่อมล�้ำด้านโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล ได้แก่
ยุทธศาสตร์ที่ 1เน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลประสิทธิภาพสูงให้ครอบคลุม
ทั่วประเทศ มุ่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลประสิทธิภาพสูง เพื่อให้ประชาชนทุกคน
สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ทุกที่ ทุกเวลา ด้วยความเร็วที่เพียงพอกับความต้องการ
ในราคาค่าบริการที่ไม่เป็นอุปสรรคในการเข้าถึง
ยุทธศาสตร์ที่ 3 เน้นการสร้างสังคมคุณภาพที่ทั่วถึงเท่าเทียมด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล
ที่มุ่งสร้างโอกาสและความเท่าเทียมในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล
โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้พิการ และกลุ่มผู้ที่อาศัยในพื้นที่ห่างไกล
ทั้ง2ยุทธศาสตร์ดังกล่าวข้างต้นจึงน่าจะช่วยแก้ปัญหาความเหลื่อมล�้ำด้านโครงสร้าง
พื้นฐานดิจิทัลให้ลดน้อยลงได้ เพื่อให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้อย่าง
เท่าเทียมกันในที่สุด5
4 สถานภาพการพัฒนาด้านดิจิทัลในประเทศไทย, โครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล, แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อ
เศรษฐกิจและสังคม (Digital Thailand), หน้า 18, www.digitalthailand.in.th/drive/press/แผนพัฒนา
ดิจิทัล.pdf, สืบค้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2559.
5 ยุทธศาสตร์การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม, หน้า 3, แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ
สังคม (Digital Thailand), หน้า 18, www.digitalthailand.in.th/drive/press/แผนพัฒนาดิจิทัล.pdf,
สืบค้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2559.
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 35
รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559
Thailand Internet User Profile 2016
36
สมารตโฟน
85.5%ใชเขาถึงอินเทอรเน็ต
ใชงานเฉลี่ย 6.2 ชั่วโมงตอวัน
48.7%ใชเขาถึงอินเทอรเน็ต
ใชงานเฉลี่ย 4.7 ชั่วโมงตอวัน
คอมพิวเตอรพกพา
62.0%ใชเขาถึงอินเทอรเน็ต
ใชงานเฉลี่ย 5.4 ชั่วโมงตอวัน
คอมพิวเตอรสวนบุคคล
30.0%ใชเขาถึงอินเทอรเน็ต
ใชงานเฉลี่ย 3.5 ชั่วโมงตอวัน
แท็บเล็ตคอมพิวเตอร
19.8%ใชเขาถึงอินเทอรเน็ต
ใชงานเฉลี่ย 2.7 ชั่วโมงตอวัน
สมารตทีวี
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต
ภาพ 2 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต และจำ�นวนชั่วโมงการใช้งานเฉลี่ยต่อวัน
เปรียบเทียบตามอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 37
ด้วยการแข่งขันด้านราคาและนโยบายส่งเสริมการขายของผู้ผลิตโทรศัพท์เคลื่อนที่
ท�ำให้ผู้บริโภคสามารถครอบครองเป็นเจ้าของเครื่องได้อย่างง่ายดาย รวมทั้งการแข่งขัน
กันพัฒนาเทคโนโลยีเครือข่ายการสื่อสารของผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ส่งผลให้
โทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยเฉพาะสมาร์ตโฟน เป็นอุปกรณ์หลักที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนิยมใช้ใน
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ดังแสดงในภาพ 2 โดยมีผู้ใช้งานมากถึงร้อยละ 85.5 และมี
จ�ำนวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านสมาร์ตโฟนเฉลี่ยอยู่ที่ 6.2 ชั่วโมงต่อวัน
ส่วนอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตเป็นอันดับ 2 รองจากสมาร์ตโฟน ได้แก่
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล โดยมีผู้ใช้งาน คิดเป็นร้อยละ 62.0 และมีจ�ำนวนชั่วโมงการใช้
อินเทอร์เน็ตผ่านคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเฉลี่ยอยู่ที่5.4ชั่วโมงต่อวันในขณะที่คอมพิวเตอร์
พกพา เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตมากเป็นอันดับ 3 โดยมีผู้ใช้งาน
คิดเป็นร้อยละ 48.7 และมีจ�ำนวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านคอมพิวเตอร์พกพาเฉลี่ย
อยู่ที่ 4.7 ชั่วโมงต่อวัน
รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559
Thailand Internet User Profile 2016
38
ช่วงเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต
ภาพ 3 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
เปรียบเทียบตามช่วงเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ต
08.01-12.00 น.
76.0%
76.6%
75.2%12.01-16.00 น.
16.01-20.00 น.
70.3%
12.1%00.01-04.00 น.
11.4%
04.01-08.00 น.
20.01-24.00 น.
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 39
ดังที่ได้กล่าวแล้วในตอนต้นว่าปัจจุบันนี้ชีวิตคนไทยติดอินเทอร์เน็ตมาก มีการเช็ก
ไลน์/อีเมล หรือใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กันตั้งแต่ตื่นนอนจนเข้านอน ดังจะเห็นได้จาก
ผลการส�ำรวจ ดังแสดงในภาพ 3 พบว่า กว่าร้อยละ 70 ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต มีการเข้า
ถึงอินเทอร์เน็ตในช่วงเวลา 08.01-24.00 น. โดยเฉพาะช่วงหลังเลิกเรียน/เลิกงาน เวลา
16.01–20.00 น. เป็นช่วงที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตสูงที่สุด โดยมีผู้ใช้งานร้อยละ 76.6
รองลงมา เป็นช่วงเวลาเริ่มเรียน/เริ่มงานจนถึงเลิกเรียน/เลิกงาน โดยในช่วงเวลา
08.01–12.00 น. และ 12.01–16.00 น. มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 76.0 และ 75.2
ตามล�ำดับ
รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559
Thailand Internet User Profile 2016
40
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตในช่วงเวลาต่าง ๆ
ภาพ 4 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
เปรียบเทียบตามการใช้งานอุปกรณ์แต่ละประเภทในช่วงเวลาต่าง ๆ
สมารตโฟน 52.7%
แท็บเล็ต
คอมพิวเตอร 35.3%
คอมพิวเตอร
พกพา 41.3%
สมารตทีวี 25.1%
08.01 - 12.00 น. 12.01 - 16.00 น.
แท็บเล็ต
คอมพิวเตอร 27.3%
คอมพิวเตอร
พกพา 43.6%
สมารตทีวี 15.2%
สมารตโฟน 54.3%
คอมพิวเตอร
สวนบุคคล 60.7%
16.01 - 20.00 น.
คอมพิวเตอร
พกพา 41.8%
แท็บเล็ต
คอมพิวเตอร 45.8%
สมารตทีวี 39.1%
สมารตโฟน 68.4%
คอมพิวเตอร
ตั้งโตะ 32.1%
00.01 - 04.00 น.
คอมพิวเตอร
สวนบุคคล 64.5%
04.01 - 08.00 น.
คอมพิวเตอร
พกพา 2.7%
สมารตโฟน 10.5%
คอมพิวเตอร
สวนบุคคล 2.6%
แท็บเล็ต
คอมพิวเตอร 6.0%
สมารตทีวี 3.6%
แท็บเล็ต
คอมพิวเตอร 7.5%
สมารตโฟน 9.3%
คอมพิวเตอร
สวนบุคคล 2.9%
คอมพิวเตอร
พกพา 7.1%
สมารตทีวี 6.0%
แท็บเล็ต
คอมพิวเตอร 47.0%
สมารตทีวี 46.3%
สมารตโฟน 61.7%
คอมพิวเตอร
สวนบุคคล 21.4%
คอมพิวเตอร
พกพา 44.9%
20.01 - 24.00 น.
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561ETDAofficialRegist
 
Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018ETDAofficialRegist
 
Thailand internet user_profile_2018_th
Thailand internet user_profile_2018_thThailand internet user_profile_2018_th
Thailand internet user_profile_2018_thETDAofficialRegist
 
20181226 etda annual_roport_2018_max
20181226 etda annual_roport_2018_max20181226 etda annual_roport_2018_max
20181226 etda annual_roport_2018_maxThosaporn Kompat
 
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)ETDAofficialRegist
 
Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018ETDAofficialRegist
 
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018
ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018
ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018ETDAofficialRegist
 
ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...
ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...
ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...IMC Institute
 
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAsina Pornwasin
 
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018ETDAofficialRegist
 
30.03.2020 เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
 30.03.2020  เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ... 30.03.2020  เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
30.03.2020 เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...ETDAofficialRegist
 
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562ETDAofficialRegist
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)Totsaporn Inthanin
 
"Loadแนวข้อสอบ พนักงานพิทักษ์ป่า กรมป่าไม้
"Loadแนวข้อสอบ พนักงานพิทักษ์ป่า กรมป่าไม้"Loadแนวข้อสอบ พนักงานพิทักษ์ป่า กรมป่าไม้
"Loadแนวข้อสอบ พนักงานพิทักษ์ป่า กรมป่าไม้noodeejideenoodeejid
 

La actualidad más candente (18)

รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561
 
A5 survey 2018 v31
A5 survey 2018 v31A5 survey 2018 v31
A5 survey 2018 v31
 
Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018
 
Thailand internet user_profile_2018_th
Thailand internet user_profile_2018_thThailand internet user_profile_2018_th
Thailand internet user_profile_2018_th
 
20181226 etda annual_roport_2018_max
20181226 etda annual_roport_2018_max20181226 etda annual_roport_2018_max
20181226 etda annual_roport_2018_max
 
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
 
Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018
 
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot
Thailand Social Media Data from Thailand Zocial Awards 2015 by Pawoot
 
คุณเมธินี
คุณเมธินีคุณเมธินี
คุณเมธินี
 
ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018
ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018
ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018
 
ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...
ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...
ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...
 
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Etda Annual Report 2019
Etda Annual Report 2019Etda Annual Report 2019
Etda Annual Report 2019
 
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
 
30.03.2020 เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
 30.03.2020  เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ... 30.03.2020  เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
30.03.2020 เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
 
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
 
"Loadแนวข้อสอบ พนักงานพิทักษ์ป่า กรมป่าไม้
"Loadแนวข้อสอบ พนักงานพิทักษ์ป่า กรมป่าไม้"Loadแนวข้อสอบ พนักงานพิทักษ์ป่า กรมป่าไม้
"Loadแนวข้อสอบ พนักงานพิทักษ์ป่า กรมป่าไม้
 

Destacado

เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016 เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016 WiseKnow Thailand
 
Thailand's Telecom Market end of 2015 ★
Thailand's Telecom Market end of 2015 ★Thailand's Telecom Market end of 2015 ★
Thailand's Telecom Market end of 2015 ★YOZZO
 
Thailand Internet User Profile 2014 Presentation
Thailand Internet User Profile 2014 PresentationThailand Internet User Profile 2014 Presentation
Thailand Internet User Profile 2014 PresentationWiseKnow Thailand
 
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_Teeranan Nandhakwang
 
Broadband adoption in Thailand : A Quantitative Study in Mea Fah Luang Unive...
Broadband adoption in Thailand : A Quantitative Study in Mea  Fah Luang Unive...Broadband adoption in Thailand : A Quantitative Study in Mea  Fah Luang Unive...
Broadband adoption in Thailand : A Quantitative Study in Mea Fah Luang Unive...www.nbtc.go.th
 
ความปลอดภัยในการใช้สังคมออนไลน์
ความปลอดภัยในการใช้สังคมออนไลน์ความปลอดภัยในการใช้สังคมออนไลน์
ความปลอดภัยในการใช้สังคมออนไลน์0869493821
 
สื่อออนไลน์ ผลกระทบกับการแพทย์และสาธารณสุข
สื่อออนไลน์ ผลกระทบกับการแพทย์และสาธารณสุขสื่อออนไลน์ ผลกระทบกับการแพทย์และสาธารณสุข
สื่อออนไลน์ ผลกระทบกับการแพทย์และสาธารณสุขNawanan Theera-Ampornpunt
 
We Are Social's Guide to Social, Digital, and Mobile in Myanmar, Dec 2011
We Are Social's Guide to Social, Digital, and Mobile in Myanmar, Dec 2011We Are Social's Guide to Social, Digital, and Mobile in Myanmar, Dec 2011
We Are Social's Guide to Social, Digital, and Mobile in Myanmar, Dec 2011We Are Social Singapore
 
We Are Social's Guide to Social, Digital and Mobile in Thailand, Dec 2011
We Are Social's Guide to Social, Digital and Mobile in Thailand, Dec 2011We Are Social's Guide to Social, Digital and Mobile in Thailand, Dec 2011
We Are Social's Guide to Social, Digital and Mobile in Thailand, Dec 2011We Are Social Singapore
 
สื่อสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน2
สื่อสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน2สื่อสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน2
สื่อสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน2Prachyanun Nilsook
 
e-Commerce and Cosmetics in Thailand - Market brieffing by Wishtrend Thailand
e-Commerce and Cosmetics in Thailand - Market brieffing by Wishtrend Thailande-Commerce and Cosmetics in Thailand - Market brieffing by Wishtrend Thailand
e-Commerce and Cosmetics in Thailand - Market brieffing by Wishtrend ThailandWishtrend Thailand
 
2013 Thailand Mobile Market Information
2013 Thailand Mobile Market Information2013 Thailand Mobile Market Information
2013 Thailand Mobile Market InformationYOZZO
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Brand to Conversion [for Thailand Web Wednesday 15]
Brand to Conversion  [for Thailand Web Wednesday 15]Brand to Conversion  [for Thailand Web Wednesday 15]
Brand to Conversion [for Thailand Web Wednesday 15]Pawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
MVNO Consulting Services
MVNO Consulting ServicesMVNO Consulting Services
MVNO Consulting ServicesYOZZO
 
Thailand's Telecom Market Information Q1 2015
Thailand's Telecom Market Information Q1 2015 Thailand's Telecom Market Information Q1 2015
Thailand's Telecom Market Information Q1 2015 YOZZO
 

Destacado (20)

เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016 เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016
 
Thailand's Telecom Market end of 2015 ★
Thailand's Telecom Market end of 2015 ★Thailand's Telecom Market end of 2015 ★
Thailand's Telecom Market end of 2015 ★
 
Digital in 2017: Southeast Asia
Digital in 2017: Southeast AsiaDigital in 2017: Southeast Asia
Digital in 2017: Southeast Asia
 
Thailand Internet User Profile 2014 Presentation
Thailand Internet User Profile 2014 PresentationThailand Internet User Profile 2014 Presentation
Thailand Internet User Profile 2014 Presentation
 
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_
 
Broadband adoption in Thailand : A Quantitative Study in Mea Fah Luang Unive...
Broadband adoption in Thailand : A Quantitative Study in Mea  Fah Luang Unive...Broadband adoption in Thailand : A Quantitative Study in Mea  Fah Luang Unive...
Broadband adoption in Thailand : A Quantitative Study in Mea Fah Luang Unive...
 
ความปลอดภัยในการใช้สังคมออนไลน์
ความปลอดภัยในการใช้สังคมออนไลน์ความปลอดภัยในการใช้สังคมออนไลน์
ความปลอดภัยในการใช้สังคมออนไลน์
 
Medium theory
Medium theoryMedium theory
Medium theory
 
Interaction 2016
Interaction 2016Interaction 2016
Interaction 2016
 
สื่อออนไลน์ ผลกระทบกับการแพทย์และสาธารณสุข
สื่อออนไลน์ ผลกระทบกับการแพทย์และสาธารณสุขสื่อออนไลน์ ผลกระทบกับการแพทย์และสาธารณสุข
สื่อออนไลน์ ผลกระทบกับการแพทย์และสาธารณสุข
 
We Are Social's Guide to Social, Digital, and Mobile in Myanmar, Dec 2011
We Are Social's Guide to Social, Digital, and Mobile in Myanmar, Dec 2011We Are Social's Guide to Social, Digital, and Mobile in Myanmar, Dec 2011
We Are Social's Guide to Social, Digital, and Mobile in Myanmar, Dec 2011
 
We Are Social's Guide to Social, Digital and Mobile in Thailand, Dec 2011
We Are Social's Guide to Social, Digital and Mobile in Thailand, Dec 2011We Are Social's Guide to Social, Digital and Mobile in Thailand, Dec 2011
We Are Social's Guide to Social, Digital and Mobile in Thailand, Dec 2011
 
Thailand City Innovation Challenge 2016
Thailand City Innovation Challenge 2016Thailand City Innovation Challenge 2016
Thailand City Innovation Challenge 2016
 
สื่อสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน2
สื่อสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน2สื่อสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน2
สื่อสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน2
 
e-Commerce and Cosmetics in Thailand - Market brieffing by Wishtrend Thailand
e-Commerce and Cosmetics in Thailand - Market brieffing by Wishtrend Thailande-Commerce and Cosmetics in Thailand - Market brieffing by Wishtrend Thailand
e-Commerce and Cosmetics in Thailand - Market brieffing by Wishtrend Thailand
 
2013 Thailand Mobile Market Information
2013 Thailand Mobile Market Information2013 Thailand Mobile Market Information
2013 Thailand Mobile Market Information
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
 
Brand to Conversion [for Thailand Web Wednesday 15]
Brand to Conversion  [for Thailand Web Wednesday 15]Brand to Conversion  [for Thailand Web Wednesday 15]
Brand to Conversion [for Thailand Web Wednesday 15]
 
MVNO Consulting Services
MVNO Consulting ServicesMVNO Consulting Services
MVNO Consulting Services
 
Thailand's Telecom Market Information Q1 2015
Thailand's Telecom Market Information Q1 2015 Thailand's Telecom Market Information Q1 2015
Thailand's Telecom Market Information Q1 2015
 

Similar a Thailand Internet User Profile 2016

Thailand Internet User Profile 2013 Report
Thailand Internet User Profile 2013 ReportThailand Internet User Profile 2013 Report
Thailand Internet User Profile 2013 ReportWiseKnow Thailand
 
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013Boonlert Aroonpiboon
 
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013Peerasak C.
 
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITIMC Institute
 
ผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
ผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560ผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
ผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560Worapol Limsiriwong (Nex)
 
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)ETDAofficialRegist
 
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง (เครือข่ายพลเมืองเน็ต)
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง (เครือข่ายพลเมืองเน็ต)แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง (เครือข่ายพลเมืองเน็ต)
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง (เครือข่ายพลเมืองเน็ต)Thai Netizen Network
 
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมืองแนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมืองArthit Suriyawongkul
 
Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018ETDAofficialRegist
 
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)ETDAofficialRegist
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560WiseKnow Thailand
 
Thai gov-web-guideline-130625032414-phpapp01
Thai gov-web-guideline-130625032414-phpapp01Thai gov-web-guideline-130625032414-phpapp01
Thai gov-web-guideline-130625032414-phpapp01Chukiat Sakjirapapong
 

Similar a Thailand Internet User Profile 2016 (20)

Thailand Internet User Profile 2013 Report
Thailand Internet User Profile 2013 ReportThailand Internet User Profile 2013 Report
Thailand Internet User Profile 2013 Report
 
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
 
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
 
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
 
Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013Thailand Internet User Profile 2013
Thailand Internet User Profile 2013
 
Thailand internet user profile 2013
Thailand internet user profile 2013Thailand internet user profile 2013
Thailand internet user profile 2013
 
Thailand E commerce survey 2015
Thailand E commerce survey 2015 Thailand E commerce survey 2015
Thailand E commerce survey 2015
 
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
 
ผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
ผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560ผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
ผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
 
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
 
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง (เครือข่ายพลเมืองเน็ต)
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง (เครือข่ายพลเมืองเน็ต)แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง (เครือข่ายพลเมืองเน็ต)
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง (เครือข่ายพลเมืองเน็ต)
 
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมืองแนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง
 
Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018
 
Fact sheet TSPA & Members
Fact sheet TSPA & MembersFact sheet TSPA & Members
Fact sheet TSPA & Members
 
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
 
190828 royal council (6) passakorn
190828 royal council (6) passakorn190828 royal council (6) passakorn
190828 royal council (6) passakorn
 
Thai gov-web-guideline-130625032414-phpapp01
Thai gov-web-guideline-130625032414-phpapp01Thai gov-web-guideline-130625032414-phpapp01
Thai gov-web-guideline-130625032414-phpapp01
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
 

Más de WiseKnow Thailand

Capital in the Twenty-First Century.pdf
Capital in the Twenty-First Century.pdfCapital in the Twenty-First Century.pdf
Capital in the Twenty-First Century.pdfWiseKnow Thailand
 
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdf
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdfeBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdf
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdfWiseKnow Thailand
 
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human Intelligence
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human IntelligenceThe Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human Intelligence
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human IntelligenceWiseKnow Thailand
 
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdf
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdfตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdf
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdfWiseKnow Thailand
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564WiseKnow Thailand
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564WiseKnow Thailand
 
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdf
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdfคู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdf
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdfWiseKnow Thailand
 
Thailand Internet User Behavior 2020 Presentation
Thailand Internet User Behavior 2020 PresentationThailand Internet User Behavior 2020 Presentation
Thailand Internet User Behavior 2020 PresentationWiseKnow Thailand
 
Thailand Internet User Behavior 2020
Thailand Internet User Behavior 2020Thailand Internet User Behavior 2020
Thailand Internet User Behavior 2020WiseKnow Thailand
 
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5WiseKnow Thailand
 
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial Inclusion
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial InclusionThailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial Inclusion
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial InclusionWiseKnow Thailand
 
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailand
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailandสู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailand
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of ThailandWiseKnow Thailand
 
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?What if the next big disruptor isn’t a what but a who?
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?WiseKnow Thailand
 
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016WiseKnow Thailand
 
An Ericsson Consumer Insight Report : TV and Media 2015
An Ericsson Consumer Insight Report : TV and Media 2015An Ericsson Consumer Insight Report : TV and Media 2015
An Ericsson Consumer Insight Report : TV and Media 2015WiseKnow Thailand
 
แผนที่จุดจอดรถตู้-รถเมล์อนุสาวรียชัย์ฯ
แผนที่จุดจอดรถตู้-รถเมล์อนุสาวรียชัย์ฯแผนที่จุดจอดรถตู้-รถเมล์อนุสาวรียชัย์ฯ
แผนที่จุดจอดรถตู้-รถเมล์อนุสาวรียชัย์ฯWiseKnow Thailand
 
คณะรัฐมนตรีใหม่ 'ประยุทธ์ 3'
คณะรัฐมนตรีใหม่ 'ประยุทธ์ 3'คณะรัฐมนตรีใหม่ 'ประยุทธ์ 3'
คณะรัฐมนตรีใหม่ 'ประยุทธ์ 3'WiseKnow Thailand
 

Más de WiseKnow Thailand (20)

Capital in the Twenty-First Century.pdf
Capital in the Twenty-First Century.pdfCapital in the Twenty-First Century.pdf
Capital in the Twenty-First Century.pdf
 
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdf
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdfeBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdf
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdf
 
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human Intelligence
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human IntelligenceThe Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human Intelligence
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human Intelligence
 
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdf
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdfตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdf
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdf
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
 
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdf
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdfคู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdf
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdf
 
Thailand Internet User Behavior 2020 Presentation
Thailand Internet User Behavior 2020 PresentationThailand Internet User Behavior 2020 Presentation
Thailand Internet User Behavior 2020 Presentation
 
Thailand Internet User Behavior 2020
Thailand Internet User Behavior 2020Thailand Internet User Behavior 2020
Thailand Internet User Behavior 2020
 
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5
 
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial Inclusion
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial InclusionThailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial Inclusion
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial Inclusion
 
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailand
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailandสู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailand
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailand
 
CLS for Volunteer
CLS for VolunteerCLS for Volunteer
CLS for Volunteer
 
Cyber Threats 2015
Cyber Threats 2015Cyber Threats 2015
Cyber Threats 2015
 
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?What if the next big disruptor isn’t a what but a who?
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?
 
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016
 
An Ericsson Consumer Insight Report : TV and Media 2015
An Ericsson Consumer Insight Report : TV and Media 2015An Ericsson Consumer Insight Report : TV and Media 2015
An Ericsson Consumer Insight Report : TV and Media 2015
 
แผนที่จุดจอดรถตู้-รถเมล์อนุสาวรียชัย์ฯ
แผนที่จุดจอดรถตู้-รถเมล์อนุสาวรียชัย์ฯแผนที่จุดจอดรถตู้-รถเมล์อนุสาวรียชัย์ฯ
แผนที่จุดจอดรถตู้-รถเมล์อนุสาวรียชัย์ฯ
 
คณะรัฐมนตรีใหม่ 'ประยุทธ์ 3'
คณะรัฐมนตรีใหม่ 'ประยุทธ์ 3'คณะรัฐมนตรีใหม่ 'ประยุทธ์ 3'
คณะรัฐมนตรีใหม่ 'ประยุทธ์ 3'
 
2015 BrandZ Top 100 Chart
2015 BrandZ Top 100 Chart2015 BrandZ Top 100 Chart
2015 BrandZ Top 100 Chart
 

Thailand Internet User Profile 2016

  • 1.
  • 2. ชื่อเรื่อง รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ในประเทศไทย ปี 2559 Thailand Internet User Profile 2016 จัดทำ�โดย สำ�นักยุทธศาสตร์ สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ISBN ISBN 978-974-9765-74-6 พิมพ์ครั้งที่ 1 สิงหาคม 2559 พิมพ์จำ�นวน 2,000 เล่ม ราคา 200 บาท สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
  • 3. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. เป็นองค์กรของรัฐที่ท�ำหน้าที่พัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ มีการบริหารจัดการและกำ�หนดนโยบายโดยคณะกรรมการบริหาร
  • 4.
  • 5. รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 Thailand Internet User Profile 2016 4 ดร.อุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การจะเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่ เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม หรือ Thailand 4.0 ต้องพึ่งพิงข้อมูล ที่สะท้อนความต้องการของผู้บริโภค ได้อย่างถูกต้อง ใกล้เคียงความเป็นจริง ผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จึงถือเป็นข้อมูลชิ้นสำ�คัญ ที่จะช่วยเพิ่มความได้เปรียบในเชิงการแข่งขัน ให้แก่ภาคการผลิตและภาคธุรกิจ
  • 6.
  • 7. รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 Thailand Internet User Profile 2016 6 ทรงพร โกมลสุรเดช ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พฤติกรรมการใช้ Internet ของคนไทย เป็นสิ่งที่กระทรวง ICT ให้ความสำ�คัญ เพราะสะท้อนว่า วันนี้ เราอยู่ตรงไหน... ยุทธศาสตร์ตอบโจทย์ และ ความต้องการของสังคมได้อย่างไร... ในวันที่สังคมไทยต้องเตรียมพร้อม ก้าวกระโดดรับเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล เพื่อเป็น Thailand 4.0 เต็มรูปแบบ
  • 8.
  • 9. รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 Thailand Internet User Profile 2016 8 (สุรางคณา วายุภาพ) ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทคและการสื่อสาร พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต มีความน่าสนใจ ตัวเลขที่สำ�รวจแต่ละปี สะท้อนปรากฏการณ์ทางสังคม จำ�เป็นสำ�หรับการกำ�หนด ”นโยบาย” หรือ ”ยุทธศาสตร์” ของรัฐ และจำ�เป็นสำ�หรับ “การปรับตัวของภาคธุรกิจ” ให้เหมาะกับ Lifestyle ที่เปลี่ยนไปในแต่ละปี
  • 11. รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 Thailand Internet User Profile 2016 10 คำ�นำ� ในการก�ำหนดนโยบายด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (Digital Economy) เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการวางแผนระดับชาติ/ระดับหน่วยงาน และสามารถ ตอบโจทย์/ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริงนั้น จ�ำเป็นที่จะต้องมี ข้อมูลส่วนหนึ่งเพื่อใช้สะท้อนภาพของพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตจากภาคประชาชน ทุกกลุ่ม และข้อมูลดังกล่าวควรจะมีการจัดท�ำอย่างต่อเนื่องเป็นประจ�ำทุกปี เพื่อให้เห็น ทิศทางการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งแนวโน้มของการใช้งานอินเทอร์เน็ตและพฤติกรรมของ ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต นอกจากนี้ข้อมูลดังกล่าวยังสามารถน�ำไปใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นที่ส�ำคัญส�ำหรับ ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์รายใหม่ที่สนใจจะเข้ามาท�ำธุรกิจนี้หรือผู้ที่ประกอบ ธุรกิจออนไลน์อยู่แล้ว ได้ท�ำความเข้าใจในลักษณะการใช้งานและพฤติกรรมของผู้ใช้ อินเทอร์เน็ต เพื่อจะได้ก�ำหนดกลยุทธ์/วางแผนการตลาดให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงภาครัฐจะได้น�ำข้อมูลไปใช้ก�ำหนดนโยบายเพื่อผลักดันให้การใช้อินเทอร์เน็ต เป็นไปอย่างแพร่หลายและเหมาะสม ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. ซึ่ง มีภารกิจหลักในการพัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของ ประเทศ ร่วมผลักดันโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้อต่อการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และ สนับสนุนธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนการมีมาตรฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีความมั่นคงปลอดภัยและน่าเชื่อถือ สพธอ. ได้เห็นถึงความส�ำคัญในการจัดเก็บข้อมูลพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จึงได้ ริเริ่มให้มีโครงการส�ำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยขึ้นมานับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 และจัดท�ำการส�ำรวจนี้เป็นประจ�ำอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ จัดเก็บข้อมูลลักษณะของผู้ใช้งานและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยไว้เป็น ฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ อันน�ำไปสู่การก�ำหนดยุทธศาสตร์ที่จ�ำเป็นต่อไป
  • 12. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 11 ในรายงานฉบับนี้จะน�ำเสนอผลการส�ำรวจโดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลัก ๆ ได้แก่ ส่วนแรก เป็นการส�ำรวจพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต และส่วนที่ 2 เป็นการส�ำรวจเรื่อง ที่ก�ำลังได้รับความสนใจอยู่ในช่วงที่ท�ำการส�ำรวจ ข้อค�ำถามจึงมีการปรับเปลี่ยนไปทุกปี โดยในปีนี้เป็นการส�ำรวจว่าเมื่อเทคโนโลยี 4G เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการในปีนี้แล้ว ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมีความคิดเห็นเป็นเช่นไรกับการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นการส�ำรวจในมิติของปริมาณการใช้งาน ความ คิดเห็นที่มีต่อความเร็วในการท�ำกิจกรรมแต่ละประเภท รวมทั้งปัญหาที่ประสบกันอยู่ใน ขณะนี้ เป็นต้น อนึ่ง การส�ำรวจครั้งนี้เป็นการส�ำรวจผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยผู้ตอบต้องเป็นผู้ที่ พักอาศัยในประเทศไทยเท่านั้น ในการตอบแบบส�ำรวจเป็นการเข้ามาตอบด้วยความ สมัครใจ (Self-Selection) แม้ว่าโดยระเบียบวิธีทางวิชาการทางสถิติ ข้อมูลที่ประมวล ผลได้ไม่ถือว่าเป็นตัวแทนของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั้งประเทศไทย แต่เนื่องจากมีผู้ให้ความ ร่วมมือเข้ามาตอบแบบส�ำรวจครั้งนี้มากถึง 16,661 คน และการประมวลผลข้อมูลมีการ ถ่วงน�้ำหนักตามโครงสร้างอายุและพื้นที่พักอาศัยของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั้งสิ้นในประเทศไทย โดยโครงสร้างดังกล่าวมาจากการส�ำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในครัวเรือน ปี 2557 ซึ่งจัดท�ำโดยส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ ผลการส�ำรวจจึงถือว่ามีความ น่าเชื่อถือได้ในระดับหนึ่ง นอกจากนี้ในการประมวลผลและวิเคราะห์ผลยังมีการจัดตั้งคณะท�ำงานซึ่งมาจาก หน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์สอดคล้องกับการด�ำเนินการส�ำรวจครั้ง นี้ เพื่อให้ผลการส�ำรวจครั้งนี้มีความถูกต้องแม่นย�ำตามหลักวิชาการ การส�ำรวจครั้งนี้ได้รับความอนุเคราะห์เป็นอย่างดีจากหน่วยงานภาครัฐและภาค เอกชนในการประชาสัมพันธ์ติดป้ายประกาศ (Banner) เชิญชวนให้มีผู้เข้ามาตอบแบบ ส�ำรวจจากเว็บไซต์หลายแห่ง รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้เจ้าหน้าที่/พนักงานภายใต้ สังกัดหน่วยงานได้ร่วมตอบแบบส�ำรวจฯ นี้ด้วย ดังมีรายชื่อในภาคผนวกท้ายเล่ม สพธอ.
  • 13. รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 Thailand Internet User Profile 2016 12 จึงขอขอบพระคุณหน่วยงานดังกล่าวไว้ ณ ที่นี้ และหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ กับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะกลุ่มผู้ประกอบการพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ และผู้ที่สนใจโดยทั่วไป สุรางคณา วายุภาพ ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม 2559
  • 14. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 13 Gen Z Gen Y Gen X Baby Boomer (Awareness) Lifestyle 1 100% . . 2544 . . 2524–2543 . . 2508–2523 . . 2489–2507 6.2 / ( 2558 5.7 / ) 1 2 3 4 5 6 7 5 & 6 ” ”
  • 15. รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 Thailand Internet User Profile 2016 14 สารบัญ คำ�นำ� ........................................................................................................10 สารบัญภาพ..............................................................................................16 สารบัญตาราง .........................................................................................19 บทสรุปผู้บริหาร........................................................................................20 ผลการสำ�รวจที่สำ�คัญ...............................................................................21 บทนำ�........................................................................................................25 วัตถุประสงค์ของการสำ�รวจ.................................................................26 วิธีการสำ�รวจ.......................................................................................26 ระเบียบวิธีวิจัย.....................................................................................27 พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต....................................................................28 ระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต..................................................................32 อุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต....................................................36 ช่วงเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต...................................................................38 อุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตในช่วงเวลาต่าง ๆ.........................40 สถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต........................................................................44 กิจกรรมการใช้งานผ่านอินเทอร์เน็ต......................................................48
  • 16. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 15 การใช้งานสื่อสังคมออนไลน์.................................................................54 ปัญหาจากการใช้อินเทอร์เน็ต................................................................60 เจาะลึกพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต รายเจนเนอเรชั่น..............................65 Gen Z...............................................................................................66 Gen Y...............................................................................................68 Gen X...............................................................................................70 Baby Boomer................................................................................72 พฤติกรรมการใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์....................................................75 การใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่เข้าถึงอินเทอร์เน็ตในยุค 3G/4G........................81 ภาคผนวก.................................................................................................95 ภาพรวมของผู้ตอบแบบสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ในประเทศไทย ปี 2559.....................................................................96 แบบสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศ ปี 2559...............105 รายชื่อหน่วยงานผู้ให้ความอนุเคราะห์ในการติดป้ายประกาศ (Banner) โดยไม่คิดค่่าใช้จ่าย............................................................................112 ตารางสถิติ.......................................................................................121 ทีมงานจัดทำ�โครงการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ในประเทศไทย ปี 2559.......................................................................128
  • 17. รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 Thailand Internet User Profile 2016 16 สารบัญภาพ ภาพ 1 จำ�นวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยต่อสัปดาห์ จำ�แนกตามลักษณะทั่วไปของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต..............................32 ภาพ 2 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต และจำ�นวนชั่วโมงการใช้งานเฉลี่ยต่อวัน เปรียบเทียบตามอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต..................36 ภาพ 3 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามช่วงเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ต....................................38 ภาพ 4 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามการใช้งานอุปกรณ์ แต่ละประเภทในช่วงเวลาต่าง ๆ...................................................40 ภาพ 5 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามสถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต......................................44 ภาพ 6 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายพื้นที่พักอาศัย เปรียบเทียบตามสถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต......................................46 ภาพ 7 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามกิจกรรมการใช้งานผ่านอินเทอร์เน็ต....................48 ภาพ 8 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบ 5 อันดับแรกของ กิจกรรมการใช้งานผ่านอินเทอร์เน็ต ระหว่างอุปกรณ์เคลื่อนที่กับ คอมพิวเตอร์..............................................................................50 ภาพ 9 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามความนิยมของ สื่อสังคมออนไลน์.......................................................................54
  • 18. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 17 ภาพ 10 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามความนิยมของสื่อสังคมออนไลน์.........................56 ภาพ 11 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามความถี่ในการใช้งานสื่อสังคมออนไลน์.................58 ภาพ 12 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามปัญหาที่เกิดจาก การทำ�กิจกรรมผ่านอินเทอร์เน็ต..................................................60 ภาพ 13 พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของ Gen Z................................. 66 ภาพ 14 พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของ Gen Y................................ 68 ภาพ 15 พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของ Gen X................................ 70 ภาพ 16 พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของ Baby Boomer ................ 72 ภาพ 17 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามการใช้บริการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์....................76 ภาพ 18 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามภาษาที่ใช้ในการอ่านเนื้อหาจากเว็บไซต์........................78 ภาพ 19 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จำ�แนกตามการรับรู้และการป้อนชื่อ เว็บไซต์เป็นภาษาไทย..................................................................79 ภาพ 20 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ จำ�แนกตามอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงและเครือข่าย การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต.............................................................84 ภาพ 21 ร้อยละของผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ผ่านระบบ 3G/4G จำ�แนกตามช่องทางในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต............................86
  • 19. รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 Thailand Internet User Profile 2016 18 ภาพ 22 ร้อยละของผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ผ่านระบบ 3G/4G เปรียบเทียบตามกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำ�ผ่านระบบ 3G/4G...........88 ภาพ 23 จำ�นวนครั้งในการทำ�กิจกรรมเฉลี่ยต่อสัปดาห์ จำ�แนกตาม กิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำ�ผ่านระบบ 3G/4G....................................90 ภาพ 24 ร้อยละของผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ผ่านระบบ 3G/4G เปรียบเทียบตามปัญหาที่เกิดจากการใช้งานระบบ 3G/4G.........92 ภาพ 25 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำ�รวจ จำ�แนกตามเพศ..............................96 ภาพ 26 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำ�รวจ จำ�แนกตามสถานภาพสมรส............97 ภาพ 27 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำ�รวจ จำ�แนกตามเจนเนอเรชั่น.................98 ภาพ 28 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำ�รวจ จำ�แนกตามพื้นที่พักอาศัย...............99 ภาพ 29 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำ�รวจ จำ�แนกตามระดับการศึกษา..........100 ภาพ 30 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำ�รวจ จำ�แนกตามสถานภาพการทำ�งาน..............................................101 ภาพ 31 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำ�รวจ จำ�แนกตามระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือน.......................................102 ภาพ 32 ร้อยละของผู้ตอบแบบสำ�รวจ จำ�แนกตามระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน...................103
  • 20. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 19 สารบัญตาราง ตาราง 1 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามกิจกรรม การใช้งานผ่านอินเทอร์เน็ต ระหว่างอุปกรณ์เคลื่อนที่ กับคอมพิวเตอร์.....................................................................121 ตาราง 2 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามความนิยมของสื่อสังคมออนไลน์....................122 ตาราง3 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามปัญหาที่เกิดจากการทำ�กิจกรรม ผ่านอินเทอร์เน็ต....................................................................123 ตาราง 4 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต.............124 ตาราง 5 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามช่วงเวลาต่าง ๆ ในการใช้อินเทอร์เน็ต.............125 ตาราง 6 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามสถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต..................................126 ตาราง 7 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต รายเจนเนอเรชั่น เปรียบเทียบตามกิจกรรมที่ทำ�ผ่านอินเทอร์เน็ต........................127
  • 21. รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 Thailand Internet User Profile 2016 20 บทสรุปผู้บริหาร การส�ำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 มีวัตถุประสงค์ หลักเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลในมิติต่างๆที่เกี่ยวกับลักษณะและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต ของคนไทย ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้งาน ระยะเวลาและช่วงเวลาในการใช้อินเทอร์เน็ต กิจกรรมที่ท�ำผ่านอินเทอร์เน็ต รวมทั้งปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ที่เกิดจากการใช้อินเทอร์เน็ต นอกจากนี้ในการส�ำรวจแต่ละปี จะมีส่วนที่เป็นค�ำถามพิเศษประจ�ำปี ซึ่งจะเป็นเรื่องที่ น่าสนใจและน่าติดตามของปีที่ท�ำการส�ำรวจ จากการเปิดประมูลคลื่นความถี่ของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมเมื่อปลายเดือนธันวาคม 2558 ที่ผ่านมา ท�ำให้มีการเปิดให้บริการเทคโนโลยี 4G อย่างเป็นทางการในปีนี้ ค�ำถาม พิเศษจึงเป็นการส�ำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่ได้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่เข้าถึง อินเทอร์เน็ตผ่านเครือข่ายระบบ 3G และ 4G ในแง่มุมต่าง ๆ เช่น ใช้ท�ำกิจกรรมต่าง ๆ กันมากน้อยแค่ไหน และจากการเปลี่ยนผ่านยุค 2G มา มีกิจกรรมใดบ้างที่ท�ำแล้วรู้สึก ว่ารวดเร็วขึ้น รวมทั้งปัญหาต่าง ๆ ที่ประสบกันอยู่ในปัจจุบัน เป็นต้น นอกจากนี้ การน�ำเสนอผลการส�ำรวจในปีนี้ ยังเพิ่มอรรถประโยชน์ให้กับผู้ใช้ข้อมูล ด้วยการน�ำพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตมาแจกแจงเป็นรายเจนเนอเรชั่น และน�ำเสนอ ในรูปแบบของ Infographic เพื่อให้ผู้ใช้ข้อมูลไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ผู้ประกอบ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และผู้ที่สนใจ ได้เข้าใจพฤติกรรมลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย และ สามารถน�ำข้อมูลดังกล่าวไปใช้ในการก�ำหนดนโยบาย/วางแผนธุรกิจ/แผนการตลาด เพื่อ ให้ตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างแท้จริง การส�ำรวจครั้งนี้เป็นการส�ำรวจทางอินเทอร์เน็ต สพธอ. เริ่มวางแบบส�ำรวจบน เว็บไซต์ต่าง ๆ และเครือข่ายสังคมออนไลน์ ตั้งแต่กลางเดือนมีนาคมจนถึงสิ้นเดือน พฤษภาคม 2559 มีผู้ให้ความสนใจเข้ามาตอบแบบส�ำรวจด้วยความสมัครใจมากถึง 16,661 คน
  • 22. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 21 ผลการสำ�รวจที่สำ�คัญ ข้อมูลลักษณะทั่วไปของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จากจ�ำนวนผู้ที่เข้ามาตอบแบบส�ำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยปี 2559 ด้วยความสมัครใจทั้งหมด 16,661 คน พบว่า เพศหญิง (ร้อยละ 57.3) เข้ามา ตอบแบบส�ำรวจสูงกว่าเพศชาย (ร้อยละ 41.1) และเพศที่สาม ซึ่งมีเพียงร้อยละ 1.3 เท่านั้น ในปีนี้ยังคงจ�ำแนกช่วงอายุของผู้ตอบแบบส�ำรวจออกเป็น 4 เจนเนอเรชั่น ได้แก่ Gen Z, Gen Y, Gen X และ Baby Boomer จากจ�ำนวนผู้ตอบแบบส�ำรวจทั้งหมด Gen Y (ร้อยละ 54.5) เข้ามาตอบแบบส�ำรวจสูงกว่าเจนเนอเรชั่นอื่น ๆ โดยเปรียบเทียบ รองลงมา เป็น Gen X (ร้อยละ 36.3), Baby Boomer (ร้อยละ 8.5) และ Gen Z (ร้อย ละ 0.8) ตามล�ำดับ (ดูข้อมูลรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากภาคผนวกท้ายเล่ม) ส่วนการกระจายตัวของผู้ตอบแบบส�ำรวจ จ�ำแนกตามสถานที่พักอาศัย พบว่า ประกอบด้วยผู้ที่อาศัยในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัดในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน และมีการ กระจายตัวของเพศ อายุ การศึกษา สถานภาพการท�ำงานและรายได้ที่สอดคล้องกับ โครงสร้างประชากร สามารถน�ำไปวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตเปรียบเทียบ ระหว่างกลุ่มได้ พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต จากผลการส�ำรวจ พบว่า จ�ำนวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 45.0 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือคิดเป็นระยะเวลาการใช้งานเฉลี่ย 6.4 ชั่วโมงต่อวัน โดยเพศที่สาม และ Gen Y เป็นกลุ่มที่มีการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยสูงที่สุด อยู่ที่ 48.9 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และ 53.2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ตามล�ำดับ ในปี 2559 นี้ สมาร์ตโฟนยังคงเป็นอุปกรณ์หลักที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนิยมใช้ในการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โดยมีจ�ำนวนผู้ใช้งานมากถึงร้อยละ 85.5 และมีจ�ำนวนชั่วโมงการ
  • 23. รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 Thailand Internet User Profile 2016 22 ใช้งานโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 6.2 ชั่วโมงต่อวัน ซึ่งทั้งจ�ำนวนผู้ใช้งานและจ�ำนวนชั่วโมงการใช้ งานของปีนี้สูงกว่าปีที่แล้วอย่างเห็นได้ชัด โดยในปี 2558 มีจ�ำนวนผู้ใช้งานร้อยละ 82.1 และมีจ�ำนวนชั่วโมงการใช้งานโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 5.7 ชั่วโมงต่อวันเท่านั้น ช่วงเวลาเรียน/ท�ำงาน (08.01–16.00 น.) คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเป็นอุปกรณ์อันดับ 1 ที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนิยมใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต โดยช่วงเวลา 08.01–12.00 น. เป็นช่วงเวลาที่คนนิยมใช้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตมากที่สุด คิด เป็นร้อยละ 64.5 ช่วงเวลาหลังเลิกเรียน/ท�ำงานจนถึงเช้า (16.01–08.00 น.) สมาร์ตโฟนเป็นอุปกรณ์ อันดับ 1 ที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนิยมใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต โดยช่วงเวลา 16.01–20.00 น. เป็นช่วงเวลาที่คนนิยมใช้สมาร์ตโฟนในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตมาก ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 68.4 จากผลการส�ำรวจ ยังพบอีกว่า ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่พักอาศัยในกรุงเทพฯ คิดเป็นร้อย ละ 29.3 ใช้อินเทอร์เน็ตระหว่างการเดินทางในสัดส่วนที่สูงกว่าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่พัก อาศัยในต่างจังหวัด ซึ่งมีเพียงร้อยละ 10.3 เท่านั้น ด้วยโครงสร้างพื้นฐานทางอินเทอร์เน็ต ของคนกรุงเทพฯ ที่ดีและพร้อมกว่าต่างจังหวัด และการที่คนกรุงเทพฯ ในปัจจุบันต้อง ประสบปัญหาสภาพการจราจรที่แออัดหนาแน่นกว่าต่างจังหวัด ท�ำให้คนกรุงเทพฯ นิยม ที่จะหยิบโทรศัพท์มือถือขึ้นมาเล่น/ใช้งานในระหว่างรถติด กิจกรรมยอดนิยม 5 อันดับแรกที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนิยมท�ำผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ ได้แก่ การพูดคุยผ่าน Social Network (ร้อยละ 86.8) รองลงมา เป็นการดูวิดีโอผ่าน YouTube (ร้อยละ 66.6), การอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (ร้อยละ 55.7), การค้นหา ข้อมูล (ร้อยละ 54.7) และการท�ำธุรกรรมทางการเงิน (ร้อยละ 45.9) ตามล�ำดับ ในขณะที่กิจกรรมยอดฮิต 5 อันดับแรกที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนิยมท�ำผ่านคอมพิวเตอร์ ได้แก่ การค้นหาข้อมูล (ร้อยละ 57.6) รองลงมา เป็นการรับ-ส่งอีเมล (ร้อยละ 56.9), การดูวิดีโอผ่าน YouTube (ร้อยละ 47.2), การดาวน์โหลดซอฟต์แวร์/เพลง/ละคร/เกม (ร้อยละ 45.6) และการอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (ร้อยละ 44.2) ตามล�ำดับ ด้วยพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการติดต่อสื่อสารกันอย่างกว้างขวางใน ปัจจุบัน การส�ำรวจครั้งนี้จึงแบ่งการน�ำเสนอผลการส�ำรวจการใช้งานสื่อสังคมออนไลน์
  • 24. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 23 ออกเป็น 2 มิติ ได้แก่ มิติของความนิยมในการใช้งานสื่อสังคมออนไลน์แต่ละประเภท และมิติของความถี่ในการใช้งานสื่อสังคมออนไลน์แต่ละประเภท จากผลการส�ำรวจสื่อสังคมออนไลน์ยอดนิยม 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก ได้แก่ YouTube มีผู้ใช้งานมากถึงร้อยละ 97.3 รองลงมา คือ Facebook และ Line มีผู้ใช้ งานคิดเป็นร้อยละ 94.8 และ 94.6 ตามล�ำดับ YouTube เป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่กลุ่ม Gen Y และ Gen Z นิยมใช้กันมาก ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 98.8 และ 98.6 ตามล�ำดับ รองลงมา คือ Facebook คิดเป็นร้อย ละ 97.9 และ 93.8 ตามล�ำดับ ส่วนอันดับ 3 คือ Line คิดเป็นร้อยละ 97.2 และ 91.4 ตามล�ำดับ ในขณะที่ Line เป็นแอปพลิเคชันที่กลุ่ม Baby Boomer และ Gen X นิยมใช้ใน การติดต่อสื่อสารมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 91.5 และ 96.2 ตามล�ำดับ รองลงมา คือ YouTube คิดเป็นร้อยละ 89.3 และ 95.3 ตามล�ำดับ ส่วนอันดับ 3 คือ Facebook คิด เป็นร้อยละ 86.5 และ 93.9 ตามล�ำดับ ในมิติของความถี่ในการใช้งานสื่อสังคมออนไลน์แต่ละประเภท Facebook เป็นสื่อ สังคมออนไลน์ที่มีปริมาณการใช้งานบ่อยที่สุดเป็นอันดับ 1 รองลงมา เป็น Line และ YouTube โดยมีสัดส่วนของผู้ใช้งาน คิดเป็นร้อยละ 84.2, 82.0 และ 76.9 ตามล�ำดับ ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดจากการใช้อินเทอร์เน็ต จากผลการส�ำรวจ พบว่า ปัญหาอันดับ แรก ได้แก่ ความล่าช้าในการเชื่อมต่อ/ใช้อินเทอร์เน็ต (ร้อยละ 70.3) รองลงมา เป็น เรื่องของปริมาณโฆษณาที่มารบกวน (ร้อยละ 50.7), การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตยาก/หลุด บ่อย (ร้อยละ 32.7), เสียค่าใช้จ่ายแพง (ร้อยละ 26.8) และการให้บริการอินเทอร์เน็ต ยังไม่ทั่วถึง (ร้อยละ 21.2) ตามล�ำดับ
  • 25. รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 Thailand Internet User Profile 2016 24 การใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่เข้าถึงอินเทอร์เน็ตในยุค 3G/4G กิจกรรม 3 อันดับแรกที่ผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ผ่านระบบ 3G/4G รู้สึกว่าท�ำได้รวดเร็ว ขึ้น อันดับ 1 ได้แก่ การแชร์รูปถ่าย/วิดีโอ/อัพโหลดคลิปผ่านโซเชียลมีเดีย คิดเป็นร้อย ละ 75.9 รองลงมา เป็นการคุยโทรศัพท์ผ่านอินเทอร์เน็ต/คุยโทรศัพท์ผ่าน Video call และการดูโทรทัศน์/ฟังเพลง/เล่นเกมออนไลน์ คิดเป็นร้อยละ 68.1 และ 60.3 ตามล�ำดับ หากพิจารณาว่ากิจกรรมใดที่มีการใช้งานถี่ที่สุดในรอบสัปดาห์ จากผลการส�ำรวจ พบว่า ผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ผ่านระบบ 3G/4G ส่วนใหญ่นิยมดูโทรทัศน์/ฟังเพลง/เล่น เกมออนไลน์โดยมีการท�ำกิจกรรมดังกล่าวโดยเฉลี่ย14ครั้งต่อสัปดาห์รองลงมาเป็นการ แชร์รูปถ่าย/วิดีโอ/อัพโหลดคลิปผ่านโซเชียลมีเดีย และการคุยโทรศัพท์ผ่านอินเทอร์เน็ต/ คุยโทรศัพท์ผ่าน Video call โดยมีการท�ำกิจกรรมดังกล่าวโดยเฉลี่ย 11 ครั้งต่อสัปดาห์ และ 9 ครั้งต่อสัปดาห์ ตามล�ำดับ ในความคิดเห็นของผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ผ่านระบบ 3G/4G ปัญหาส�ำคัญที่สุด 3 อันดับแรกที่เกิดจากการใช้งานระบบ 3G/4G อันดับแรก เป็นเรื่องของความสิ้นเปลือง แบตเตอรี่ ต้องหมั่นคอยชาร์จ รองลงมา เป็นเรื่องของการใช้งาน 4G ในบางพื้นที่ไม่มี สัญญาณ หรือสัญญาณอ่อน และค่าใช้จ่ายในการใช้งานค่อนข้างสูง คิดเป็นร้อยละ 70.4, 64.7 และ 40.2 ตามล�ำดับ
  • 26. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 25 บทนำ� ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. มีภารกิจหลักในการพัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของ ประเทศ ซึ่งครอบคลุมทั้งการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และการให้บริการของรัฐทางออนไลน์ ร่วมผลักดันโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศที่เอื้อต่อการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ สนับสนุนธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนก�ำหนดมาตรฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ และเพื่อให้การท�ำธุรกรรมทางออนไลน์มีความมั่นคงปลอดภัยและ น่าเชื่อถือ ด้วยภารกิจดังที่กล่าวมา การศึกษาวิจัยพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยจึง มีความส�ำคัญเป็นอย่างมาก เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน สามารถ น�ำข้อมูลที่สะท้อนพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตในหลาย ๆ มิติไปใช้ในการก�ำหนดทิศทาง ในการพัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ให้สอดคล้องและ ตอบสนองความต้องการของประชาชน/ผู้บริโภคได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สพธอ. จึงได้จัดให้มีการส�ำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 (Thailand Internet User Profile 2016) ขึ้น ซึ่งเป็นการส�ำรวจเป็นประจ�ำทุกปี โดย ในการส�ำรวจจะเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต และมีการผนวก ค�ำถามพิเศษประจ�ำปี โดยในปีนี้เป็นค�ำถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ เข้าถึงอินเทอร์เน็ตในยุค 3G/4G สพธอ. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลการส�ำรวจจะเป็นประโยชน์ส�ำหรับหน่วยงานภาครัฐที่ จะน�ำไปใช้ในการวางแผน/ก�ำหนดนโยบายให้สอดคล้องกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตกลุ่ม ต่าง ๆ รวมทั้งภาคเอกชน โดยเฉพาะผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถน�ำ ข้อมูลผลการส�ำรวจไปใช้ประกอบการจัดท�ำแผนธุรกิจหรือปรับกลยุทธ์การตลาดให้ สอดคล้องกับความต้องการหรือพฤติกรรมของลูกค้ากลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิผล อันจะส่งผลให้การท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศมีอัตราการเติบโตเพิ่มสูงขึ้น
  • 27. รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 Thailand Internet User Profile 2016 26 วัตถุประสงค์ของการสำ�รวจ 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยอย่าง ต่อเนื่องเป็นประจ�ำทุกปี ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง 2. เพื่อรวบรวมข้อมูลที่อยู่ในความสนใจในปีที่มีการส�ำรวจ ซึ่งผู้ที่สนใจสามารถ น�ำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างทันสถานการณ์ 3. เพื่อให้มีข้อมูลที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นต่อการพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ไว้ให้บริการแก่ผู้ใช้ข้อมูลภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้สนใจโดยทั่วไปอย่าง ต่อเนื่อง 4. เพื่อให้ สพธอ. มีข้อมูลไว้ใช้ส�ำหรับใช้ก�ำหนดยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมและ สนับสนุนการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งการติดตามและ ประเมินผล วิธีการสำ�รวจ การส�ำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 นี้ ยังคงเป็นการ ส�ำรวจทางอินเทอร์เน็ตเช่นในปีที่ผ่านมา โดยได้น�ำแบบส�ำรวจดังกล่าวไปวาง (ติด แบนเนอร์) ไว้ในหน้าเว็บไซต์ของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่ให้ความ อนุเคราะห์พื้นที่ในการประชาสัมพันธ์ รวมทั้งการกระจายแบบส�ำรวจผ่านช่องทาง โซเชียลมีเดีย เช่น Facebook เพื่อให้มีการกระจายแบบส�ำรวจไปยังกลุ่มตัวอย่างอย่าง ทั่วถึง การส�ำรวจนี้ได้เริ่มกระจายแบบส�ำรวจตั้งแต่กลางเดือนมีนาคมจนถึงสิ้นเดือน พฤษภาคม 2559 โดยมีผู้ให้ความสนใจเข้ามาตอบแบบส�ำรวจได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ จ�ำนวนทั้งสิ้น 16,661 คน จากนั้นจึงน�ำผลการตอบแบบส�ำรวจที่ได้ทั้งหมดเข้าสู่ กระบวนการประมวลผลโดยใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูปทางสถิติ
  • 28. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 27 ระเบียบวิธีวิจัย การส�ำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต ของคนไทย โดยเลือกใช้การตอบแบบส�ำรวจผ่านทางอินเทอร์เน็ตและเครือข่ายสังคม ออนไลน์ และเนื่องจากทีมวิจัยไม่มีรายชื่อของประชากรผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั้งหมด จึงไม่ ได้ใช้การเลือกตัวอย่างตามหลักความน่าจะเป็น ผู้ที่เข้ามาตอบแบบส�ำรวจ คือ ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่เข้ามาตอบด้วยความสมัครใจ (Self Selection) ท�ำให้เมื่อพิจารณารายกลุ่มย่อย สัดส่วนของจ�ำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจาก ตัวอย่างที่ได้ จึงอาจแตกต่างกับสัดส่วนของจ�ำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั้งสิ้นในประเทศไทย ดังนั้นการค�ำนวณค่าต่าง ๆ ในภาพรวมจึงมีการถ่วงน�้ำหนักด้วยสัดส่วนของจ�ำนวนผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตทั้งสิ้นในประเทศไทยรายกลุ่มอายุ และพื้นที่พักอาศัย (กรุงเทพฯ และต่าง จังหวัด) ที่ได้จากการส�ำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัว เรือน พ.ศ. 2557 ของส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ
  • 30. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 29 พฤติกรรมการใช้ อินเทอร์เน็ต ในการส�ำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 นี้ มีผู้ให้ความ สนใจและเข้ามาตอบแบบส�ำรวจมากถึง 16,661 คน จึงได้น�ำผลการตอบแบบส�ำรวจมา ประมวลผลและวิเคราะห์ผล เพื่อแสดงให้ผู้อ่านได้เห็นถึงพฤติกรรมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต1 ในแง่มุมต่าง ๆ ทั้งในเรื่องของระยะเวลาการใช้งานอินเทอร์เน็ต อุปกรณ์การใช้งาน ช่วง เวลาที่ใช้งาน สถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต กิจกรรมต่าง ๆ ที่ใช้งานผ่านทางอินเทอร์เน็ต โซเชียลมีเดียยอดนิยม และปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต ในปีนี้เราจะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าปัจจุบันนี้อุปกรณ์เคลื่อนที่2 กลายเป็นส่วนหนึ่ง ของชีวิตคนไทย (Mobile Life) นับตั้งแต่ตื่นนอนขึ้นมา คงปฏิเสธไม่ได้ว่าเกือบทุกคน เลือกที่จะหยิบโทรศัพท์เคลื่อนที่หรือแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ขึ้นมาก่อนที่จะหยิบแปรงสีฟัน เพื่อจะตรวจสอบว่ามีใครส่งไลน์หรืออีเมลมาถึงเรา ในโลกโซเชียลมีการโพสต์อะไรบ้าง หรือในการเดินทางไปในสถานที่ต่าง ๆ ภาพที่ทุกคนได้เห็นกันอย่างคุ้นชิน ก็คือภาพที่ คนส่วนใหญ่ ทุกเพศและทุกวัย ก้มหน้าก้มตาอ่านหรือจิ้มหน้าจอโทรศัพท์เคลื่อนที่หรือ แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์แทนการพูดคุยกันแล้ว และแม้กระทั่งก่อนเข้านอน สิ่งสุดท้ายที่ คนส่วนใหญ่จะท�ำก่อนนอน ก็ยังหนีไม่พ้นที่จะวางโทรศัพท์เคลื่อนที่หรือแท็บเล็ต คอมพิวเตอร์เป็นสิ่งสุดท้ายก่อนหลับตานอนด้วยเช่นกัน ปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลให้คนไทยในปัจจุบันมีชีวิตติดอินเทอร์เน็ตมากมายเช่นนี้ มา จากการที่ตลาดอุปกรณ์เคลื่อนที่มีการแข่งขันกันอย่างดุเดือด ทั้งลดแลกแจกแถม โดย 1 เนื่องจากเป็นการส�ำรวจทางอินเทอร์เน็ต ผู้ตอบแบบส�ำรวจในที่นี้ จึงหมายถึง ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่สมัคร ใจเข้ามาตอบแบบส�ำรวจ ซึ่งจากนี้ไป ในรายงานผลการส�ำรวจฉบับนี้ จะใช้ค�ำว่า ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 2 อุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile Devices) หมายถึง อุปกรณ์สื่อสารที่ใช้ในการพกพา เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Feature Phone), สมาร์ตโฟน (Smartphone) และแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ (Tablet Computer)
  • 31. รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 Thailand Internet User Profile 2016 30 เฉพาะสมาร์ตโฟนที่มีราคาถูกลงมาก จนท�ำให้ผู้ใช้งานทุกระดับรายได้ สามารถจับจอง เป็นเจ้าของสมาร์ตโฟนได้อย่างง่ายดาย นอกจากนี้การเปิดประมูลคลื่นความถี่ของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมเมื่อปลายเดือน ธันวาคม 2558 ที่ผ่านมา ท�ำให้มีการเปิดให้บริการเทคโนโลยี 4G อย่างเป็นทางการ ส่ง ผลให้ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ค่ายต่าง ๆ ต่างแข่งขันกันพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อให้ บริการผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่สามารถตอบโจทย์ของผู้บริโภคได้ในทุกไลฟ์สไตล์ ด้วยอัตรา ค่าบริการที่เหมาะสม รวมทั้งการเปลี่ยนถ่ายนโยบายของภาครัฐมาสู่แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ สังคม ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2559 ที่มุ่งเน้น การน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เป็นเครื่องมือส�ำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ด้วยปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนสนับสนุนให้เกิดการใช้งาน/การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ ในผู้ใช้งานทุกระดับรายงานผลการส�ำรวจฉบับนี้จึงมีเป้าหมายเพื่อสะท้อนภาพพฤติกรรม การใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยในปัจจุบันว่ามีพฤติกรรมการใช้งานกันอย่างไร เพื่อให้ ผู้ใช้ข้อมูลระดับต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นผู้ก�ำหนดนโยบาย ผู้ประกอบธุรกิจ ผู้ประกอบการ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ นักวิจัย/นักวิเคราะห์ธุรกิจ เป็นต้น สามารถน�ำข้อมูลต่าง ๆ เหล่า นี้ไปใช้ในการก�ำหนดนโยบาย วางแผนการตลาด บริหารจัดการงบประมาณ รวมไปถึง การวิเคราะห์ทิศทางการลงทุนเพื่อให้ตอบสนองความต้องการของลูกค้า/ผู้บริโภคได้ อย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่ากับเม็ดเงิน/งบประมาณที่ลงทุนไป
  • 33. รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 Thailand Internet User Profile 2016 32 Baby BoomerGen Z Gen XGen Y 40.2 53.2 44.3 31.8 ตางจังหวัด 44.648.1 กรุงเทพฯ 45.3 44.7 48.9 จำนวนชั่วโมง การใชอินเทอรเน็ตเฉลี่ย 45.0ชั่วโมง/สัปดาห ชั่วโมง/สัปดาห ชั่วโมง/สัปดาห ชั่วโมง/สัปดาห ชั่วโมง/สัปดาห ชั่วโมง/สัปดาห ชั่วโมง/สัปดาหชั่วโมง/สัปดาห ชั่วโมง/สัปดาห ชั่วโมง/สัปดาห 6.4ชั่วโมง/วัน ระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต ภาพ 1 จำ�นวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยต่อสัปดาห์ จำ�แนกตามลักษณะทั่วไปของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต
  • 34. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 33 ในการส�ำรวจครั้งนี้ พบว่า จ�ำนวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 45.0 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือคิดเป็นระยะเวลาการใช้งานเฉลี่ย 6.4 ชั่วโมงต่อวัน หรือเทียบ เท่ากับว่าในแต่ละวัน จะมีการใช้อินเทอร์เน็ตมากถึง 1 ใน 4 ของวันกันเลยทีเดียว ดัง แสดงในภาพ 1 เมื่อเปรียบเทียบระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยกับลักษณะทั่วไปของผู้ใช้ อินเทอร์เน็ต ได้แก่ เพศ เจนเนอเรชั่น 3 และพื้นที่พักอาศัย จะเห็นได้ว่า เพศที่สาม เป็น เพศที่มีจ�ำนวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตสูงที่สุดเมื่อเทียบกับเพศชายและเพศหญิง โดย เพศที่สาม มีการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยประมาณ 48.9 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ในขณะที่เพศชาย และเพศหญิง มีการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยอยู่ที่ 45.3 และ 44.7 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ตาม ล�ำดับ Gen Y เป็นกลุ่มที่มีจ�ำนวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตสูงที่สุดเมื่อเทียบกับ เจนเนอเรชั่นอื่น ๆ เนื่องจากเป็นกลุ่มคนที่อยู่ในยุคที่ใช้อินเทอร์เน็ตและโซเชียลมีเดีย กันอย่างแพร่หลาย จึงมีการใช้อินเทอร์เน็ตทั้งในการเรียน/การท�ำงานและชีวิตส่วนตัว ดังจะเห็นได้จากผลการส�ำรวจที่พบว่า Gen Y มีการใช้อินเทอร์เน็ตสูงถึง 53.2 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ หรือคิดเป็นระยะเวลาการใช้งานเฉลี่ย 7.6 ชั่วโมงต่อวัน ในขณะที่ Gen X, Gen Z และ Baby Boomer มีจ�ำนวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยอยู่ที่ 44.3, 40.2 และ 31.8 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ตามล�ำดับ ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่พักอาศัยในกรุงเทพฯ ยังคงมีจ�ำนวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตสูง กว่าผู้ที่พักอาศัยในต่างจังหวัด อันเนื่องมาจากโครงสร้างพื้นฐานด้านการสื่อสารดิจิทัล 3 การแบ่งช่วงอายุออกเป็นเจนเนอเรชั่นต่าง ๆ (อ้างอิงจากรายงานผลการส�ำรวจพฤติกรรมผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558) ซึ่งจะแบ่งคนในช่วงอายุต่าง ๆ ออกเป็น 5 เจนเนอเรชั่น ได้แก่ 1. Traditionalist เป็นผู้ที่เกิดในปี พ.ศ. 2468–2488 2. Baby Boomers เป็นผู้ที่เกิดในปี พ.ศ. 2489–2507 3. Generation X หรือเรียกสั้น ๆ ว่า Gen X เป็นผู้ที่เกิดในปี พ.ศ. 2508–2523 4. Generation Y หรือเรียกสั้น ๆ ว่า Gen Y เป็นผู้ที่เกิดในปี พ.ศ. 2524–2543 5. Generation Z หรือเรียกสั้น ๆ ว่า Gen Z เป็นผู้ที่เกิดในปี พ.ศ. 2544 เป็นต้นไป
  • 35. รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 Thailand Internet User Profile 2016 34 ของประเทศไทยยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ โดยเฉพาะระดับหมู่บ้าน มีเพียงร้อยละ 53 (จากจ�ำนวน 74,965 หมู่บ้าน) ที่สามารถเข้าถึงบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ส่วนที่ เหลือเป็นหมู่บ้านที่อยู่ห่างไกลซึ่งยังขาดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคมที่เพียง พอ4 ดังนั้นผู้ให้บริการเทคโนโลยีการสื่อสารจึงยังคงเน้นการพัฒนาจากส่วนกลางกระจาย ออกไปตามพื้นที่ในต่างจังหวัด ท�ำให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในกรุงเทพฯ มีจ�ำนวนชั่วโมงการ ใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 48.1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ส่วนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในต่างจังหวัด มีจ�ำนวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 44.6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์เท่านั้น ทั้งนี้แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ได้ก�ำหนดกรอบยุทธศาสตร์ไว้ 6 ด้าน เพื่อให้วิสัยทัศน์และเป้าหมายในการพัฒนาประเทศด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลบรรลุผล ตามแผนดังกล่าว แต่มีอยู่ 2 ยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาเรื่องความ เหลื่อมล�้ำด้านโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1เน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลประสิทธิภาพสูงให้ครอบคลุม ทั่วประเทศ มุ่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลประสิทธิภาพสูง เพื่อให้ประชาชนทุกคน สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ทุกที่ ทุกเวลา ด้วยความเร็วที่เพียงพอกับความต้องการ ในราคาค่าบริการที่ไม่เป็นอุปสรรคในการเข้าถึง ยุทธศาสตร์ที่ 3 เน้นการสร้างสังคมคุณภาพที่ทั่วถึงเท่าเทียมด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ที่มุ่งสร้างโอกาสและความเท่าเทียมในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้พิการ และกลุ่มผู้ที่อาศัยในพื้นที่ห่างไกล ทั้ง2ยุทธศาสตร์ดังกล่าวข้างต้นจึงน่าจะช่วยแก้ปัญหาความเหลื่อมล�้ำด้านโครงสร้าง พื้นฐานดิจิทัลให้ลดน้อยลงได้ เพื่อให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้อย่าง เท่าเทียมกันในที่สุด5 4 สถานภาพการพัฒนาด้านดิจิทัลในประเทศไทย, โครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล, แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคม (Digital Thailand), หน้า 18, www.digitalthailand.in.th/drive/press/แผนพัฒนา ดิจิทัล.pdf, สืบค้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2559. 5 ยุทธศาสตร์การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม, หน้า 3, แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ สังคม (Digital Thailand), หน้า 18, www.digitalthailand.in.th/drive/press/แผนพัฒนาดิจิทัล.pdf, สืบค้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2559.
  • 37. รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 Thailand Internet User Profile 2016 36 สมารตโฟน 85.5%ใชเขาถึงอินเทอรเน็ต ใชงานเฉลี่ย 6.2 ชั่วโมงตอวัน 48.7%ใชเขาถึงอินเทอรเน็ต ใชงานเฉลี่ย 4.7 ชั่วโมงตอวัน คอมพิวเตอรพกพา 62.0%ใชเขาถึงอินเทอรเน็ต ใชงานเฉลี่ย 5.4 ชั่วโมงตอวัน คอมพิวเตอรสวนบุคคล 30.0%ใชเขาถึงอินเทอรเน็ต ใชงานเฉลี่ย 3.5 ชั่วโมงตอวัน แท็บเล็ตคอมพิวเตอร 19.8%ใชเขาถึงอินเทอรเน็ต ใชงานเฉลี่ย 2.7 ชั่วโมงตอวัน สมารตทีวี อุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ภาพ 2 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต และจำ�นวนชั่วโมงการใช้งานเฉลี่ยต่อวัน เปรียบเทียบตามอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต
  • 38. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 37 ด้วยการแข่งขันด้านราคาและนโยบายส่งเสริมการขายของผู้ผลิตโทรศัพท์เคลื่อนที่ ท�ำให้ผู้บริโภคสามารถครอบครองเป็นเจ้าของเครื่องได้อย่างง่ายดาย รวมทั้งการแข่งขัน กันพัฒนาเทคโนโลยีเครือข่ายการสื่อสารของผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ส่งผลให้ โทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยเฉพาะสมาร์ตโฟน เป็นอุปกรณ์หลักที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนิยมใช้ใน การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ดังแสดงในภาพ 2 โดยมีผู้ใช้งานมากถึงร้อยละ 85.5 และมี จ�ำนวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านสมาร์ตโฟนเฉลี่ยอยู่ที่ 6.2 ชั่วโมงต่อวัน ส่วนอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตเป็นอันดับ 2 รองจากสมาร์ตโฟน ได้แก่ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล โดยมีผู้ใช้งาน คิดเป็นร้อยละ 62.0 และมีจ�ำนวนชั่วโมงการใช้ อินเทอร์เน็ตผ่านคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเฉลี่ยอยู่ที่5.4ชั่วโมงต่อวันในขณะที่คอมพิวเตอร์ พกพา เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตมากเป็นอันดับ 3 โดยมีผู้ใช้งาน คิดเป็นร้อยละ 48.7 และมีจ�ำนวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านคอมพิวเตอร์พกพาเฉลี่ย อยู่ที่ 4.7 ชั่วโมงต่อวัน
  • 39. รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 Thailand Internet User Profile 2016 38 ช่วงเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต ภาพ 3 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามช่วงเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ต 08.01-12.00 น. 76.0% 76.6% 75.2%12.01-16.00 น. 16.01-20.00 น. 70.3% 12.1%00.01-04.00 น. 11.4% 04.01-08.00 น. 20.01-24.00 น.
  • 40. สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 39 ดังที่ได้กล่าวแล้วในตอนต้นว่าปัจจุบันนี้ชีวิตคนไทยติดอินเทอร์เน็ตมาก มีการเช็ก ไลน์/อีเมล หรือใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กันตั้งแต่ตื่นนอนจนเข้านอน ดังจะเห็นได้จาก ผลการส�ำรวจ ดังแสดงในภาพ 3 พบว่า กว่าร้อยละ 70 ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต มีการเข้า ถึงอินเทอร์เน็ตในช่วงเวลา 08.01-24.00 น. โดยเฉพาะช่วงหลังเลิกเรียน/เลิกงาน เวลา 16.01–20.00 น. เป็นช่วงที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตสูงที่สุด โดยมีผู้ใช้งานร้อยละ 76.6 รองลงมา เป็นช่วงเวลาเริ่มเรียน/เริ่มงานจนถึงเลิกเรียน/เลิกงาน โดยในช่วงเวลา 08.01–12.00 น. และ 12.01–16.00 น. มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 76.0 และ 75.2 ตามล�ำดับ
  • 41. รายงานผลการสำ�รวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2559 Thailand Internet User Profile 2016 40 อุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตในช่วงเวลาต่าง ๆ ภาพ 4 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เปรียบเทียบตามการใช้งานอุปกรณ์แต่ละประเภทในช่วงเวลาต่าง ๆ สมารตโฟน 52.7% แท็บเล็ต คอมพิวเตอร 35.3% คอมพิวเตอร พกพา 41.3% สมารตทีวี 25.1% 08.01 - 12.00 น. 12.01 - 16.00 น. แท็บเล็ต คอมพิวเตอร 27.3% คอมพิวเตอร พกพา 43.6% สมารตทีวี 15.2% สมารตโฟน 54.3% คอมพิวเตอร สวนบุคคล 60.7% 16.01 - 20.00 น. คอมพิวเตอร พกพา 41.8% แท็บเล็ต คอมพิวเตอร 45.8% สมารตทีวี 39.1% สมารตโฟน 68.4% คอมพิวเตอร ตั้งโตะ 32.1% 00.01 - 04.00 น. คอมพิวเตอร สวนบุคคล 64.5% 04.01 - 08.00 น. คอมพิวเตอร พกพา 2.7% สมารตโฟน 10.5% คอมพิวเตอร สวนบุคคล 2.6% แท็บเล็ต คอมพิวเตอร 6.0% สมารตทีวี 3.6% แท็บเล็ต คอมพิวเตอร 7.5% สมารตโฟน 9.3% คอมพิวเตอร สวนบุคคล 2.9% คอมพิวเตอร พกพา 7.1% สมารตทีวี 6.0% แท็บเล็ต คอมพิวเตอร 47.0% สมารตทีวี 46.3% สมารตโฟน 61.7% คอมพิวเตอร สวนบุคคล 21.4% คอมพิวเตอร พกพา 44.9% 20.01 - 24.00 น.