Publicidad

Más contenido relacionado

Presentaciones para ti(20)

Similar a แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย(20)

Publicidad

Último(20)

แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย

  1. การเขียนรายงานการวิจัย โดยวิทยา พัฒนเมธาดา
  2. เอกสารอ้างอิงประกอบ ( Reference Section ) บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้ศึกษา
  3. ระยะที่ 1. บอกมูลเหตุของเรื่อง ทำไมจึงเลือกทำเรื่องนี้ 2. การเขียนความเป็นมาของปัญหาจะเริ่มต้นเขียนแบบกว้างๆ ก่อนแล้วค่อยๆแคบเข้า จนถึงตอนสุดท้ายจะเป็นปัญหาที่จะ ศึกษา 3. การเขียนรายงานที่ดีต้องวิเคราะห์ให้ผู้อ่านทราบว่าตำแหน่ง ของปัญหาอยู่ที่ใด สายใดของปัญหาใหญ่และสอดแทรกงานวิจัยหรือเอกสารที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่จะทำการศึกษา ความเป็นมาของปัญหา
  4. 1. ต้องชัดเจน ตัวแปร ลักษณะที่ศึกษาและประชากร 2. รูปแบบการเขียน แบบบอกเล่า หรือแบบคำถาม หรือ แบบสมมติฐาน ขึ้นต้นด้วยคำว่า เพื่อ .. วัตถุประสงค์ของการศึกษา ( วิจัย , รายงาน )
  5. 1. การเพิ่มพูนความรู้ทางวิชาการ 2. การนำผลการศึกษาไปใช้ ขึ้นต้นด้วยคำว่า ทำให้ทราบ .. ทำให้ได้แนวทาง , ทำให้ได้ความรู้ , ทำให้เพิ่มพูนทางวิชาการฯ ประโยชน์ของการศึกษา ( วิจัย , รายงาน )
  6. 1. ประชากร ( Population ) 2. ตัวแปร ( Variable ) - ตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรต้นเหตุ - ตัวแปรตาม หรือตัวแปรที่เป็นผล 3. เนื้อหา ( Content ) ขอบเขตของการศึกษา
  7. 1. เป็นข้อความที่อธิบายความหมายของคำที่ใช้ในการศึกษา เพื่อให้ผู้อ่านได้เข้าใจตรงกับผู้ศึกษา 2. การเขียนอธิบายจะเขียนตามความเป็นจริงที่ใช้ในการศึกษาครั้งนั้นๆ ( ไม่เขียนตามความหมายของพจนานุกรมหรือตามตำรา ) 3. เขียนในรูปแบบของนิยามเชิงปฏิบัติการ เช่น คืออะไร โครงสร้างอย่างไร สังเกตอย่างไร ตรวจสอบอย่างไร ( โดยเอาตัวแปรอิสระหรือตัวแปรตามมาเขียน ) คำนิยามศัพท์เฉพาะ
  8. 1. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง - ความหมายของตัวแปร - โครงสร้างของตัวแปร - วิธีการวัดผล / ประเมินผลตัวแปร - การเก็บรวบรวมข้อมูลตัวแปร - งานวิจัยที่เกี่ยวข้องตัวแปร บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  9. แนวการเขียน เขียนเกี่ยวกับผลงานวิจัย / การศึกษาที่ผู้อื่นได้ทำในแง่มุมต่างๆ เกี่ยวกับที่เราทำการศึกษาโดยเขียนในรูปแบบสรุป ให้มีการเชื่อมโยง เขียนเป็นภาษาของผู้ศึกษาเอง ซึ่งจะเป็นข้อมูลพื้นฐานในการตั้งสมมติฐานในการทำวิจัย เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  10. ระยะที่ - รูปแบบงานที่ศึกษา - ประชากร / กลุ่มตัวอย่าง - วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่าง - เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา - วิธีการสร้างเครื่องมือ - การรวบรวมข้อมูล - การวิเคราะห์ข้อมูล - สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 3 วิธีดำเนินการศึกษา
  11. ระยะที่ เป็นส่วนที่สรุปให้ผู้อ่านทราบว่าการศึกษาในครั้งนี้มีลักษณะอย่างไร ถ้าเขียนในรูปของแผนผังได้จะดี รูปแบบงานที่ศึกษา
  12. ระยะที่ ประชากร - เป็นใคร ที่ไหน ปีใด จำนวนเท่าใด มีคุณสมบัติอย่างไร กลุ่มตัวอย่าง - มีกี่ประเภท จำนวนเท่าไร ได้มาโดยวิธีใด ประชากร / กลุ่มตัวอย่าง
  13. ระยะที่ บอกวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลแยกตามจุดมุ่งหมายของการศึกษา ว่า วิธีใด อย่างไร การวิเคราะห์ข้อมูล
  14. ระยะที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 /2555 ผลของการดำเนินงาน 1. มีนวัตกรรมการบริหารเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้น 2. มีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ตามจุดเน้น 3. มีเครื่องมือวัด / ประเมินผลการพัฒนาผู้เรียนที่มีคุณภาพ 4. มีการเผยแพร่การวิจัยและผลการพัฒนาผู้เรียน ตัวชี้วัดภาพความสำเร็จระดับโรงเรียน
  15. ระยะที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 /2555 ผลของการดำเนินงาน 1. ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข มีทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะตามจุดเน้น 2. มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่ 3. ครูเป็นครูมืออาชีพ 4. โรงเรียนมีการจัดการความรู้ 5. มีเครือข่ายร่วมพัฒนาที่เข้มแข็ง 6. สาธารณชนยอมรับ และมีความพึงพอใจ ตัวชี้วัดภาพความสำเร็จระดับโรงเรียน
  16. บทบาทของหน่วยงาน
  17. ยุทธศาสตร์ที่ 1 2 3 4 เป้าหมาย นักเรียนทุกคนมีทักษะความสามารถและคุณลักษณะตามจุดเน้น ในแต่ละช่วงวัย ตชว . - ร้อยละของผู้เรียนมีคุณภาพตามจุดเน้น - ระดับความสำเร็จของการนำจุดเน้นสู่การปฏิบัติ - ระดับความสำเร็จของสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ได้สำเร็จตามจุดเน้น - ระดับความสำเร็จของเขตพื้นที่ในการยกระดับคุณภาพผู้เรียน โครงการ / กิจกรรม โครงการขับเคลื่อนหลักสูตรการจัดการเรียนรู้การวัดและประเมินผลและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนสู่การเพิ่มคุณภาพผู้เรียน - โครงการปรับปรุงการบริหารงบประมาณ - โครงการพัฒนาบุคลากร โครงการ สร้างระบบเครือข่าย โครงการพัฒนารูปแบบการกำกับติดตามและประเมินผลความสำเร็จ
  18. ภาคเรียนที่ 2/2553 ภาคเรียนที่ 1/2554 ภาคเรียนที่ 2/2554 ภาคเรียนที่ 1/2555 ภาคเรียนที่ 2/2555 ระยะที่ 1 เริ่มต้น ค้นวิเคราะห์ 6 ตัวชี้วัด ระยะที่ 2 บ่มเพาะประสบการณ์ 6 ตัวชี้วัด ระยะที่ 3 สานต่อองค์ความรู้ 4 ตัวชี้วัด ระยะที่ 4 นำสู่วิถีคุณภาพ 4 ตัวชี้วัด ระยะที่ 5 มี วัฒนธรรม การเรียน รู้ใหม่ 6 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดภาพความสำเร็จ
  19. ระยะที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 /2553 ผลของการดำเนินงาน 1. มีข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล ครบถ้วน พร้อมใช้ 2. มีแผนพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้นที่ชัดเจน ปฏิบัติได้ 3. มีฐานข้อมูลแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนเพียงพอ 4. มีตารางเรียนที่ยืดหยุ่นตามจุดเน้น 5. มีกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน สัดส่วน เวลาเรียน 70:30 6. มีเครื่องมือวัดและประเมินผลที่หลากหลาย ครอบคลุมตามจุดเน้น ตัวชี้วัดภาพความสำเร็จระดับโรงเรียน
  20. ตารางเรียน ป . 1-3 วัน / เวลา 08.30-09.00 09.00-11.00 11.00-12.00 12.00 -13.00 13.00-14.00 14.00-15.00   จ     โฮมรูม แนะแนว ข่าวและ เหตุการณ์         ไทย คณิต     สังคม วิทย์ สุขะ           พัก บูรณาการไทยคณิตวิทย์สังคมจุดเน้นการอ่าน - เขียนการคิดและการสื่อสาร ชุมนุม / ชมรม ( ทักษะชีวิต ) อ   พ บูรณาการลุกเสือยุวผู้บำเพ็ญฯกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์และจุดเน้นทักษะการคิดแก้ปัญหาทักษะชีวิตและจิตสาธารณะ พฤ   ต่างประเทศ บูรณาการสุขะ / พละ / ศิลปะ / ดนตรี / ทักษะชีวิต   ศ   ประวัติฯ บูรณาการ กอท / ต่างประเทศ / จุดเน้นทักษะการคิด / แก้ปัญหา / การสื่อสาร พัฒนาการลักษณะนิสัยกีฬาดนตรีศิลปะและสุนทรียภาพและจุดเน้นทักษะชีวิต
  21. ตารางเรียน ป . 4-6 วัน / เวลา 08.30-09.00 09.00-10.00 10.00-11.00 11.00-12.00 12.00 -13.00 13.00-14.00 14.00-15.00   จ       โฮมรูม แนะแนว ข่าวและ เหตุการณ์         ไทย คณิต   ไทย คณิต   วิทย์           พัก บูรณาการวิทย์ / คณิต ( วิทย์เป็นแกน ) ทักษะคิดและการสื่อสาร ชุมนุม / ชมรม ( ทักษะชีวิต ) อ สังคม บูรณาการศิลปะดนตรี / นาฎศิลป์และ จุดเน้นทักษะชีวิต พ ต่างประเทศ กิจกรรมบูรณาการลส . ยุว / ผู้บำเพ็ญฯกิจกรรมเพื่อสังคมฯและจุดเน้นทักษะการคิด / แก้ปัญหาทักษะชีวิตและจิตสาธารณะ พฤ ต่างประเทศ บูรณาการสุขะ / พละ /   ประวัติฯ       การงานอาชีพ และเทคโนโลยี บูรณาการ สค / ภท ( สค . เป็นแกน ) จุดเน้นการอ่าน - เขียน / ทักษะการคิดทักษะชีวิต / การสื่อสาร การพัฒนาการลักษณะนิสัยกีฬาดนตรีศิลปะและสุนทรียภาพ ( จุดเน้นรร .)   ศ
  22. ตารางเรียน ม . ต้น วัน / เวลา 08.30-09.00 09.00-12.00 12.00 -13.00 13.00-13.50 13.50 -14.40 14.40-15.30     จ      โฮมรูม แนะแนว ข่าวและ เหตุการณ์         เรียนรู้เนื้อหาตามกลุ่มสาระต่างๆ         พัก     ไทย / กระบวนการ   แนะแนว ทักษะชีวิต อ คณ / กระบวนการ ศิลปะ พละ พ วิทย์ / กระบวนการ ลส . บำเพ็ญประโยชน์   พฤ สค / กระบวนการ กิจกรรมที่รร . จัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้น   ศ   กอท กิจกรรมที่รร . จัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้น
  23. แนวปฏิบัติของสถานศึกษา 1. ทำความเข้าใจให้กระจ่าง 2. ตรวจสอบทบทวนวิเคราะห์จุดเด่น จุดพัฒนา 3. กำหนดเป้าหมายการพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้น 4. กำหนดภาระงานการพัฒนาตามจุดเน้น 5. ดำเนินการพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้น 6. ตรวจสอบ ปรับปรุง พัฒนา 7. สรุปและรายงานผลการพัฒนาผู้เรียน
  24. แนวปฏิบัติระดับห้องเรียน
  25. สวัสดี
Publicidad