SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
1. การเรียนรู้เพื่อให้สำาเร็จการศึกษาอย่างมีคุณภาพ

      การเรียนในระดับอุดมศึกษาจึง เป็นการพัฒนารูปแบบการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองมากขึ้น จึงควรเข้าใจรูปแบบการศึกษา ค้นคว้าใน
ระดับอุดมศึกษาและการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองในรูปแบบต่างๆ รวมทั้งการศึกษาค้นคว้าจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ส่วนใหญ่อยู่ในสถาน
ศึกษา การเรียนรู้นอกสถาบันการศึกษาที่จำาเป็นต้องส่งเสริมได้แก่ การเรียนรู้ จากครอบครัว ชุมชน สถานประกอบการ ธรรมชาติและสิ่ง
แวดล้อม ทั้งนี้การเรียนรู้จากแหล่งต่างๆ ไม่ว่าจะเรียนในห้องเรียนหรือ นอกห้องเรียน ถ้าผู้เรียนนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้ จะทำาให้รู้จักดำารง
ชีวิตได้อย่างมีความสุข

      แนวความคิดของการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา เป็นเรื่องของการสร้างคน โดยใช้ความรู้มาพัฒนาคน หรือสนองความ ต้องการ
และความอยากรู้อยากเห็นของคน ในขณะเดียวกันคนจะใช้ความรู้เพื่อประโยชน์แก่ตัวเองและสังคมแวดล้อม นอกจากนี้ การเรียน ในระดับ
อุดมศึกษาเป็นการเรียนเพื่อ


      •     เรียนเพื่อรู้

      •     เรียนเพื่อประกอบอาชีพ

      •     เรียนเพื่อให้ได้แนวคิดและแนวทางการตัดสินใจ

      •     เรียนเพื่อให้รู้แยกแยะผิด ชอบ ชั่ว ดี

      •     เรียนเพื่อให้ดำารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข

      •     เรียนเพื่อพัฒนาตนเองและสังคม

      •     เรียนเพื่อรับใช้สังคม ครอบครัว เป็นพลเมืองดีของประเทศ


      หัวใจของการเรียนในทุกระดับจึงมุ่งให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาตนเองให้เต็มตามศักยภาพที่มีอยู่ ได้ทดลองศึกษา ค้นคว้า และ
สรุปข้อคิดต่างๆได้ด้วยตนเอง ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต้องเป็นความรู้ที่นำาไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้รวมถึง การมีจริยธรรม คุณธรรม
และความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม รวมทั้งความจำาเป็นของการเรียนรู้ตลอดชีพ การศึกษาค้นคว้า ด้วยตนเอง พร้อมทั้งการหมั่นค้นคว้า
หาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ

      สิ่งสำาคัญอย่างหนึ่งในการศึกษาค้นคว้า และหมั่นหาความรู้เพิ่มเติมนั้น คือวิธีการศึกษา ดังนันผู้ที่ใฝ่รู้ จึงควรที่จะเรียนรู้วิธี การศึกษา
                                                                                                ้
ค้นคว้าอย่างมีระบบ ระเบียบและวิธีการ พร้อมทั้งวิธการได้มาของ ข้อมูลต่างๆ เพือนำาไปสู่ความสำาเร็จในการเรียน และ ในชีวิตต่อไป
                                                 ี                             ่

2. การค้นคว้าวิจัย


       การค้นคว้าวิจัย (Research) หมายถึงการสืบสวน หรือการตรวจตราหาข้อมูลโดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้ได้รับความรู้ ในเรื่องใด เรื่อง
หนึ่ง การค้นคว้าวิจัยจึงเป็นการศึกษาถึงเรื่อง หรือปัญหาเฉพาะที่ต้องการคำาตอบ หรือหาความรู้เพิ่มเติม โดยทั่วไป การค้นคว้าวิจัยต้องทำา
อย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนตามลำาดับ คือ การกำาหนดหัวข้อ การกำาหนดวัตถุประสงค์การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผล และ
เขียนรายงานการค้นคว้าวิจัย

3. ประเภทของการค้นคว้าวิจัย

      การแบ่งประเภทของการค้นคว้าวิจัยที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปมี 2 แบบ คือ

      1. แบ่งตามประโยชน์ของการวิจัย มี 2 ประเภท คือ

                1.1 การวิจัยพื้นฐาน (Basic research) หรือ การวิจัยบริสุทธิ์ ( Pure research) เป็นการวิจัยที่มี ความมุ่งหมายเพื่อแสวงหาความ
รู้ใหม่หรือสร้างทฤษฎีใหม่

              1.2 การวิจัยประยุกต์ (Applied research) หรือ การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research) เป็น การวิจัยที่มีความ มุ่งหมายที่จะ
นำาผลการวิจัย หรือความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน หรือใช้แก้ปัญหาโดยตรงซึ่งจะเกิดผลทันที และมีประโยชน์เห็นได้ชัด

     2. แบ่งตามวิธีวิจัย มี 4 ประเภท คือ

          2.1 การวิจัยเชิงประวัติ (Historical research) มีความมุ่งหมายเพื่อค้นหาข้อเท็จจริงของเหตุ การณ์ในอดีตอย่างมีระบบ เที่ยง
ตรง และไม่มีอคติ การวิจัยประเภทนีมักใช้เอกสาร จึงเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า การวิจัยจากเอกสาร (Documentary research)
                                 ้

              2.2 การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) มีความมุ่งหมาย เพือพรรณนาอย่างมีระบบถึง สถานการณ์ปัจจุบัน หรือเรื่อง
                                                                              ่
ที่สนใจ ซึงเป็นข้อเท็จจริงอย่างเที่ยงตรงการวิจัยประเภทนี้มักใช้แบบสอบถาม หรือสัมภาษณ์
          ่

              2.3 การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) มีความมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์ สาเหตุ และผลลัพธ์ที่เป็นไปได้
โดยทำาการทดลองกับกลุ่มทดลองว่าเมื่อได้รับการปฏิบัติ หรือกระทำาแล้วมีผลอย่างไร แล้วเปรียบเทียบผลกับกลุ่มควบคุม ซึ่งไม่ได้รับ การ
ปฏิบัติ หรือไม่ได้รับการกระทำาใด ๆ

            2.4 การวิจัยเชิงกรณี หรือเชิงสนาม (Case or field research) บางทีกรียกว่า การศึกษาเฉพาะ กรณี หรือการวิจัยภาคสนาม มี
ความมุ่งหมายเพื่อศึกษาอย่างลึกซึ้งถึงภูมิหลัง สถานะปัจจุบัน และปฎิสมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมของสังคม ซึ่งอาจเป็น บุคคล กลุ่มคน สถาบัน
                                                                   ั
หรือชุมชนก็ได้

4. ประโยชน์ของการค้นคว้าวิจัย

      การค้นคว้าวิจัยมีประโยชน์หลายประการดังนี้

1. ทำาให้เกิดความรู้ใหม่ และข้อเท็จจริงใหม่ ๆ ทังในด้านทฤษฎี และด้านปฏิบัติ
                                                ้
2. ทำาให้มีพัฒนาการทางวิชาการในสาขาวิชาต่าง ๆ
3. ช่วยให้ทราบข้อมูลที่แท้จริง รวมทั้งข้อบกพร่อง เพือนำามาใช้แก้ปัญหา หรือนำามาใช้ พัฒนาการปฏิบัติงาน
                                                    ่
4. ทำาให้เกิดการรู้จักใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล และสร้างทักษะในการแก้ไขปัญหา
5. เพิ่มพูนทักษะในการเขียนงานทางวิชาการ ซึงจะเป็นพื้นฐานของกาสร้างสรรค์ผลงานวิชา การอื่น ๆ ต่อไป
                                              ่

5. การเสนอผลการค้นคว้าวิจัย

      ผลของการค้นคว้าวิจัย สามารถนำาเสนอได้ดังต่อไปนี้

         1. รายงานวิชาการ (Report ) หมายถึง รายงานการค้นคว้าซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการค้นคว้าวิจัย ในเรืองใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ เพือ
                                                                                                     ่                          ่
ประกอบการเรียนรายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง (ในรายวิชาหนึ่ง อาจมีรายงานวิชาการได้หลายเรื่อง) สำาหรับนิสิตในระดับปริญญาบัณฑิต ผลการ
ค้นคว้าวิจัยมักจะปรากฏในรูปของรายงานวิชาการ

        2. ภาคนิพนธ์ (Term paper ) มีลักษะเช่นเดียวกับรายงานวิชาการ เพียงแต่เรื่อที่ศึกษาค้นคว้า วิจัยมักจะมีขอบเขตกว้างและลึกซึ้ง
กว่า ต้องใช้เวลาในการค้นคว้าวิจัยมากกว่า อาจจะต้องใช้เวลาตลอดภาคการศึกษานั้น ดังนั้น ในการทำาภาคนิพนธ์ ผู้เรียนจึงมักได้รับมอบ
หมายให้ทำาเพียงเรื่องเดียว ในแต่ละรายวิชาต่อภาคการศึกษา

        3. วิทยานิพนธ์ (Thesis / Dissertation) วิทยานิพนธ์ หรือมหาวิทยาลัยบางแห่งเรียกว่าปริญญา นิพนธ์ เป็นรายงาน ผลการค้นคว้าวิจัย
ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต หรือปริญญาดุษฎีบัณฑิต โดยผู้เรียน เลือกเรื่อง ที่ประสงค์จะศึกษา และ
ทำาการค้นคว้าอย่างละเอียดลึกซึ้ง
           การทำาวิทยานิพนธ์ หรือปริญญานิพนธ์ มุงให้ผู้ทำารู้จักวิธีการ ศึกษาค้นคว้า อย่างมีเหตุมีผล มีระเบียบ และรู้จักวิเคราะห์ ข้อมูลที่ได้
                                                  ่
จากการศึกษาค้นคว้า การนำาเสนอผลการค้นคว้าวิจัยนั้น มุงหาเหตุผล เพื่อ พิสูจน์สมมุติฐาน แสดงความคิดเห็นของผู้ทำา และให้ข้อเสนอ
                                                          ่
แนะ เพือเผยแพร่ความรู้ที่ได้ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น และเป็นแนวทาง แก่ผู้สนในที่จะทำาการค้นคว้าวิจัยในเรื่องนั้น ๆ ต่อไป
         ่

      4. รายงานวิจัย (Research Report ) เป็นรายงานผลการค้นคว้าวิจัยของอาจารย์นักวิจัย และผู้ปฏิบัติงานที่ได้ทำาการ ค้นคว้า อย่าง
เป็นระบบ การค้นคว้าเพื่อทำางานวิจัยต้องอาศัยความละเอียด ถี่ถ้วน สมบูรณ์ และเที่ยงตรง

6. ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้าและการทำารายงาน


      การศึกษาค้นคว้าวิจัยและการทำารายงาน ต้องมีระบบและขั้นตอน ซึ่งมีการวางแผนไว้แล้วอย่างดี โดยทั่วไปมีขั้นตอนดังนี้

6.1 การเลือกหรือการกำาหนดหัวข้อ


       การเลือกหัวข้อรายงานมีความสำาคัญอย่างยิ่งต่อความสำาเร็จและคุณภาพของรายงาน โดยมีการศึกษาหาข้อมูลเบื้องต้น ในเรื่องนั้นเพือ ่
ให้เกิดแนวคิดในการค้นคว้าเพื่อเขียนเรื่องนั้นต่อไป นอกจากนี้ การเลือกหัวข้อเรื่อง ควรให้เหมาะสมกับรายวิชา และควรปรึกษาเพื่อขอคำา
แนะนำาจากอาจารย์ผู้สอน หลักทั่วไป ในการเลือกหัวข้อเรื่อง ได้แก่


      6.1 ความสนใจของผู้ทำารายงาน
      6.2 ความรู้ในเรื่องที่ทำารายงาน
      6.3 แหล่งข้อมูลในการค้นคว้า
      6.4 หัวข้อที่เหมาะสมกับสถานการณ์และขอบเขตของรายวิชา

      ซึ่งจะได้อธิบายโดยละเอียดในหัวข้อต่อไป


6.2 การกำาหนดวัตถุประสงค์


     หลังจากได้หัวข้อแล้วต้องมีการกำาหนดวัตถุประสงค์ เพือกำาหนดความต้องการและขอบเขตของเรื่องที่ตองการศึกษา โดยผู้ทำารายงาน
                                                        ่                                       ้
ต้องตอบคำาถามของตนเองก่อนว่า ทำาไมเราเลือกทำารายงานหัวข้อนี้ อยากศึกษาอะไร ต้องการทราบคำาตอบในเรื่องใด


     การกำาหนดวัตถุประสงค์จะเป็นแนวทางในการกำาหนดเป้าหมาย ขอบเขต และโครงเรื่องของรายงานว่าจะเป็นไปในทิศทางใด เพือช่วย
                                                                                                                ่
ในการตัดสินใจเลือกแหล่งข้อมูลสำาหรับการค้นคว้า


6.3 การเขียนโครงเรื่อง


     โครงเรื่องคือกรอบของเรื่องที่ผู้ทำารายงานจะใช้เป็นแนวทางในการเขียนรายงาน เป็นการระบุส่วนต่างๆของเนื้อหา และการจัด ลำาดับ
ความสำาคัญของหัวข้อต่างๆ โครงเรื่อง ประกอบด้วย บทนำา หัวข้อใหญ่ หัวข้อรอง หัวข้อย่อย และบทสรุป


1. การเรียนรู้เพื่อให้สำาเร็จการศึกษาอย่างมีคุณภาพ

      การเรียนในระดับอุดมศึกษาจึง เป็นการพัฒนารูปแบบการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองมากขึ้น จึงควรเข้าใจรูปแบบการศึกษา ค้นคว้าใน
ระดับอุดมศึกษาและการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองในรูปแบบต่างๆ รวมทั้งการศึกษาค้นคว้าจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ส่วนใหญ่อยู่ในสถาน
ศึกษา การเรียนรู้นอกสถาบันการศึกษาที่จำาเป็นต้องส่งเสริมได้แก่ การเรียนรู้ จากครอบครัว ชุมชน สถานประกอบการ ธรรมชาติและสิ่ง
แวดล้อม ทั้งนี้การเรียนรู้จากแหล่งต่างๆ ไม่ว่าจะเรียนในห้องเรียนหรือ นอกห้องเรียน ถ้าผู้เรียนนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้ จะทำาให้รู้จักดำารง
ชีวิตได้อย่างมีความสุข

      แนวความคิดของการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา เป็นเรื่องของการสร้างคน โดยใช้ความรู้มาพัฒนาคน หรือสนองความ ต้องการ
และความอยากรู้อยากเห็นของคน ในขณะเดียวกันคนจะใช้ความรู้เพื่อประโยชน์แก่ตัวเองและสังคมแวดล้อม นอกจากนี้ การเรียน ในระดับ
อุดมศึกษาเป็นการเรียนเพื่อ


      •     เรียนเพื่อรู้

      •     เรียนเพื่อประกอบอาชีพ
•     เรียนเพื่อให้ได้แนวคิดและแนวทางการตัดสินใจ

      •     เรียนเพื่อให้รู้แยกแยะผิด ชอบ ชั่ว ดี

      •     เรียนเพื่อให้ดำารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข

      •     เรียนเพื่อพัฒนาตนเองและสังคม

      •     เรียนเพื่อรับใช้สังคม ครอบครัว เป็นพลเมืองดีของประเทศ


      หัวใจของการเรียนในทุกระดับจึงมุ่งให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาตนเองให้เต็มตามศักยภาพที่มีอยู่ ได้ทดลองศึกษา ค้นคว้า และ
สรุปข้อคิดต่างๆได้ด้วยตนเอง ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต้องเป็นความรู้ที่นำาไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้รวมถึง การมีจริยธรรม คุณธรรม
และความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม รวมทั้งความจำาเป็นของการเรียนรู้ตลอดชีพ การศึกษาค้นคว้า ด้วยตนเอง พร้อมทั้งการหมั่นค้นคว้า
หาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ

      สิ่งสำาคัญอย่างหนึ่งในการศึกษาค้นคว้า และหมั่นหาความรู้เพิ่มเติมนั้น คือวิธีการศึกษา ดังนันผู้ที่ใฝ่รู้ จึงควรที่จะเรียนรู้วิธี การศึกษา
                                                                                                ้
ค้นคว้าอย่างมีระบบ ระเบียบและวิธีการ พร้อมทั้งวิธการได้มาของ ข้อมูลต่างๆ เพือนำาไปสู่ความสำาเร็จในการเรียน และ ในชีวิตต่อไป
                                                 ี                             ่

2. การค้นคว้าวิจัย


       การค้นคว้าวิจัย (Research) หมายถึงการสืบสวน หรือการตรวจตราหาข้อมูลโดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้ได้รับความรู้ ในเรื่องใด เรื่อง
หนึ่ง การค้นคว้าวิจัยจึงเป็นการศึกษาถึงเรื่อง หรือปัญหาเฉพาะที่ต้องการคำาตอบ หรือหาความรู้เพิ่มเติม โดยทั่วไป การค้นคว้าวิจัยต้องทำา
อย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนตามลำาดับ คือ การกำาหนดหัวข้อ การกำาหนดวัตถุประสงค์การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผล และ
เขียนรายงานการค้นคว้าวิจัย

3. ประเภทของการค้นคว้าวิจัย

      การแบ่งประเภทของการค้นคว้าวิจัยที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปมี 2 แบบ คือ

      1. แบ่งตามประโยชน์ของการวิจัย มี 2 ประเภท คือ

                1.1 การวิจัยพื้นฐาน (Basic research) หรือ การวิจัยบริสุทธิ์ ( Pure research) เป็นการวิจัยที่มี ความมุ่งหมายเพื่อแสวงหาความ
รู้ใหม่หรือสร้างทฤษฎีใหม่

              1.2 การวิจัยประยุกต์ (Applied research) หรือ การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research) เป็น การวิจัยที่มีความ มุ่งหมายที่จะ
นำาผลการวิจัย หรือความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน หรือใช้แก้ปัญหาโดยตรงซึ่งจะเกิดผลทันที และมีประโยชน์เห็นได้ชัด

     2. แบ่งตามวิธีวิจัย มี 4 ประเภท คือ

          2.1 การวิจัยเชิงประวัติ (Historical research) มีความมุ่งหมายเพื่อค้นหาข้อเท็จจริงของเหตุ การณ์ในอดีตอย่างมีระบบ เที่ยง
ตรง และไม่มีอคติ การวิจัยประเภทนีมักใช้เอกสาร จึงเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า การวิจัยจากเอกสาร (Documentary research)
                                 ้

              2.2 การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) มีความมุ่งหมาย เพือพรรณนาอย่างมีระบบถึง สถานการณ์ปัจจุบัน หรือเรื่อง
                                                                              ่
ที่สนใจ ซึงเป็นข้อเท็จจริงอย่างเที่ยงตรงการวิจัยประเภทนี้มักใช้แบบสอบถาม หรือสัมภาษณ์
          ่

              2.3 การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) มีความมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์ สาเหตุ และผลลัพธ์ที่เป็นไปได้
โดยทำาการทดลองกับกลุ่มทดลองว่าเมื่อได้รับการปฏิบัติ หรือกระทำาแล้วมีผลอย่างไร แล้วเปรียบเทียบผลกับกลุ่มควบคุม ซึ่งไม่ได้รับ การ
ปฏิบัติ หรือไม่ได้รับการกระทำาใด ๆ

            2.4 การวิจัยเชิงกรณี หรือเชิงสนาม (Case or field research) บางทีกรียกว่า การศึกษาเฉพาะ กรณี หรือการวิจัยภาคสนาม มี
ความมุ่งหมายเพื่อศึกษาอย่างลึกซึ้งถึงภูมิหลัง สถานะปัจจุบัน และปฎิสมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมของสังคม ซึ่งอาจเป็น บุคคล กลุ่มคน สถาบัน
                                                                   ั
หรือชุมชนก็ได้

4. ประโยชน์ของการค้นคว้าวิจัย

      การค้นคว้าวิจัยมีประโยชน์หลายประการดังนี้

1. ทำาให้เกิดความรู้ใหม่ และข้อเท็จจริงใหม่ ๆ ทังในด้านทฤษฎี และด้านปฏิบัติ
                                                ้
2. ทำาให้มีพัฒนาการทางวิชาการในสาขาวิชาต่าง ๆ
3. ช่วยให้ทราบข้อมูลที่แท้จริง รวมทั้งข้อบกพร่อง เพือนำามาใช้แก้ปัญหา หรือนำามาใช้ พัฒนาการปฏิบัติงาน
                                                    ่
4. ทำาให้เกิดการรู้จักใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล และสร้างทักษะในการแก้ไขปัญหา
5. เพิ่มพูนทักษะในการเขียนงานทางวิชาการ ซึงจะเป็นพื้นฐานของกาสร้างสรรค์ผลงานวิชา การอื่น ๆ ต่อไป
                                              ่

5. การเสนอผลการค้นคว้าวิจัย

      ผลของการค้นคว้าวิจัย สามารถนำาเสนอได้ดังต่อไปนี้

         1. รายงานวิชาการ (Report ) หมายถึง รายงานการค้นคว้าซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการค้นคว้าวิจัย ในเรืองใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ เพือ
                                                                                                     ่                          ่
ประกอบการเรียนรายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง (ในรายวิชาหนึ่ง อาจมีรายงานวิชาการได้หลายเรื่อง) สำาหรับนิสิตในระดับปริญญาบัณฑิต ผลการ
ค้นคว้าวิจัยมักจะปรากฏในรูปของรายงานวิชาการ

        2. ภาคนิพนธ์ (Term paper ) มีลักษะเช่นเดียวกับรายงานวิชาการ เพียงแต่เรื่อที่ศึกษาค้นคว้า วิจัยมักจะมีขอบเขตกว้างและลึกซึ้ง
กว่า ต้องใช้เวลาในการค้นคว้าวิจัยมากกว่า อาจจะต้องใช้เวลาตลอดภาคการศึกษานั้น ดังนั้น ในการทำาภาคนิพนธ์ ผู้เรียนจึงมักได้รับมอบ
หมายให้ทำาเพียงเรื่องเดียว ในแต่ละรายวิชาต่อภาคการศึกษา

      3. วิทยานิพนธ์ (Thesis / Dissertation) วิทยานิพนธ์ หรือมหาวิทยาลัยบางแห่งเรียกว่าปริญญา นิพนธ์ เป็นรายงาน ผลการค้นคว้าวิจัย
ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต หรือปริญญาดุษฎีบัณฑิต โดยผู้เรียน เลือกเรื่อง ที่ประสงค์จะศึกษา และ
      ทำาการค้นคว้าอย่างละเอียดลึกซึ้ง
                การทำาวิทยานิพนธ์ หรือปริญญานิพนธ์ มุงให้ผู้ทำารู้จักวิธีการ ศึกษาค้นคว้า อย่างมีเหตุมีผล มีระเบียบ และรู้จักวิเคราะห์ ข้อมูลที่ได้
                                                        ่
      จากการศึกษาค้นคว้า การนำาเสนอผลการค้นคว้าวิจัยนั้น มุงหาเหตุผล เพื่อ พิสูจน์สมมุติฐาน แสดงความคิดเห็นของผู้ทำา และให้ข้อเสนอ
                                                               ่
      แนะ เพือเผยแพร่ความรู้ที่ได้ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น และเป็นแนวทาง แก่ผู้สนในที่จะทำาการค้นคว้าวิจัยในเรื่องนั้น ๆ ต่อไป
              ่

            4. รายงานวิจัย (Research Report ) เป็นรายงานผลการค้นคว้าวิจัยของอาจารย์นักวิจัย และผู้ปฏิบัติงานที่ได้ทำาการ ค้นคว้า อย่าง
      เป็นระบบ การค้นคว้าเพื่อทำางานวิจัยต้องอาศัยความละเอียด ถี่ถ้วน สมบูรณ์ และเที่ยงตรง

      6. ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้าและการทำารายงาน


              การศึกษาค้นคว้าวิจัยและการทำารายงาน ต้องมีระบบและขั้นตอน ซึ่งมีการวางแผนไว้แล้วอย่างดี โดยทั่วไปมีขั้นตอนดังนี้

      6.1 การเลือกหรือการกำาหนดหัวข้อ


             การเลือกหัวข้อรายงานมีความสำาคัญอย่างยิ่งต่อความสำาเร็จและคุณภาพของรายงาน โดยมีการศึกษาหาข้อมูลเบื้องต้น ในเรื่องนั้นเพือ ่
      ให้เกิดแนวคิดในการค้นคว้าเพื่อเขียนเรื่องนั้นต่อไป นอกจากนี้ การเลือกหัวข้อเรื่อง ควรให้เหมาะสมกับรายวิชา และควรปรึกษาเพื่อขอคำา
      แนะนำาจากอาจารย์ผู้สอน หลักทั่วไป ในการเลือกหัวข้อเรื่อง ได้แก่


              6.1 ความสนใจของผู้ทำารายงาน
              6.2 ความรู้ในเรื่องที่ทำารายงาน
              6.3 แหล่งข้อมูลในการค้นคว้า
              6.4 หัวข้อที่เหมาะสมกับสถานการณ์และขอบเขตของรายวิชา

              ซึ่งจะได้อธิบายโดยละเอียดในหัวข้อต่อไป


      6.2 การกำาหนดวัตถุประสงค์


           หลังจากได้หัวข้อแล้วต้องมีการกำาหนดวัตถุประสงค์ เพือกำาหนดความต้องการและขอบเขตของเรื่องที่ตองการศึกษา โดยผู้ทำารายงาน
                                                              ่                                       ้
      ต้องตอบคำาถามของตนเองก่อนว่า ทำาไมเราเลือกทำารายงานหัวข้อนี้ อยากศึกษาอะไร ต้องการทราบคำาตอบในเรื่องใด


           การกำาหนดวัตถุประสงค์จะเป็นแนวทางในการกำาหนดเป้าหมาย ขอบเขต และโครงเรื่องของรายงานว่าจะเป็นไปในทิศทางใด เพือช่วย
                                                                                                                      ่
      ในการตัดสินใจเลือกแหล่งข้อมูลสำาหรับการค้นคว้า


      6.3 การเขียนโครงเรื่อง


           โครงเรื่องคือกรอบของเรื่องที่ผู้ทำารายงานจะใช้เป็นแนวทางในการเขียนรายงาน เป็นการระบุส่วนต่างๆของเนื้อหา และการจัด ลำาดับ
      ความสำาคัญของหัวข้อต่างๆ โครงเรื่อง ประกอบด้วย บทนำา หัวข้อใหญ่ หัวข้อรอง หัวข้อย่อย และบทสรุป




                     9.การศึกษาค้นคว้าและการแสวงหาความรู้

วัตถุประสงค์

เพื่อให้ผู้เรียน

1. บอกถึงวัตถุประสงค์ของการเรียนในระดับอุดมศึกษา และวิธการการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
                                                       ี
2. บอกถึงความหมาย ประโยชน์ และขั้นตอนในการค้นคว้าวิจัย
3. บอกถึงขั้นตอนในการศึกษาค้นคว้าและการทำารายงาน
4. สามารถเขียนโครงเรื่องเพื่อวางแผนการศึกษาค้นคว้าและการทำารายงานได้
เนื้อหา

1. การเรียนรู้เพื่อให้สำาเร็จการศึกษาอย่างมีคุณภาพ
2. การค้นคว้าวิจัย
3. ประเภทของการค้นคว้าวิจัย
4. ประโยชน์ของการค้นคว้าวิจัย
5. การเสนอผลการค้นคว้าวิจัย
6. ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้าและการทำารายงาน

            6.1 การเลือกหรือการกำาหนดหัวข้อ
            6.2 การกำาหนดวัตถุประสงค์
            6.3 การเขียนโครงเรื่อง
            6.4 การสำารวจแหล่งข้อมูลและการรวบรวมข้อมูล
            6.5 การอ่านและการบันทึกข้อความ
            6.6 การเรียบเรียงรายงาน
            6.7 การอ้างอิง
            6.8 การเขียนบรรณานุกรมและรายการอ้างอิง

7. การเขียนโครงเรื่องเพื่อวางแผนการศึกษาค้นคว้า




                        “การศึกษา มิใช่เป็นการเรียน เรียน ท่อง ท่อง แต่เป็นการเห็นอย่างถูกต้องและสมบูรณ์ด้วยตนเอง”


                                                                                                                     พุทธทาสภิกขุ
1. การเรียนรู้เพื่อให้สำาเร็จการศึกษาอย่างมีคุณภาพ

      การเรียนในระดับอุดมศึกษาจึง เป็นการพัฒนารูปแบบการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองมากขึ้น จึงควรเข้าใจรูปแบบการศึกษา ค้นคว้าในระดับ
อุดมศึกษาและการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองในรูปแบบต่างๆ รวมทั้งการศึกษาค้นคว้าจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ส่วนใหญ่อยู่ในสถานศึกษา การเรียนรู้
นอกสถาบันการศึกษาที่จำาเป็นต้องส่งเสริมได้แก่ การเรียนรู้ จากครอบครัว ชุมชน สถานประกอบการ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งนีการเรียนรู้จากแหล่ง
                                                                                                                                 ้
ต่างๆ ไม่ว่าจะเรียนในห้องเรียนหรือ นอกห้องเรียน ถ้าผู้เรียนนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้ จะทำาให้รู้จักดำารงชีวิตได้อย่างมีความสุข

     แนวความคิดของการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา เป็นเรื่องของการสร้างคน โดยใช้ความรู้มาพัฒนาคน หรือสนองความ ต้องการ และความ
อยากรู้อยากเห็นของคน ในขณะเดียวกันคนจะใช้ความรู้เพื่อประโยชน์แก่ตัวเองและสังคมแวดล้อม นอกจากนี้ การเรียน ในระดับอุดมศึกษาเป็นการเรียน
เพือ
   ่


      •     เรียนเพื่อรู้

      •     เรียนเพื่อประกอบอาชีพ

      •     เรียนเพื่อให้ได้แนวคิดและแนวทางการตัดสินใจ

      •     เรียนเพื่อให้รู้แยกแยะผิด ชอบ ชั่ว ดี

      •     เรียนเพื่อให้ดำารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข

      •     เรียนเพื่อพัฒนาตนเองและสังคม

      •     เรียนเพื่อรับใช้สังคม ครอบครัว เป็นพลเมืองดีของประเทศ


      หัวใจของการเรียนในทุกระดับจึงมุ่งให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาตนเองให้เต็มตามศักยภาพที่มีอยู่ ได้ทดลองศึกษา ค้นคว้า และสรุปข้อคิด
ต่างๆได้ด้วยตนเอง ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต้องเป็นความรู้ที่นำาไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้รวมถึง การมีจริยธรรม คุณธรรมและความรับผิดชอบ
ต่อสังคมส่วนรวม รวมทั้งความจำาเป็นของการเรียนรู้ตลอดชีพ การศึกษาค้นคว้า ด้วยตนเอง พร้อมทั้งการหมั่นค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ

     สิงสำาคัญอย่างหนึ่งในการศึกษาค้นคว้า และหมั่นหาความรู้เพิ่มเติมนั้น คือวิธีการศึกษา ดังนั้นผู้ที่ใฝ่รู้ จึงควรที่จะเรียนรู้วิธี การศึกษาค้นคว้าอย่างมี
       ่
ระบบ ระเบียบและวิธีการ พร้อมทั้งวิธีการได้มาของ ข้อมูลต่างๆ เพื่อนำาไปสู่ความสำาเร็จในการเรียน และ ในชีวิตต่อไป

2. การค้นคว้าวิจัย


      การค้นคว้าวิจัย (Research) หมายถึงการสืบสวน หรือการตรวจตราหาข้อมูลโดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้ได้รับความรู้ ในเรื่องใด เรืองหนึ่ง การ
                                                                                                                                ่
ค้นคว้าวิจัยจึงเป็นการศึกษาถึงเรื่อง หรือปัญหาเฉพาะที่ต้องการคำาตอบ หรือหาความรู้เพิ่มเติม โดยทั่วไป การค้นคว้าวิจัยต้องทำาอย่างเป็นระบบ มีขั้น
ตอนตามลำาดับ คือ การกำาหนดหัวข้อ การกำาหนดวัตถุประสงค์การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผล และเขียนรายงานการค้นคว้าวิจัย

3. ประเภทของการค้นคว้าวิจัย

      การแบ่งประเภทของการค้นคว้าวิจัยที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปมี 2 แบบ คือ

      1. แบ่งตามประโยชน์ของการวิจัย มี 2 ประเภท คือ

            1.1 การวิจัยพื้นฐาน (Basic research) หรือ การวิจัยบริสุทธิ์ ( Pure research) เป็นการวิจัยที่มี ความมุ่งหมายเพื่อแสวงหาความรู้ใหม่หรือ
สร้างทฤษฎีใหม่

              1.2 การวิจัยประยุกต์ (Applied research) หรือ การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research) เป็น การวิจัยที่มีความ มุ่งหมายที่จะ นำาผลการ
วิจัย หรือความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน หรือใช้แก้ปัญหาโดยตรงซึ่งจะเกิดผลทันที และมีประโยชน์เห็นได้ชัด

     2. แบ่งตามวิธีวิจัย มี 4 ประเภท คือ

            2.1 การวิจัยเชิงประวัติ (Historical research) มีความมุ่งหมายเพื่อค้นหาข้อเท็จจริงของเหตุ การณ์ในอดีตอย่างมีระบบ เที่ยงตรง และไม่มี
อคติ การวิจัยประเภทนี้มักใช้เอกสาร จึงเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า การวิจัยจากเอกสาร (Documentary research)

              2.2 การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) มีความมุ่งหมาย เพื่อพรรณนาอย่างมีระบบถึง สถานการณ์ปัจจุบัน หรือเรื่องทีสนใจ ซึง
                                                                                                                                   ่      ่
เป็นข้อเท็จจริงอย่างเที่ยงตรงการวิจัยประเภทนี้มักใช้แบบสอบถาม หรือสัมภาษณ์

             2.3 การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) มีความมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์ สาเหตุ และผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ โดย
ทำาการทดลองกับกลุ่มทดลองว่าเมื่อได้รับการปฏิบัติ หรือกระทำาแล้วมีผลอย่างไร แล้วเปรียบเทียบผลกับกลุ่มควบคุม ซึ่งไม่ได้รับ การปฏิบัติ หรือไม่ได้
รับการกระทำาใด ๆ

             2.4 การวิจัยเชิงกรณี หรือเชิงสนาม (Case or field research) บางทีกรียกว่า การศึกษาเฉพาะ กรณี หรือการวิจัยภาคสนาม มีความมุ่ง
หมายเพื่อศึกษาอย่างลึกซึ้งถึงภูมิหลัง สถานะปัจจุบัน และปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมของสังคม ซึ่งอาจเป็น บุคคล กลุ่มคน สถาบัน หรือชุมชนก็ได้

4. ประโยชน์ของการค้นคว้าวิจัย

      การค้นคว้าวิจัยมีประโยชน์หลายประการดังนี้

1. ทำาให้เกิดความรู้ใหม่ และข้อเท็จจริงใหม่ ๆ ทั้งในด้านทฤษฎี และด้านปฏิบัติ
2. ทำาให้มีพัฒนาการทางวิชาการในสาขาวิชาต่าง ๆ
3. ช่วยให้ทราบข้อมูลที่แท้จริง รวมทั้งข้อบกพร่อง เพื่อนำามาใช้แก้ปัญหา หรือนำามาใช้ พัฒนาการปฏิบัติงาน
4. ทำาให้เกิดการรู้จักใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล และสร้างทักษะในการแก้ไขปัญหา
5. เพิ่มพูนทักษะในการเขียนงานทางวิชาการ ซึ่งจะเป็นพื้นฐานของกาสร้างสรรค์ผลงานวิชา การอื่น ๆ ต่อไป

5. การเสนอผลการค้นคว้าวิจัย
วิธีการแสวงหาความรู้ของมนุษย์
       ธรรมชาติของมนุษย์ส่วนใหญ่ต้องการที่จะพัฒนาชีวิตความ
เป็นอยู่ของตนให้ดีขึ้นซึ่งเหตุนี้จึงเป็นแรงกระตุ้นให้มนุษย์มีความ
อยากรู้ อยากเห็น อยากเข้าใจในปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติ
และสิ่งที่อยูรอบตัวเอง เพื่อให้เข้าใจถึงความจริงที่อย่างน้อย
                 ่
มนุษย์พึงเชื่อและยอมรับในความแท้จริงของปรากฏการณ์เหล่านั้น
วิธีการที่มนุษย์ใช้แสวงหาความรู้ความจริงมีดังนี้
     1. การแสวงหาความรู้ความจริงโดยไม่อาศัยเหตุผล
เป็นการแสวงหาความรู้ ความจริงอย่างง่าย ๆ โดยมากมักจะเป็น
ความจริงส่วนบุคคล(Personal Facts) เช่น
        - ความรู้จากประสบการณ์ส่วนบุคคล ความรู้ที่ได้จาก
ประสบการณ์ของแต่ละบุคคลอาจจะเป็นความรูที่ได้จากการสะสม
                                                 ้
ขึ้นมาเองหรือแสวงหาความรู้แบบบังเอิญ เช่นเด็กเล็ก ๆ เอานิ้ว
มือไปใกล้ไฟมากๆ ก็จะเกิดการเรียนรู้วาไฟร้อน หรือได้ความรู้มา
                                         ่
โดยการลองผิดลองถูกเช่น มีบาดแผลเลือดไหล ลองขยีใบไม้        ้
ชนิดต่าง ๆ มาปิดแผลถ้าใบไม้ชนิดใดห้ามเลือดได้ ก็จะเกิดความ
รู้ใหม่ ซึงได้จากการลองผิดลองถูก
            ่
         - ความรู้จากบุคคลอื่นเช่น โดยประเพณีและวัฒนธรรม
โดยมีผู้รบอก ให้หรือโดยผูที่มีความเชี่ยวชาญเป็นผู้บอก
              ู้             ้
      การแสวงหาความรู้ของมนุษย์โดยไม่อาศัยเหตุผลอาจจะเป็น
ไปได้ทงความรู้ที่ถูกและความรู้ ทีผิดไปจากความเป็นจริงที่ได้
         ั้                          ่
และในขณะเดียวกันความรู้นั้น ถ้าเป็นการถ่ายทอดกันมาก็ไม่ก่อ
ให้เกิดความรู้ใหม่เพิ่มเติม
       2. การแสวงหาความรู้ความจริงโดยอาศัยเหตุผล
เป็นการแสวงหาความรู้ความจริงซึงมักจะเน้นความจริงทัวไป
                                       ่                 ่
(Public Facts)เช่น
            2.1 วิธีอนุมาน(Deductionmethod) เป็นการหาความ
สัมพันธ์เชิงเหตุผล ระหว่างข้อเท็จจริงใหญ่และข้อเท็จจริงย่อย
แล้วจึงลงสรุปจากความสัมพันธ์ระหว่างข้อเท็จจริงใหญ่และย่อย
ตัวอย่างเช่น
     ข้อเท็จจริงใหญ่ : คนทำาวิจัยได้ทุกคนมีความสามารถด้าน
การวิเคราะห์ และด้านการสังเคราะห์
     ข้อเท็จจริงย่อย : นายอนันต์ ทำาวิจัยได้
                   สรุป   : นายอนันต์ มีความสามารถด้านการ
วิเคราะห์ และการสังเคราะห์
การใช้วิธีอนุมานถูกโจมตีวาไม่ได้สร้างความรูใหม่ อีกทั้งข้อสรุป
                               ่                   ้
จะเป็นจริงก็ต่อเมื่อข้อเท็จจริงใหญ่และข้อเท็จจริงย่อยเป็นจริงดัง
นั้น ผู้ที่จะนำาเอาวิธีอนุมานไปใช้ถาขาดความรู้เกี่ยวกับสิ่งทีนำามา
                                     ้                       ่
อ้างก็จะทำาให้สรุปผิดได้แต่วิธีอนุมานยังมีประโยชน์ต่อการวิจย     ั
บ้าง ในเรื่องการตั้งสมมติฐาน วางแผนเก็บข้อมูลเป็นต้น
           2.2 วิธีอุปมาน(Induction method) เป็นวิธีย้อนกลับ
กับวิธีอนุมาน นั่นคือเป็นวิธีการค้นหาความรู้ความจริงจากข้อเท็จ
จริงย่อยๆ โดยพิจารณาสิ่งที่เหมือน กัน ต่างกัน สัมพันธ์กัน แล้ว
จึงสรุปเป็นข้อเท็จจริงใหญ่ตัวอย่างเช่น
               ข้อเท็จจริงย่อย : คนที่เป็นโรคเอดส์แต่ละคนรักษาไม่
หายในที่สุดจะตายทุกคน
                ดังนั้น           : กลุมคนที่เป็นโรคเอดส์ต้องตาย
                                       ่
ทุกคน
               ข้อบกพร่องของวิธีอุปมาน คือ หากเก็บรวบรวมข้อมูล
หรือข้อเท็จจริงคลาดเคลื่อนก็จะทำาให้การลงสรุปความรูใหม่ผิด ้
พลาดไป
           2.3 วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
ถือว่าเป็นวิธีสืบแสวงหาความรู้ของมนุษย์สมัยใหม่และเป็นทีนิยม   ่
ใช้กันมากในปัจจุบัน ซึ่งประกอบด้วย 5 ขั้นตอนดังนี้
            1) ขั้นปัญหา (Problem) เป็นการกำาหนดลงไปว่า
ปัญหาที่ แท้จริงคืออะไร
            2) ขั้นตั้งสมมุติฐาน (Hypothesis) เป็นการคาดคะเนคำา
ตอบที่คิดว่าน่าจะเป็นอย่างมี เหตุผล
            3) ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล (Collection of data) เป็นขั้น
รวบรวมข้อมูลหรือหลักฐาน
            4) ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of data) เพื่อทดสอบ
สมมุติฐานที่ตั้งขึ้นมา
            5) ขั้นสรุป (Conclusion) เป็นการสรุปว่าข้อเท็จจริงของ
ปัญหาคืออะไร
        จากวิธีการแสวงหาความรู้จะมีส่วนเกี่ยวข้องกับการวิจัย
เพราะ มนุษย์เป็นผู้ทมีความอยากรู้อยากเห็นซึ่งเมื่อมีความอยากรู้
                        ี่
อยากเห็นแล้วจะต้องพิสูจน์ความจริงให้ได้ มนุษย์นั้นจะต้องศึกษา
ค้นคว้าหาความจริงให้ได้โดยจะต้องอาศัยเหตุและผลก่อนเสมอ
บางครั้งอาจนำาเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์เข้ามาช่วยศึกษา
ค้นคว้าวิจย วิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็นวิธีที่นาเชื่อถือมากที่สุด
             ั                                   ่
นักวิจัยจึงยึดถือและปฏิบัติตามลำาดับขั้นของวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์เป็นหลัก

More Related Content

What's hot

G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)Asmataa
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)Asmataa
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนPrachyanun Nilsook
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างอรุณศรี
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)Marine Meas
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยsanya111
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยPrachyanun Nilsook
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
การเขียนผลงานวิชาการ
การเขียนผลงานวิชาการการเขียนผลงานวิชาการ
การเขียนผลงานวิชาการPrachyanun Nilsook
 

What's hot (19)

G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
Km1
Km1Km1
Km1
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
 
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัย
 
การเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัยการเขียนบทความวิจัย
การเขียนบทความวิจัย
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
การเขียนผลงานวิชาการ
การเขียนผลงานวิชาการการเขียนผลงานวิชาการ
การเขียนผลงานวิชาการ
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Review literature in nursing
Review literature in nursingReview literature in nursing
Review literature in nursing
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 

Viewers also liked

Storyboards for thriller
Storyboards for thrillerStoryboards for thriller
Storyboards for thrillerguestc22b03
 
15 จุดอันตรายPpt
15 จุดอันตรายPpt15 จุดอันตรายPpt
15 จุดอันตรายPptwasan
 
20100114 About Open Pne English
20100114 About Open Pne English20100114 About Open Pne English
20100114 About Open Pne Englishguest590f59
 
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบลหลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบลwasan
 
What Were Their Faults
What Were Their FaultsWhat Were Their Faults
What Were Their FaultsAnirban Ghatak
 
Study: The Future of VR, AR and Self-Driving Cars
Study: The Future of VR, AR and Self-Driving CarsStudy: The Future of VR, AR and Self-Driving Cars
Study: The Future of VR, AR and Self-Driving CarsLinkedIn
 

Viewers also liked (7)

Storyboards for thriller
Storyboards for thrillerStoryboards for thriller
Storyboards for thriller
 
15 จุดอันตรายPpt
15 จุดอันตรายPpt15 จุดอันตรายPpt
15 จุดอันตรายPpt
 
20100114 About Open Pne English
20100114 About Open Pne English20100114 About Open Pne English
20100114 About Open Pne English
 
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบลหลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
 
My Choice
My ChoiceMy Choice
My Choice
 
What Were Their Faults
What Were Their FaultsWhat Were Their Faults
What Were Their Faults
 
Study: The Future of VR, AR and Self-Driving Cars
Study: The Future of VR, AR and Self-Driving CarsStudy: The Future of VR, AR and Self-Driving Cars
Study: The Future of VR, AR and Self-Driving Cars
 

Similar to Cแนะแนว

ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3bussayamas1618
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2powe1234
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีkorakate
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1Piyamas Songtronge
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)suparada
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectFelinicia
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางIaon Srichiangsa
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อJeeraJaree Srithai
 

Similar to Cแนะแนว (20)

ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Commm
CommmCommm
Commm
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1
 
คอม01.doc
คอม01.docคอม01.doc
คอม01.doc
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
maisooree
maisooreemaisooree
maisooree
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
 

Cแนะแนว

  • 1. 1. การเรียนรู้เพื่อให้สำาเร็จการศึกษาอย่างมีคุณภาพ การเรียนในระดับอุดมศึกษาจึง เป็นการพัฒนารูปแบบการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองมากขึ้น จึงควรเข้าใจรูปแบบการศึกษา ค้นคว้าใน ระดับอุดมศึกษาและการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองในรูปแบบต่างๆ รวมทั้งการศึกษาค้นคว้าจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ส่วนใหญ่อยู่ในสถาน ศึกษา การเรียนรู้นอกสถาบันการศึกษาที่จำาเป็นต้องส่งเสริมได้แก่ การเรียนรู้ จากครอบครัว ชุมชน สถานประกอบการ ธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม ทั้งนี้การเรียนรู้จากแหล่งต่างๆ ไม่ว่าจะเรียนในห้องเรียนหรือ นอกห้องเรียน ถ้าผู้เรียนนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้ จะทำาให้รู้จักดำารง ชีวิตได้อย่างมีความสุข แนวความคิดของการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา เป็นเรื่องของการสร้างคน โดยใช้ความรู้มาพัฒนาคน หรือสนองความ ต้องการ และความอยากรู้อยากเห็นของคน ในขณะเดียวกันคนจะใช้ความรู้เพื่อประโยชน์แก่ตัวเองและสังคมแวดล้อม นอกจากนี้ การเรียน ในระดับ อุดมศึกษาเป็นการเรียนเพื่อ • เรียนเพื่อรู้ • เรียนเพื่อประกอบอาชีพ • เรียนเพื่อให้ได้แนวคิดและแนวทางการตัดสินใจ • เรียนเพื่อให้รู้แยกแยะผิด ชอบ ชั่ว ดี • เรียนเพื่อให้ดำารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข • เรียนเพื่อพัฒนาตนเองและสังคม • เรียนเพื่อรับใช้สังคม ครอบครัว เป็นพลเมืองดีของประเทศ หัวใจของการเรียนในทุกระดับจึงมุ่งให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาตนเองให้เต็มตามศักยภาพที่มีอยู่ ได้ทดลองศึกษา ค้นคว้า และ สรุปข้อคิดต่างๆได้ด้วยตนเอง ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต้องเป็นความรู้ที่นำาไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้รวมถึง การมีจริยธรรม คุณธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม รวมทั้งความจำาเป็นของการเรียนรู้ตลอดชีพ การศึกษาค้นคว้า ด้วยตนเอง พร้อมทั้งการหมั่นค้นคว้า หาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ สิ่งสำาคัญอย่างหนึ่งในการศึกษาค้นคว้า และหมั่นหาความรู้เพิ่มเติมนั้น คือวิธีการศึกษา ดังนันผู้ที่ใฝ่รู้ จึงควรที่จะเรียนรู้วิธี การศึกษา ้ ค้นคว้าอย่างมีระบบ ระเบียบและวิธีการ พร้อมทั้งวิธการได้มาของ ข้อมูลต่างๆ เพือนำาไปสู่ความสำาเร็จในการเรียน และ ในชีวิตต่อไป ี ่ 2. การค้นคว้าวิจัย การค้นคว้าวิจัย (Research) หมายถึงการสืบสวน หรือการตรวจตราหาข้อมูลโดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้ได้รับความรู้ ในเรื่องใด เรื่อง หนึ่ง การค้นคว้าวิจัยจึงเป็นการศึกษาถึงเรื่อง หรือปัญหาเฉพาะที่ต้องการคำาตอบ หรือหาความรู้เพิ่มเติม โดยทั่วไป การค้นคว้าวิจัยต้องทำา อย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนตามลำาดับ คือ การกำาหนดหัวข้อ การกำาหนดวัตถุประสงค์การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผล และ เขียนรายงานการค้นคว้าวิจัย 3. ประเภทของการค้นคว้าวิจัย การแบ่งประเภทของการค้นคว้าวิจัยที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปมี 2 แบบ คือ 1. แบ่งตามประโยชน์ของการวิจัย มี 2 ประเภท คือ 1.1 การวิจัยพื้นฐาน (Basic research) หรือ การวิจัยบริสุทธิ์ ( Pure research) เป็นการวิจัยที่มี ความมุ่งหมายเพื่อแสวงหาความ รู้ใหม่หรือสร้างทฤษฎีใหม่ 1.2 การวิจัยประยุกต์ (Applied research) หรือ การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research) เป็น การวิจัยที่มีความ มุ่งหมายที่จะ นำาผลการวิจัย หรือความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน หรือใช้แก้ปัญหาโดยตรงซึ่งจะเกิดผลทันที และมีประโยชน์เห็นได้ชัด 2. แบ่งตามวิธีวิจัย มี 4 ประเภท คือ 2.1 การวิจัยเชิงประวัติ (Historical research) มีความมุ่งหมายเพื่อค้นหาข้อเท็จจริงของเหตุ การณ์ในอดีตอย่างมีระบบ เที่ยง ตรง และไม่มีอคติ การวิจัยประเภทนีมักใช้เอกสาร จึงเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า การวิจัยจากเอกสาร (Documentary research) ้ 2.2 การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) มีความมุ่งหมาย เพือพรรณนาอย่างมีระบบถึง สถานการณ์ปัจจุบัน หรือเรื่อง ่ ที่สนใจ ซึงเป็นข้อเท็จจริงอย่างเที่ยงตรงการวิจัยประเภทนี้มักใช้แบบสอบถาม หรือสัมภาษณ์ ่ 2.3 การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) มีความมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์ สาเหตุ และผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ โดยทำาการทดลองกับกลุ่มทดลองว่าเมื่อได้รับการปฏิบัติ หรือกระทำาแล้วมีผลอย่างไร แล้วเปรียบเทียบผลกับกลุ่มควบคุม ซึ่งไม่ได้รับ การ ปฏิบัติ หรือไม่ได้รับการกระทำาใด ๆ 2.4 การวิจัยเชิงกรณี หรือเชิงสนาม (Case or field research) บางทีกรียกว่า การศึกษาเฉพาะ กรณี หรือการวิจัยภาคสนาม มี ความมุ่งหมายเพื่อศึกษาอย่างลึกซึ้งถึงภูมิหลัง สถานะปัจจุบัน และปฎิสมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมของสังคม ซึ่งอาจเป็น บุคคล กลุ่มคน สถาบัน ั หรือชุมชนก็ได้ 4. ประโยชน์ของการค้นคว้าวิจัย การค้นคว้าวิจัยมีประโยชน์หลายประการดังนี้ 1. ทำาให้เกิดความรู้ใหม่ และข้อเท็จจริงใหม่ ๆ ทังในด้านทฤษฎี และด้านปฏิบัติ ้ 2. ทำาให้มีพัฒนาการทางวิชาการในสาขาวิชาต่าง ๆ 3. ช่วยให้ทราบข้อมูลที่แท้จริง รวมทั้งข้อบกพร่อง เพือนำามาใช้แก้ปัญหา หรือนำามาใช้ พัฒนาการปฏิบัติงาน ่
  • 2. 4. ทำาให้เกิดการรู้จักใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล และสร้างทักษะในการแก้ไขปัญหา 5. เพิ่มพูนทักษะในการเขียนงานทางวิชาการ ซึงจะเป็นพื้นฐานของกาสร้างสรรค์ผลงานวิชา การอื่น ๆ ต่อไป ่ 5. การเสนอผลการค้นคว้าวิจัย ผลของการค้นคว้าวิจัย สามารถนำาเสนอได้ดังต่อไปนี้ 1. รายงานวิชาการ (Report ) หมายถึง รายงานการค้นคว้าซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการค้นคว้าวิจัย ในเรืองใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ เพือ ่ ่ ประกอบการเรียนรายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง (ในรายวิชาหนึ่ง อาจมีรายงานวิชาการได้หลายเรื่อง) สำาหรับนิสิตในระดับปริญญาบัณฑิต ผลการ ค้นคว้าวิจัยมักจะปรากฏในรูปของรายงานวิชาการ 2. ภาคนิพนธ์ (Term paper ) มีลักษะเช่นเดียวกับรายงานวิชาการ เพียงแต่เรื่อที่ศึกษาค้นคว้า วิจัยมักจะมีขอบเขตกว้างและลึกซึ้ง กว่า ต้องใช้เวลาในการค้นคว้าวิจัยมากกว่า อาจจะต้องใช้เวลาตลอดภาคการศึกษานั้น ดังนั้น ในการทำาภาคนิพนธ์ ผู้เรียนจึงมักได้รับมอบ หมายให้ทำาเพียงเรื่องเดียว ในแต่ละรายวิชาต่อภาคการศึกษา 3. วิทยานิพนธ์ (Thesis / Dissertation) วิทยานิพนธ์ หรือมหาวิทยาลัยบางแห่งเรียกว่าปริญญา นิพนธ์ เป็นรายงาน ผลการค้นคว้าวิจัย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต หรือปริญญาดุษฎีบัณฑิต โดยผู้เรียน เลือกเรื่อง ที่ประสงค์จะศึกษา และ ทำาการค้นคว้าอย่างละเอียดลึกซึ้ง การทำาวิทยานิพนธ์ หรือปริญญานิพนธ์ มุงให้ผู้ทำารู้จักวิธีการ ศึกษาค้นคว้า อย่างมีเหตุมีผล มีระเบียบ และรู้จักวิเคราะห์ ข้อมูลที่ได้ ่ จากการศึกษาค้นคว้า การนำาเสนอผลการค้นคว้าวิจัยนั้น มุงหาเหตุผล เพื่อ พิสูจน์สมมุติฐาน แสดงความคิดเห็นของผู้ทำา และให้ข้อเสนอ ่ แนะ เพือเผยแพร่ความรู้ที่ได้ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น และเป็นแนวทาง แก่ผู้สนในที่จะทำาการค้นคว้าวิจัยในเรื่องนั้น ๆ ต่อไป ่ 4. รายงานวิจัย (Research Report ) เป็นรายงานผลการค้นคว้าวิจัยของอาจารย์นักวิจัย และผู้ปฏิบัติงานที่ได้ทำาการ ค้นคว้า อย่าง เป็นระบบ การค้นคว้าเพื่อทำางานวิจัยต้องอาศัยความละเอียด ถี่ถ้วน สมบูรณ์ และเที่ยงตรง 6. ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้าและการทำารายงาน การศึกษาค้นคว้าวิจัยและการทำารายงาน ต้องมีระบบและขั้นตอน ซึ่งมีการวางแผนไว้แล้วอย่างดี โดยทั่วไปมีขั้นตอนดังนี้ 6.1 การเลือกหรือการกำาหนดหัวข้อ การเลือกหัวข้อรายงานมีความสำาคัญอย่างยิ่งต่อความสำาเร็จและคุณภาพของรายงาน โดยมีการศึกษาหาข้อมูลเบื้องต้น ในเรื่องนั้นเพือ ่ ให้เกิดแนวคิดในการค้นคว้าเพื่อเขียนเรื่องนั้นต่อไป นอกจากนี้ การเลือกหัวข้อเรื่อง ควรให้เหมาะสมกับรายวิชา และควรปรึกษาเพื่อขอคำา แนะนำาจากอาจารย์ผู้สอน หลักทั่วไป ในการเลือกหัวข้อเรื่อง ได้แก่ 6.1 ความสนใจของผู้ทำารายงาน 6.2 ความรู้ในเรื่องที่ทำารายงาน 6.3 แหล่งข้อมูลในการค้นคว้า 6.4 หัวข้อที่เหมาะสมกับสถานการณ์และขอบเขตของรายวิชา ซึ่งจะได้อธิบายโดยละเอียดในหัวข้อต่อไป 6.2 การกำาหนดวัตถุประสงค์ หลังจากได้หัวข้อแล้วต้องมีการกำาหนดวัตถุประสงค์ เพือกำาหนดความต้องการและขอบเขตของเรื่องที่ตองการศึกษา โดยผู้ทำารายงาน ่ ้ ต้องตอบคำาถามของตนเองก่อนว่า ทำาไมเราเลือกทำารายงานหัวข้อนี้ อยากศึกษาอะไร ต้องการทราบคำาตอบในเรื่องใด การกำาหนดวัตถุประสงค์จะเป็นแนวทางในการกำาหนดเป้าหมาย ขอบเขต และโครงเรื่องของรายงานว่าจะเป็นไปในทิศทางใด เพือช่วย ่ ในการตัดสินใจเลือกแหล่งข้อมูลสำาหรับการค้นคว้า 6.3 การเขียนโครงเรื่อง โครงเรื่องคือกรอบของเรื่องที่ผู้ทำารายงานจะใช้เป็นแนวทางในการเขียนรายงาน เป็นการระบุส่วนต่างๆของเนื้อหา และการจัด ลำาดับ ความสำาคัญของหัวข้อต่างๆ โครงเรื่อง ประกอบด้วย บทนำา หัวข้อใหญ่ หัวข้อรอง หัวข้อย่อย และบทสรุป 1. การเรียนรู้เพื่อให้สำาเร็จการศึกษาอย่างมีคุณภาพ การเรียนในระดับอุดมศึกษาจึง เป็นการพัฒนารูปแบบการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองมากขึ้น จึงควรเข้าใจรูปแบบการศึกษา ค้นคว้าใน ระดับอุดมศึกษาและการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองในรูปแบบต่างๆ รวมทั้งการศึกษาค้นคว้าจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ส่วนใหญ่อยู่ในสถาน ศึกษา การเรียนรู้นอกสถาบันการศึกษาที่จำาเป็นต้องส่งเสริมได้แก่ การเรียนรู้ จากครอบครัว ชุมชน สถานประกอบการ ธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม ทั้งนี้การเรียนรู้จากแหล่งต่างๆ ไม่ว่าจะเรียนในห้องเรียนหรือ นอกห้องเรียน ถ้าผู้เรียนนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้ จะทำาให้รู้จักดำารง ชีวิตได้อย่างมีความสุข แนวความคิดของการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา เป็นเรื่องของการสร้างคน โดยใช้ความรู้มาพัฒนาคน หรือสนองความ ต้องการ และความอยากรู้อยากเห็นของคน ในขณะเดียวกันคนจะใช้ความรู้เพื่อประโยชน์แก่ตัวเองและสังคมแวดล้อม นอกจากนี้ การเรียน ในระดับ อุดมศึกษาเป็นการเรียนเพื่อ • เรียนเพื่อรู้ • เรียนเพื่อประกอบอาชีพ
  • 3. เรียนเพื่อให้ได้แนวคิดและแนวทางการตัดสินใจ • เรียนเพื่อให้รู้แยกแยะผิด ชอบ ชั่ว ดี • เรียนเพื่อให้ดำารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข • เรียนเพื่อพัฒนาตนเองและสังคม • เรียนเพื่อรับใช้สังคม ครอบครัว เป็นพลเมืองดีของประเทศ หัวใจของการเรียนในทุกระดับจึงมุ่งให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาตนเองให้เต็มตามศักยภาพที่มีอยู่ ได้ทดลองศึกษา ค้นคว้า และ สรุปข้อคิดต่างๆได้ด้วยตนเอง ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต้องเป็นความรู้ที่นำาไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้รวมถึง การมีจริยธรรม คุณธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม รวมทั้งความจำาเป็นของการเรียนรู้ตลอดชีพ การศึกษาค้นคว้า ด้วยตนเอง พร้อมทั้งการหมั่นค้นคว้า หาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ สิ่งสำาคัญอย่างหนึ่งในการศึกษาค้นคว้า และหมั่นหาความรู้เพิ่มเติมนั้น คือวิธีการศึกษา ดังนันผู้ที่ใฝ่รู้ จึงควรที่จะเรียนรู้วิธี การศึกษา ้ ค้นคว้าอย่างมีระบบ ระเบียบและวิธีการ พร้อมทั้งวิธการได้มาของ ข้อมูลต่างๆ เพือนำาไปสู่ความสำาเร็จในการเรียน และ ในชีวิตต่อไป ี ่ 2. การค้นคว้าวิจัย การค้นคว้าวิจัย (Research) หมายถึงการสืบสวน หรือการตรวจตราหาข้อมูลโดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้ได้รับความรู้ ในเรื่องใด เรื่อง หนึ่ง การค้นคว้าวิจัยจึงเป็นการศึกษาถึงเรื่อง หรือปัญหาเฉพาะที่ต้องการคำาตอบ หรือหาความรู้เพิ่มเติม โดยทั่วไป การค้นคว้าวิจัยต้องทำา อย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนตามลำาดับ คือ การกำาหนดหัวข้อ การกำาหนดวัตถุประสงค์การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผล และ เขียนรายงานการค้นคว้าวิจัย 3. ประเภทของการค้นคว้าวิจัย การแบ่งประเภทของการค้นคว้าวิจัยที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปมี 2 แบบ คือ 1. แบ่งตามประโยชน์ของการวิจัย มี 2 ประเภท คือ 1.1 การวิจัยพื้นฐาน (Basic research) หรือ การวิจัยบริสุทธิ์ ( Pure research) เป็นการวิจัยที่มี ความมุ่งหมายเพื่อแสวงหาความ รู้ใหม่หรือสร้างทฤษฎีใหม่ 1.2 การวิจัยประยุกต์ (Applied research) หรือ การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research) เป็น การวิจัยที่มีความ มุ่งหมายที่จะ นำาผลการวิจัย หรือความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน หรือใช้แก้ปัญหาโดยตรงซึ่งจะเกิดผลทันที และมีประโยชน์เห็นได้ชัด 2. แบ่งตามวิธีวิจัย มี 4 ประเภท คือ 2.1 การวิจัยเชิงประวัติ (Historical research) มีความมุ่งหมายเพื่อค้นหาข้อเท็จจริงของเหตุ การณ์ในอดีตอย่างมีระบบ เที่ยง ตรง และไม่มีอคติ การวิจัยประเภทนีมักใช้เอกสาร จึงเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า การวิจัยจากเอกสาร (Documentary research) ้ 2.2 การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) มีความมุ่งหมาย เพือพรรณนาอย่างมีระบบถึง สถานการณ์ปัจจุบัน หรือเรื่อง ่ ที่สนใจ ซึงเป็นข้อเท็จจริงอย่างเที่ยงตรงการวิจัยประเภทนี้มักใช้แบบสอบถาม หรือสัมภาษณ์ ่ 2.3 การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) มีความมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์ สาเหตุ และผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ โดยทำาการทดลองกับกลุ่มทดลองว่าเมื่อได้รับการปฏิบัติ หรือกระทำาแล้วมีผลอย่างไร แล้วเปรียบเทียบผลกับกลุ่มควบคุม ซึ่งไม่ได้รับ การ ปฏิบัติ หรือไม่ได้รับการกระทำาใด ๆ 2.4 การวิจัยเชิงกรณี หรือเชิงสนาม (Case or field research) บางทีกรียกว่า การศึกษาเฉพาะ กรณี หรือการวิจัยภาคสนาม มี ความมุ่งหมายเพื่อศึกษาอย่างลึกซึ้งถึงภูมิหลัง สถานะปัจจุบัน และปฎิสมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมของสังคม ซึ่งอาจเป็น บุคคล กลุ่มคน สถาบัน ั หรือชุมชนก็ได้ 4. ประโยชน์ของการค้นคว้าวิจัย การค้นคว้าวิจัยมีประโยชน์หลายประการดังนี้ 1. ทำาให้เกิดความรู้ใหม่ และข้อเท็จจริงใหม่ ๆ ทังในด้านทฤษฎี และด้านปฏิบัติ ้ 2. ทำาให้มีพัฒนาการทางวิชาการในสาขาวิชาต่าง ๆ 3. ช่วยให้ทราบข้อมูลที่แท้จริง รวมทั้งข้อบกพร่อง เพือนำามาใช้แก้ปัญหา หรือนำามาใช้ พัฒนาการปฏิบัติงาน ่ 4. ทำาให้เกิดการรู้จักใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล และสร้างทักษะในการแก้ไขปัญหา 5. เพิ่มพูนทักษะในการเขียนงานทางวิชาการ ซึงจะเป็นพื้นฐานของกาสร้างสรรค์ผลงานวิชา การอื่น ๆ ต่อไป ่ 5. การเสนอผลการค้นคว้าวิจัย ผลของการค้นคว้าวิจัย สามารถนำาเสนอได้ดังต่อไปนี้ 1. รายงานวิชาการ (Report ) หมายถึง รายงานการค้นคว้าซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการค้นคว้าวิจัย ในเรืองใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ เพือ ่ ่ ประกอบการเรียนรายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง (ในรายวิชาหนึ่ง อาจมีรายงานวิชาการได้หลายเรื่อง) สำาหรับนิสิตในระดับปริญญาบัณฑิต ผลการ ค้นคว้าวิจัยมักจะปรากฏในรูปของรายงานวิชาการ 2. ภาคนิพนธ์ (Term paper ) มีลักษะเช่นเดียวกับรายงานวิชาการ เพียงแต่เรื่อที่ศึกษาค้นคว้า วิจัยมักจะมีขอบเขตกว้างและลึกซึ้ง กว่า ต้องใช้เวลาในการค้นคว้าวิจัยมากกว่า อาจจะต้องใช้เวลาตลอดภาคการศึกษานั้น ดังนั้น ในการทำาภาคนิพนธ์ ผู้เรียนจึงมักได้รับมอบ หมายให้ทำาเพียงเรื่องเดียว ในแต่ละรายวิชาต่อภาคการศึกษา 3. วิทยานิพนธ์ (Thesis / Dissertation) วิทยานิพนธ์ หรือมหาวิทยาลัยบางแห่งเรียกว่าปริญญา นิพนธ์ เป็นรายงาน ผลการค้นคว้าวิจัย
  • 4. ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต หรือปริญญาดุษฎีบัณฑิต โดยผู้เรียน เลือกเรื่อง ที่ประสงค์จะศึกษา และ ทำาการค้นคว้าอย่างละเอียดลึกซึ้ง การทำาวิทยานิพนธ์ หรือปริญญานิพนธ์ มุงให้ผู้ทำารู้จักวิธีการ ศึกษาค้นคว้า อย่างมีเหตุมีผล มีระเบียบ และรู้จักวิเคราะห์ ข้อมูลที่ได้ ่ จากการศึกษาค้นคว้า การนำาเสนอผลการค้นคว้าวิจัยนั้น มุงหาเหตุผล เพื่อ พิสูจน์สมมุติฐาน แสดงความคิดเห็นของผู้ทำา และให้ข้อเสนอ ่ แนะ เพือเผยแพร่ความรู้ที่ได้ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น และเป็นแนวทาง แก่ผู้สนในที่จะทำาการค้นคว้าวิจัยในเรื่องนั้น ๆ ต่อไป ่ 4. รายงานวิจัย (Research Report ) เป็นรายงานผลการค้นคว้าวิจัยของอาจารย์นักวิจัย และผู้ปฏิบัติงานที่ได้ทำาการ ค้นคว้า อย่าง เป็นระบบ การค้นคว้าเพื่อทำางานวิจัยต้องอาศัยความละเอียด ถี่ถ้วน สมบูรณ์ และเที่ยงตรง 6. ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้าและการทำารายงาน การศึกษาค้นคว้าวิจัยและการทำารายงาน ต้องมีระบบและขั้นตอน ซึ่งมีการวางแผนไว้แล้วอย่างดี โดยทั่วไปมีขั้นตอนดังนี้ 6.1 การเลือกหรือการกำาหนดหัวข้อ การเลือกหัวข้อรายงานมีความสำาคัญอย่างยิ่งต่อความสำาเร็จและคุณภาพของรายงาน โดยมีการศึกษาหาข้อมูลเบื้องต้น ในเรื่องนั้นเพือ ่ ให้เกิดแนวคิดในการค้นคว้าเพื่อเขียนเรื่องนั้นต่อไป นอกจากนี้ การเลือกหัวข้อเรื่อง ควรให้เหมาะสมกับรายวิชา และควรปรึกษาเพื่อขอคำา แนะนำาจากอาจารย์ผู้สอน หลักทั่วไป ในการเลือกหัวข้อเรื่อง ได้แก่ 6.1 ความสนใจของผู้ทำารายงาน 6.2 ความรู้ในเรื่องที่ทำารายงาน 6.3 แหล่งข้อมูลในการค้นคว้า 6.4 หัวข้อที่เหมาะสมกับสถานการณ์และขอบเขตของรายวิชา ซึ่งจะได้อธิบายโดยละเอียดในหัวข้อต่อไป 6.2 การกำาหนดวัตถุประสงค์ หลังจากได้หัวข้อแล้วต้องมีการกำาหนดวัตถุประสงค์ เพือกำาหนดความต้องการและขอบเขตของเรื่องที่ตองการศึกษา โดยผู้ทำารายงาน ่ ้ ต้องตอบคำาถามของตนเองก่อนว่า ทำาไมเราเลือกทำารายงานหัวข้อนี้ อยากศึกษาอะไร ต้องการทราบคำาตอบในเรื่องใด การกำาหนดวัตถุประสงค์จะเป็นแนวทางในการกำาหนดเป้าหมาย ขอบเขต และโครงเรื่องของรายงานว่าจะเป็นไปในทิศทางใด เพือช่วย ่ ในการตัดสินใจเลือกแหล่งข้อมูลสำาหรับการค้นคว้า 6.3 การเขียนโครงเรื่อง โครงเรื่องคือกรอบของเรื่องที่ผู้ทำารายงานจะใช้เป็นแนวทางในการเขียนรายงาน เป็นการระบุส่วนต่างๆของเนื้อหา และการจัด ลำาดับ ความสำาคัญของหัวข้อต่างๆ โครงเรื่อง ประกอบด้วย บทนำา หัวข้อใหญ่ หัวข้อรอง หัวข้อย่อย และบทสรุป 9.การศึกษาค้นคว้าและการแสวงหาความรู้ วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียน 1. บอกถึงวัตถุประสงค์ของการเรียนในระดับอุดมศึกษา และวิธการการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ี 2. บอกถึงความหมาย ประโยชน์ และขั้นตอนในการค้นคว้าวิจัย 3. บอกถึงขั้นตอนในการศึกษาค้นคว้าและการทำารายงาน 4. สามารถเขียนโครงเรื่องเพื่อวางแผนการศึกษาค้นคว้าและการทำารายงานได้
  • 5. เนื้อหา 1. การเรียนรู้เพื่อให้สำาเร็จการศึกษาอย่างมีคุณภาพ 2. การค้นคว้าวิจัย 3. ประเภทของการค้นคว้าวิจัย 4. ประโยชน์ของการค้นคว้าวิจัย 5. การเสนอผลการค้นคว้าวิจัย 6. ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้าและการทำารายงาน 6.1 การเลือกหรือการกำาหนดหัวข้อ 6.2 การกำาหนดวัตถุประสงค์ 6.3 การเขียนโครงเรื่อง 6.4 การสำารวจแหล่งข้อมูลและการรวบรวมข้อมูล 6.5 การอ่านและการบันทึกข้อความ 6.6 การเรียบเรียงรายงาน 6.7 การอ้างอิง 6.8 การเขียนบรรณานุกรมและรายการอ้างอิง 7. การเขียนโครงเรื่องเพื่อวางแผนการศึกษาค้นคว้า “การศึกษา มิใช่เป็นการเรียน เรียน ท่อง ท่อง แต่เป็นการเห็นอย่างถูกต้องและสมบูรณ์ด้วยตนเอง” พุทธทาสภิกขุ
  • 6. 1. การเรียนรู้เพื่อให้สำาเร็จการศึกษาอย่างมีคุณภาพ การเรียนในระดับอุดมศึกษาจึง เป็นการพัฒนารูปแบบการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองมากขึ้น จึงควรเข้าใจรูปแบบการศึกษา ค้นคว้าในระดับ อุดมศึกษาและการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองในรูปแบบต่างๆ รวมทั้งการศึกษาค้นคว้าจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ส่วนใหญ่อยู่ในสถานศึกษา การเรียนรู้ นอกสถาบันการศึกษาที่จำาเป็นต้องส่งเสริมได้แก่ การเรียนรู้ จากครอบครัว ชุมชน สถานประกอบการ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งนีการเรียนรู้จากแหล่ง ้ ต่างๆ ไม่ว่าจะเรียนในห้องเรียนหรือ นอกห้องเรียน ถ้าผู้เรียนนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้ จะทำาให้รู้จักดำารงชีวิตได้อย่างมีความสุข แนวความคิดของการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา เป็นเรื่องของการสร้างคน โดยใช้ความรู้มาพัฒนาคน หรือสนองความ ต้องการ และความ อยากรู้อยากเห็นของคน ในขณะเดียวกันคนจะใช้ความรู้เพื่อประโยชน์แก่ตัวเองและสังคมแวดล้อม นอกจากนี้ การเรียน ในระดับอุดมศึกษาเป็นการเรียน เพือ ่ • เรียนเพื่อรู้ • เรียนเพื่อประกอบอาชีพ • เรียนเพื่อให้ได้แนวคิดและแนวทางการตัดสินใจ • เรียนเพื่อให้รู้แยกแยะผิด ชอบ ชั่ว ดี • เรียนเพื่อให้ดำารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข • เรียนเพื่อพัฒนาตนเองและสังคม • เรียนเพื่อรับใช้สังคม ครอบครัว เป็นพลเมืองดีของประเทศ หัวใจของการเรียนในทุกระดับจึงมุ่งให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาตนเองให้เต็มตามศักยภาพที่มีอยู่ ได้ทดลองศึกษา ค้นคว้า และสรุปข้อคิด ต่างๆได้ด้วยตนเอง ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต้องเป็นความรู้ที่นำาไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้รวมถึง การมีจริยธรรม คุณธรรมและความรับผิดชอบ ต่อสังคมส่วนรวม รวมทั้งความจำาเป็นของการเรียนรู้ตลอดชีพ การศึกษาค้นคว้า ด้วยตนเอง พร้อมทั้งการหมั่นค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ สิงสำาคัญอย่างหนึ่งในการศึกษาค้นคว้า และหมั่นหาความรู้เพิ่มเติมนั้น คือวิธีการศึกษา ดังนั้นผู้ที่ใฝ่รู้ จึงควรที่จะเรียนรู้วิธี การศึกษาค้นคว้าอย่างมี ่ ระบบ ระเบียบและวิธีการ พร้อมทั้งวิธีการได้มาของ ข้อมูลต่างๆ เพื่อนำาไปสู่ความสำาเร็จในการเรียน และ ในชีวิตต่อไป 2. การค้นคว้าวิจัย การค้นคว้าวิจัย (Research) หมายถึงการสืบสวน หรือการตรวจตราหาข้อมูลโดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้ได้รับความรู้ ในเรื่องใด เรืองหนึ่ง การ ่ ค้นคว้าวิจัยจึงเป็นการศึกษาถึงเรื่อง หรือปัญหาเฉพาะที่ต้องการคำาตอบ หรือหาความรู้เพิ่มเติม โดยทั่วไป การค้นคว้าวิจัยต้องทำาอย่างเป็นระบบ มีขั้น ตอนตามลำาดับ คือ การกำาหนดหัวข้อ การกำาหนดวัตถุประสงค์การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผล และเขียนรายงานการค้นคว้าวิจัย 3. ประเภทของการค้นคว้าวิจัย การแบ่งประเภทของการค้นคว้าวิจัยที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปมี 2 แบบ คือ 1. แบ่งตามประโยชน์ของการวิจัย มี 2 ประเภท คือ 1.1 การวิจัยพื้นฐาน (Basic research) หรือ การวิจัยบริสุทธิ์ ( Pure research) เป็นการวิจัยที่มี ความมุ่งหมายเพื่อแสวงหาความรู้ใหม่หรือ สร้างทฤษฎีใหม่ 1.2 การวิจัยประยุกต์ (Applied research) หรือ การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research) เป็น การวิจัยที่มีความ มุ่งหมายที่จะ นำาผลการ วิจัย หรือความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน หรือใช้แก้ปัญหาโดยตรงซึ่งจะเกิดผลทันที และมีประโยชน์เห็นได้ชัด 2. แบ่งตามวิธีวิจัย มี 4 ประเภท คือ 2.1 การวิจัยเชิงประวัติ (Historical research) มีความมุ่งหมายเพื่อค้นหาข้อเท็จจริงของเหตุ การณ์ในอดีตอย่างมีระบบ เที่ยงตรง และไม่มี อคติ การวิจัยประเภทนี้มักใช้เอกสาร จึงเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า การวิจัยจากเอกสาร (Documentary research) 2.2 การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) มีความมุ่งหมาย เพื่อพรรณนาอย่างมีระบบถึง สถานการณ์ปัจจุบัน หรือเรื่องทีสนใจ ซึง ่ ่ เป็นข้อเท็จจริงอย่างเที่ยงตรงการวิจัยประเภทนี้มักใช้แบบสอบถาม หรือสัมภาษณ์ 2.3 การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) มีความมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์ สาเหตุ และผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ โดย ทำาการทดลองกับกลุ่มทดลองว่าเมื่อได้รับการปฏิบัติ หรือกระทำาแล้วมีผลอย่างไร แล้วเปรียบเทียบผลกับกลุ่มควบคุม ซึ่งไม่ได้รับ การปฏิบัติ หรือไม่ได้ รับการกระทำาใด ๆ 2.4 การวิจัยเชิงกรณี หรือเชิงสนาม (Case or field research) บางทีกรียกว่า การศึกษาเฉพาะ กรณี หรือการวิจัยภาคสนาม มีความมุ่ง หมายเพื่อศึกษาอย่างลึกซึ้งถึงภูมิหลัง สถานะปัจจุบัน และปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมของสังคม ซึ่งอาจเป็น บุคคล กลุ่มคน สถาบัน หรือชุมชนก็ได้ 4. ประโยชน์ของการค้นคว้าวิจัย การค้นคว้าวิจัยมีประโยชน์หลายประการดังนี้ 1. ทำาให้เกิดความรู้ใหม่ และข้อเท็จจริงใหม่ ๆ ทั้งในด้านทฤษฎี และด้านปฏิบัติ 2. ทำาให้มีพัฒนาการทางวิชาการในสาขาวิชาต่าง ๆ 3. ช่วยให้ทราบข้อมูลที่แท้จริง รวมทั้งข้อบกพร่อง เพื่อนำามาใช้แก้ปัญหา หรือนำามาใช้ พัฒนาการปฏิบัติงาน 4. ทำาให้เกิดการรู้จักใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล และสร้างทักษะในการแก้ไขปัญหา 5. เพิ่มพูนทักษะในการเขียนงานทางวิชาการ ซึ่งจะเป็นพื้นฐานของกาสร้างสรรค์ผลงานวิชา การอื่น ๆ ต่อไป 5. การเสนอผลการค้นคว้าวิจัย
  • 7. วิธีการแสวงหาความรู้ของมนุษย์ ธรรมชาติของมนุษย์ส่วนใหญ่ต้องการที่จะพัฒนาชีวิตความ เป็นอยู่ของตนให้ดีขึ้นซึ่งเหตุนี้จึงเป็นแรงกระตุ้นให้มนุษย์มีความ อยากรู้ อยากเห็น อยากเข้าใจในปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติ และสิ่งที่อยูรอบตัวเอง เพื่อให้เข้าใจถึงความจริงที่อย่างน้อย ่ มนุษย์พึงเชื่อและยอมรับในความแท้จริงของปรากฏการณ์เหล่านั้น วิธีการที่มนุษย์ใช้แสวงหาความรู้ความจริงมีดังนี้ 1. การแสวงหาความรู้ความจริงโดยไม่อาศัยเหตุผล เป็นการแสวงหาความรู้ ความจริงอย่างง่าย ๆ โดยมากมักจะเป็น ความจริงส่วนบุคคล(Personal Facts) เช่น - ความรู้จากประสบการณ์ส่วนบุคคล ความรู้ที่ได้จาก ประสบการณ์ของแต่ละบุคคลอาจจะเป็นความรูที่ได้จากการสะสม ้ ขึ้นมาเองหรือแสวงหาความรู้แบบบังเอิญ เช่นเด็กเล็ก ๆ เอานิ้ว มือไปใกล้ไฟมากๆ ก็จะเกิดการเรียนรู้วาไฟร้อน หรือได้ความรู้มา ่ โดยการลองผิดลองถูกเช่น มีบาดแผลเลือดไหล ลองขยีใบไม้ ้ ชนิดต่าง ๆ มาปิดแผลถ้าใบไม้ชนิดใดห้ามเลือดได้ ก็จะเกิดความ รู้ใหม่ ซึงได้จากการลองผิดลองถูก ่ - ความรู้จากบุคคลอื่นเช่น โดยประเพณีและวัฒนธรรม โดยมีผู้รบอก ให้หรือโดยผูที่มีความเชี่ยวชาญเป็นผู้บอก ู้ ้ การแสวงหาความรู้ของมนุษย์โดยไม่อาศัยเหตุผลอาจจะเป็น ไปได้ทงความรู้ที่ถูกและความรู้ ทีผิดไปจากความเป็นจริงที่ได้ ั้ ่ และในขณะเดียวกันความรู้นั้น ถ้าเป็นการถ่ายทอดกันมาก็ไม่ก่อ ให้เกิดความรู้ใหม่เพิ่มเติม 2. การแสวงหาความรู้ความจริงโดยอาศัยเหตุผล เป็นการแสวงหาความรู้ความจริงซึงมักจะเน้นความจริงทัวไป ่ ่ (Public Facts)เช่น 2.1 วิธีอนุมาน(Deductionmethod) เป็นการหาความ สัมพันธ์เชิงเหตุผล ระหว่างข้อเท็จจริงใหญ่และข้อเท็จจริงย่อย แล้วจึงลงสรุปจากความสัมพันธ์ระหว่างข้อเท็จจริงใหญ่และย่อย ตัวอย่างเช่น ข้อเท็จจริงใหญ่ : คนทำาวิจัยได้ทุกคนมีความสามารถด้าน การวิเคราะห์ และด้านการสังเคราะห์ ข้อเท็จจริงย่อย : นายอนันต์ ทำาวิจัยได้ สรุป : นายอนันต์ มีความสามารถด้านการ วิเคราะห์ และการสังเคราะห์
  • 8. การใช้วิธีอนุมานถูกโจมตีวาไม่ได้สร้างความรูใหม่ อีกทั้งข้อสรุป ่ ้ จะเป็นจริงก็ต่อเมื่อข้อเท็จจริงใหญ่และข้อเท็จจริงย่อยเป็นจริงดัง นั้น ผู้ที่จะนำาเอาวิธีอนุมานไปใช้ถาขาดความรู้เกี่ยวกับสิ่งทีนำามา ้ ่ อ้างก็จะทำาให้สรุปผิดได้แต่วิธีอนุมานยังมีประโยชน์ต่อการวิจย ั บ้าง ในเรื่องการตั้งสมมติฐาน วางแผนเก็บข้อมูลเป็นต้น 2.2 วิธีอุปมาน(Induction method) เป็นวิธีย้อนกลับ กับวิธีอนุมาน นั่นคือเป็นวิธีการค้นหาความรู้ความจริงจากข้อเท็จ จริงย่อยๆ โดยพิจารณาสิ่งที่เหมือน กัน ต่างกัน สัมพันธ์กัน แล้ว จึงสรุปเป็นข้อเท็จจริงใหญ่ตัวอย่างเช่น ข้อเท็จจริงย่อย : คนที่เป็นโรคเอดส์แต่ละคนรักษาไม่ หายในที่สุดจะตายทุกคน ดังนั้น : กลุมคนที่เป็นโรคเอดส์ต้องตาย ่ ทุกคน ข้อบกพร่องของวิธีอุปมาน คือ หากเก็บรวบรวมข้อมูล หรือข้อเท็จจริงคลาดเคลื่อนก็จะทำาให้การลงสรุปความรูใหม่ผิด ้ พลาดไป 2.3 วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) ถือว่าเป็นวิธีสืบแสวงหาความรู้ของมนุษย์สมัยใหม่และเป็นทีนิยม ่ ใช้กันมากในปัจจุบัน ซึ่งประกอบด้วย 5 ขั้นตอนดังนี้ 1) ขั้นปัญหา (Problem) เป็นการกำาหนดลงไปว่า ปัญหาที่ แท้จริงคืออะไร 2) ขั้นตั้งสมมุติฐาน (Hypothesis) เป็นการคาดคะเนคำา ตอบที่คิดว่าน่าจะเป็นอย่างมี เหตุผล 3) ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล (Collection of data) เป็นขั้น รวบรวมข้อมูลหรือหลักฐาน 4) ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of data) เพื่อทดสอบ สมมุติฐานที่ตั้งขึ้นมา 5) ขั้นสรุป (Conclusion) เป็นการสรุปว่าข้อเท็จจริงของ ปัญหาคืออะไร จากวิธีการแสวงหาความรู้จะมีส่วนเกี่ยวข้องกับการวิจัย เพราะ มนุษย์เป็นผู้ทมีความอยากรู้อยากเห็นซึ่งเมื่อมีความอยากรู้ ี่ อยากเห็นแล้วจะต้องพิสูจน์ความจริงให้ได้ มนุษย์นั้นจะต้องศึกษา ค้นคว้าหาความจริงให้ได้โดยจะต้องอาศัยเหตุและผลก่อนเสมอ บางครั้งอาจนำาเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์เข้ามาช่วยศึกษา ค้นคว้าวิจย วิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็นวิธีที่นาเชื่อถือมากที่สุด ั ่