SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
PREDETERMINED TIME SYSTEM
1อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
• ระบบของการหาเวลาของการทางานจากตารางเวลาของ "Fundamental Motions”
• สามารถหาเวลามาตรฐานของงานใด ๆ ก็ได้ โดยไม่จาเป็นต้องอาศัยการจับเวลา
โดยตรง
• ใช้ในการหาเวลาสาหรับชิ้นงาน ซึ่งยังไม่ได้มีการผลิตจริง
• ไม่ต้องอาศัยการประเมินอัตราเร็วการทางานของพนักงาน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2
Mundel และ Danner ให้นิยามไว้ว่า
“A predetermined time system (PTS) is a set of organized data for firstorder
work-unit standard times, representing some consistent and known
concept of standard performance, together with the rules and conventions
for computing and documenting a task standard time from these data.
The application of a pre-determined time system results in a
‘predetermined time standard.”
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
สาหรับการประเมินผลของการเคลื่อนไหว
• ปรับปรุงวิธีการทางานที่มีอยู่ให้ดีขึ้น
• ประเมินผลของวิธีการทางานที่นาเสนอไว้ล่วงหน้า
• ประเมินผลของการออกแบบของเครื่องมือเครื่องใช้ในการทางานต่างๆ
• ช่วยในการออกแบบและปรับปรุงผลิตภัณฑ์
• ใช้ฝึกผู้ทาการศึกษาเวลาให้คุ้นเคยกับระบบของการศึกษาเวลา
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4
ในการศึกษาเวลา
• หาเวลามาตรฐานโดยใช้ PTS
• รวมเอาข้อมูลมาตรฐาน และสูตรสาหรับกลุ่มงานต่าง ๆ เพื่อความรวดเร็ว ในการหา
เวลามาตรฐาน
• ตรวจสอบเวลาที่หาได้จากการจับเวลาด้วยนาฬิกาจับเวลา
• ประเมินต้นทุนค่าจ้างแรงงาน
• วางสายการผลิตและสมดุลสายการผลิต
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
• ในปี 1948 ระบบ MTM ได้ ถูกพัฒนาครั้งแรกโดย Maynard, Stegemerten และ
Schwab ในสหรัฐอเมริกา โดยพัฒนาจากการวิเคราะห์งาน ซึ่งถูกบันทึกเป็น
ภาพยนตร์ เป็นการวิเคราะห์งานที่มีการใช้มือ (Manual Work) ในลักษณะต่างๆ
ออกมาเป็นพื้นฐานการเคลื่อน
• ในปี 1957 ได้มีการก่อตั้ง MTM Association for Standards and Research ขึ้นซึ่ง
เป็นผู้ถือครองลิขสิทธ์ของ MTM และได้มีการแตกสาขาเป็น MTM Association ใน
ประเทศใหญ่ ๆ ทั่วโลก
• ในปี 1963 ได้มีการพัฒนา MTM-2 ซึ่งเป็นการปรับปรุงมาจากระบบ MTM รุ่นแรก
เพื่อให้ใช้ได้ง่ายขึ้น
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 6
1. MTM - 1
2. MTM - GPD
3. MTM - 2
4. MTM - 3
5. MTM - V
6. MTM - M
7. MTM - C
8. 4 M DATA
9. MOST
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
แบ่งชนิดของการเคลื่อนไหวออกเป็นการเคลื่อนพื้นฐาน
(Basic Element) ต่าง ๆ คือ
- Reach -Move - Grasp
- Turn - Position - Disengage
- Release
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 8
• เนื่องจากฟิล์มภาพยนตร์ที่ใช้ถ่ายทาเป็นแบบ 16 ภาพ/วินาที
• โดยวัดเป็น 1/16 วินาที หรือ = 0.000017 ชั่วโมง
• เพื่อความสะดวกได้ปัดเป็นเลข = 0.00001 ชั่วโมง และเรียกหน่วยของเวลา
นี้ว่า 1 TMU (Time-Measurement Unit)
ดังนั้น 1TMU = 0.00001 ชั่วโมง
= 0.0006 นาที
= 0.036 วินาที
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 9
ค่า Standard Deviation ของหน่วยย่อย(Element) แต่ละหน่วยที่วิเคราะห์
มีค่าเท่ากับความคลาดเคลื่อนในการวิเคราะห์แผ่นฟิล์ม หรือเท่ากับ 1 เฟรม
โดย 1 frame มีค่าของเวลา = 1/16 วินาที หรือ = 1.7 TMU
ค่าความคลาดเคลื่อนของการทางานทั้งหมดมีเพียง ±2.3%
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 10
• Basic Element ในการเคลื่อนมือหรือนิ้วมือไปยังที่ใดที่หนึ่ง
• เทียบเท่ากับ Therblig สัญลักษณ์ TE
• ระยะที่เคลื่อนจริง จะคานวณจาก
Length of Reach = Distance moved by Hand + Distance moved by Body
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 11
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 12
แบ่งเป็น 5 กลุ่มดังนี้คือ
Case A - เอื้อมมือไปยังวัตถุในตำแหน่งแน่นอนหรืออยู่ในอีกมือหนึ่ง หรือที่อีก
สัมผัสอยู่
Case B - เอื้อมมือไปยังวัตถุเดี่ยวๆในตำแหน่งที่แปรเปลี่ยนเล็กน้อยในแต่ละ
Case C - เอื้อมมือไปยังวัตถุที่ปนอยู่กับวัตถุอื่น ๆ ทำให้ต้องค้นหำและเลือก
Case D - เอื้อมมือไปยังวัตถุชิ้นเล็กมำกหรือในกรณีที่ต้องมีควำมแม่นยำในกำร
Case E - เอื้อมมือไปยังตำแหน่งที่ไม่แน่นอน เพื่อกำรทรงตัวหรือเพื่อเริ่มกำร
เคลื่อนไหวต่อไปหรือเพื่อเอามือออกให้พ้นทาง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
• Basic Element ซึ่งใช้ในการเคลื่อนวัตถุจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง
• เทียบเท่ากับ Therblig สัญลักณ์ TL
• ประเภทของการเคลื่อน หรือ Classes of Move แบ่งเป็น 3 กลุ่มดังนี้คือ
Case A - เคลื่อนวัตถุไปยังอีกมือหนึ่งหรือเคลื่อนไปจนหยุด
Case B - เคลื่อนวัตถุไปยังตำแหน่งโดยประมำณหรือตำแหน่งที่ไม่
แน่นอน
Case C - เคลื่อนวัตถุไปตรงตำแหน่งพอดี
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
1. ค่าเผื่อส่วนแปรผัน Weight Allowance Factory (Dynamic Factor)
เป็นค่าดัชนีที่เอาไปคูณค่าพื้นฐาน
2. ค่าเผื่อส่วนคงที่ Weight Allowance Constant (Static Constant)
เป็นค่าคงที่ที่นาไปบวกค่าที่คูณตัวแปรแล้ว
ตัวอย่ำง พนักงำนยกวัตถุหนัก 20 ปอนด์ ระยะทำง 5 นิ้ว ไปวำงบนโต๊ะ
เวลาพื้นฐานในการเคลื่อน = Move 5" Case B (Wt.=20 1bs)
= (8.0Dynamic Factor)+Static Constant
= (8.01.22) + 7.4
= 17.2 TMU
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
• การเคลื่อนไหวที่ต้องใช้การหมุนของมือ โดยอาจจะถือวัตถุ หรือไม่ถือวัตถุอยู่ก็ตาม
• การหมุนโดยนิ้วมือ ข้อมือ หรือข้อศอก ตามแกนของมือ
• ตารางการหมุนนี้มี 2 ส่วน – ตาราง 3A –Turn และตาราง 3B – Apply Pressure
• Apply Pressure เป็น Basic Element ที่ใช้ในการเอาชนะแรงต้านทาน หรือแรงเสียด
ทาน ต้องอาศัยการหยุดชะงัก เพื่อกระทาการออกแรง มักเกิดขึ้นพร้อมๆ กับ
อากัปกิริยาของการหมุน แต่ต้องแยกวิเคราะห์ให้ถูกต้อง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
• การออกแรงกดนี้จะประกอบด้วยหน่วยย่อยของงาน 3 หน่วย คือ
1. การออกแรง (Apply Force - AF)
2. หยุดชะงัก (Dwell Minimum - DM)
3. การปล่อยแรง(Release Force – RF)
• การออกแรงกด(Apply Pressure) จะมี 2 กรณีคือ
Case A เป็นการออกแรงกดธรรมดา
Case B มีการเปลี่ยนลักษณะการจับ (Regrasp) เพื่อให้จับวัตถุได้มั่นคงยิ่งขึ้น
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17

More Related Content

What's hot

บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครบทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครTeetut Tresirichod
 
บทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการ
บทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการบทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการ
บทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการTeetut Tresirichod
 
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการบทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการTeetut Tresirichod
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์วิธีการ
บทที่ 7 การวิเคราะห์วิธีการบทที่ 7 การวิเคราะห์วิธีการ
บทที่ 7 การวิเคราะห์วิธีการTeetut Tresirichod
 
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางานบทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางานTeetut Tresirichod
 
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานบทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานTeetut Tresirichod
 
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจบทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจTeetut Tresirichod
 
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมบทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมTeetut Tresirichod
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานkrupornpana55
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmAey Usanee
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานWeerachat Martluplao
 
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไปบทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไปTeetut Tresirichod
 
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปpeter dontoom
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558peter dontoom
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานNut Veron
 

What's hot (20)

บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครบทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
 
บทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการ
บทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการบทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการ
บทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการ
 
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการบทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
 
บทที่ 7 การวิเคราะห์วิธีการ
บทที่ 7 การวิเคราะห์วิธีการบทที่ 7 การวิเคราะห์วิธีการ
บทที่ 7 การวิเคราะห์วิธีการ
 
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางานบทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
 
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานบทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
 
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจบทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
 
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมบทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
 
9 pert
9 pert9 pert
9 pert
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไปบทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
 
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
 

Viewers also liked

บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingTeetut Tresirichod
 
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่Teetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling
Partial least square path modelingPartial least square path modeling
Partial least square path modelingTeetut Tresirichod
 
เจาะลึก 4 ขั้นตอนการสร้างชื่อบนโลกอินเตอร์เน็ต
เจาะลึก 4 ขั้นตอนการสร้างชื่อบนโลกอินเตอร์เน็ตเจาะลึก 4 ขั้นตอนการสร้างชื่อบนโลกอินเตอร์เน็ต
เจาะลึก 4 ขั้นตอนการสร้างชื่อบนโลกอินเตอร์เน็ตjakwarl parmsub
 
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติบทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติTeetut Tresirichod
 
บทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรอง
บทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรองบทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรอง
บทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรองTeetut Tresirichod
 
Methods time measurement (mtm)
Methods time measurement (mtm)Methods time measurement (mtm)
Methods time measurement (mtm)soojal
 
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอนบทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอนTeetut Tresirichod
 
บทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติบทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติTeetut Tresirichod
 
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่างบทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่างTeetut Tresirichod
 
Methods-Time Measurement and Functional Capacity Evaluation 041610
Methods-Time Measurement and Functional Capacity Evaluation 041610Methods-Time Measurement and Functional Capacity Evaluation 041610
Methods-Time Measurement and Functional Capacity Evaluation 041610Roy Matheson & Associates, Inc
 
LINE Creator Meeting Thailand #1: เริ่มต้นเรียนรู้การสร้าง LINE Sticker
LINE Creator Meeting Thailand #1: เริ่มต้นเรียนรู้การสร้าง LINE StickerLINE Creator Meeting Thailand #1: เริ่มต้นเรียนรู้การสร้าง LINE Sticker
LINE Creator Meeting Thailand #1: เริ่มต้นเรียนรู้การสร้าง LINE StickerTeerasej Jiraphatchandej
 

Viewers also liked (14)

บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditing
 
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
 
Partial least square path modeling
Partial least square path modelingPartial least square path modeling
Partial least square path modeling
 
Clase 14 cap 13
Clase 14 cap 13Clase 14 cap 13
Clase 14 cap 13
 
เจาะลึก 4 ขั้นตอนการสร้างชื่อบนโลกอินเตอร์เน็ต
เจาะลึก 4 ขั้นตอนการสร้างชื่อบนโลกอินเตอร์เน็ตเจาะลึก 4 ขั้นตอนการสร้างชื่อบนโลกอินเตอร์เน็ต
เจาะลึก 4 ขั้นตอนการสร้างชื่อบนโลกอินเตอร์เน็ต
 
Line Balancing
Line BalancingLine Balancing
Line Balancing
 
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติบทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 7 การวางแผนกลยุทธ์และกลยุทธ์การเจรจาต่อรองข้ามชาติ
 
บทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรอง
บทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรองบทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรอง
บทที่ 9 มารยาททางธุรกิจเพื่อการเจรจาต่อรอง
 
Methods time measurement (mtm)
Methods time measurement (mtm)Methods time measurement (mtm)
Methods time measurement (mtm)
 
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอนบทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
 
บทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติบทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติ
 
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่างบทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
บทที่ 8 กลยุทธ์การเจรจาต่อรองบนความเหมือนและความแตกต่าง
 
Methods-Time Measurement and Functional Capacity Evaluation 041610
Methods-Time Measurement and Functional Capacity Evaluation 041610Methods-Time Measurement and Functional Capacity Evaluation 041610
Methods-Time Measurement and Functional Capacity Evaluation 041610
 
LINE Creator Meeting Thailand #1: เริ่มต้นเรียนรู้การสร้าง LINE Sticker
LINE Creator Meeting Thailand #1: เริ่มต้นเรียนรู้การสร้าง LINE StickerLINE Creator Meeting Thailand #1: เริ่มต้นเรียนรู้การสร้าง LINE Sticker
LINE Creator Meeting Thailand #1: เริ่มต้นเรียนรู้การสร้าง LINE Sticker
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 

บทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มิน

  • 1. PREDETERMINED TIME SYSTEM 1อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
  • 2. • ระบบของการหาเวลาของการทางานจากตารางเวลาของ "Fundamental Motions” • สามารถหาเวลามาตรฐานของงานใด ๆ ก็ได้ โดยไม่จาเป็นต้องอาศัยการจับเวลา โดยตรง • ใช้ในการหาเวลาสาหรับชิ้นงาน ซึ่งยังไม่ได้มีการผลิตจริง • ไม่ต้องอาศัยการประเมินอัตราเร็วการทางานของพนักงาน อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2
  • 3. Mundel และ Danner ให้นิยามไว้ว่า “A predetermined time system (PTS) is a set of organized data for firstorder work-unit standard times, representing some consistent and known concept of standard performance, together with the rules and conventions for computing and documenting a task standard time from these data. The application of a pre-determined time system results in a ‘predetermined time standard.” อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
  • 4. สาหรับการประเมินผลของการเคลื่อนไหว • ปรับปรุงวิธีการทางานที่มีอยู่ให้ดีขึ้น • ประเมินผลของวิธีการทางานที่นาเสนอไว้ล่วงหน้า • ประเมินผลของการออกแบบของเครื่องมือเครื่องใช้ในการทางานต่างๆ • ช่วยในการออกแบบและปรับปรุงผลิตภัณฑ์ • ใช้ฝึกผู้ทาการศึกษาเวลาให้คุ้นเคยกับระบบของการศึกษาเวลา อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4
  • 5. ในการศึกษาเวลา • หาเวลามาตรฐานโดยใช้ PTS • รวมเอาข้อมูลมาตรฐาน และสูตรสาหรับกลุ่มงานต่าง ๆ เพื่อความรวดเร็ว ในการหา เวลามาตรฐาน • ตรวจสอบเวลาที่หาได้จากการจับเวลาด้วยนาฬิกาจับเวลา • ประเมินต้นทุนค่าจ้างแรงงาน • วางสายการผลิตและสมดุลสายการผลิต อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
  • 6. • ในปี 1948 ระบบ MTM ได้ ถูกพัฒนาครั้งแรกโดย Maynard, Stegemerten และ Schwab ในสหรัฐอเมริกา โดยพัฒนาจากการวิเคราะห์งาน ซึ่งถูกบันทึกเป็น ภาพยนตร์ เป็นการวิเคราะห์งานที่มีการใช้มือ (Manual Work) ในลักษณะต่างๆ ออกมาเป็นพื้นฐานการเคลื่อน • ในปี 1957 ได้มีการก่อตั้ง MTM Association for Standards and Research ขึ้นซึ่ง เป็นผู้ถือครองลิขสิทธ์ของ MTM และได้มีการแตกสาขาเป็น MTM Association ใน ประเทศใหญ่ ๆ ทั่วโลก • ในปี 1963 ได้มีการพัฒนา MTM-2 ซึ่งเป็นการปรับปรุงมาจากระบบ MTM รุ่นแรก เพื่อให้ใช้ได้ง่ายขึ้น อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 6
  • 7. 1. MTM - 1 2. MTM - GPD 3. MTM - 2 4. MTM - 3 5. MTM - V 6. MTM - M 7. MTM - C 8. 4 M DATA 9. MOST อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
  • 8. แบ่งชนิดของการเคลื่อนไหวออกเป็นการเคลื่อนพื้นฐาน (Basic Element) ต่าง ๆ คือ - Reach -Move - Grasp - Turn - Position - Disengage - Release อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 8
  • 9. • เนื่องจากฟิล์มภาพยนตร์ที่ใช้ถ่ายทาเป็นแบบ 16 ภาพ/วินาที • โดยวัดเป็น 1/16 วินาที หรือ = 0.000017 ชั่วโมง • เพื่อความสะดวกได้ปัดเป็นเลข = 0.00001 ชั่วโมง และเรียกหน่วยของเวลา นี้ว่า 1 TMU (Time-Measurement Unit) ดังนั้น 1TMU = 0.00001 ชั่วโมง = 0.0006 นาที = 0.036 วินาที อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 9
  • 10. ค่า Standard Deviation ของหน่วยย่อย(Element) แต่ละหน่วยที่วิเคราะห์ มีค่าเท่ากับความคลาดเคลื่อนในการวิเคราะห์แผ่นฟิล์ม หรือเท่ากับ 1 เฟรม โดย 1 frame มีค่าของเวลา = 1/16 วินาที หรือ = 1.7 TMU ค่าความคลาดเคลื่อนของการทางานทั้งหมดมีเพียง ±2.3% อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 10
  • 11. • Basic Element ในการเคลื่อนมือหรือนิ้วมือไปยังที่ใดที่หนึ่ง • เทียบเท่ากับ Therblig สัญลักษณ์ TE • ระยะที่เคลื่อนจริง จะคานวณจาก Length of Reach = Distance moved by Hand + Distance moved by Body อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 11
  • 13. แบ่งเป็น 5 กลุ่มดังนี้คือ Case A - เอื้อมมือไปยังวัตถุในตำแหน่งแน่นอนหรืออยู่ในอีกมือหนึ่ง หรือที่อีก สัมผัสอยู่ Case B - เอื้อมมือไปยังวัตถุเดี่ยวๆในตำแหน่งที่แปรเปลี่ยนเล็กน้อยในแต่ละ Case C - เอื้อมมือไปยังวัตถุที่ปนอยู่กับวัตถุอื่น ๆ ทำให้ต้องค้นหำและเลือก Case D - เอื้อมมือไปยังวัตถุชิ้นเล็กมำกหรือในกรณีที่ต้องมีควำมแม่นยำในกำร Case E - เอื้อมมือไปยังตำแหน่งที่ไม่แน่นอน เพื่อกำรทรงตัวหรือเพื่อเริ่มกำร เคลื่อนไหวต่อไปหรือเพื่อเอามือออกให้พ้นทาง อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
  • 14. • Basic Element ซึ่งใช้ในการเคลื่อนวัตถุจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง • เทียบเท่ากับ Therblig สัญลักณ์ TL • ประเภทของการเคลื่อน หรือ Classes of Move แบ่งเป็น 3 กลุ่มดังนี้คือ Case A - เคลื่อนวัตถุไปยังอีกมือหนึ่งหรือเคลื่อนไปจนหยุด Case B - เคลื่อนวัตถุไปยังตำแหน่งโดยประมำณหรือตำแหน่งที่ไม่ แน่นอน Case C - เคลื่อนวัตถุไปตรงตำแหน่งพอดี อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
  • 15. 1. ค่าเผื่อส่วนแปรผัน Weight Allowance Factory (Dynamic Factor) เป็นค่าดัชนีที่เอาไปคูณค่าพื้นฐาน 2. ค่าเผื่อส่วนคงที่ Weight Allowance Constant (Static Constant) เป็นค่าคงที่ที่นาไปบวกค่าที่คูณตัวแปรแล้ว ตัวอย่ำง พนักงำนยกวัตถุหนัก 20 ปอนด์ ระยะทำง 5 นิ้ว ไปวำงบนโต๊ะ เวลาพื้นฐานในการเคลื่อน = Move 5" Case B (Wt.=20 1bs) = (8.0Dynamic Factor)+Static Constant = (8.01.22) + 7.4 = 17.2 TMU อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
  • 16. • การเคลื่อนไหวที่ต้องใช้การหมุนของมือ โดยอาจจะถือวัตถุ หรือไม่ถือวัตถุอยู่ก็ตาม • การหมุนโดยนิ้วมือ ข้อมือ หรือข้อศอก ตามแกนของมือ • ตารางการหมุนนี้มี 2 ส่วน – ตาราง 3A –Turn และตาราง 3B – Apply Pressure • Apply Pressure เป็น Basic Element ที่ใช้ในการเอาชนะแรงต้านทาน หรือแรงเสียด ทาน ต้องอาศัยการหยุดชะงัก เพื่อกระทาการออกแรง มักเกิดขึ้นพร้อมๆ กับ อากัปกิริยาของการหมุน แต่ต้องแยกวิเคราะห์ให้ถูกต้อง อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
  • 17. • การออกแรงกดนี้จะประกอบด้วยหน่วยย่อยของงาน 3 หน่วย คือ 1. การออกแรง (Apply Force - AF) 2. หยุดชะงัก (Dwell Minimum - DM) 3. การปล่อยแรง(Release Force – RF) • การออกแรงกด(Apply Pressure) จะมี 2 กรณีคือ Case A เป็นการออกแรงกดธรรมดา Case B มีการเปลี่ยนลักษณะการจับ (Regrasp) เพื่อให้จับวัตถุได้มั่นคงยิ่งขึ้น อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17