SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 12
Descargar para leer sin conexión
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนา
                                    ่               ่
      ทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

                                                                    ดร.ปณิตา วรรณพิรณ*ุ
                                                                ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข**

บทคัดย่อ
        การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ
ทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้
ในการวิจย คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
        ั
2553 จำนวน 21 คน เครืองมือทีใช้ในการวิจย คือ ระบบบริหารจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน
                               ่    ่           ั                           ้
โดยใช้เครืองมือทางปัญญา แบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และแบบสอบถามความพึงพอใจ
          ่
ของนักศึกษา สถิตทใช้ในการวิจย คือ ร้อยละ ค่าเฉลียเลขคณิต ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน และ t-test
                   ิ ่ี          ั                ่             ่
dependent
        ผลการวิจย พบว่า
                 ั
        1. นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่เรียนด้วยจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ
ทางปัญญา มีคะแนนการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยสำคัญทางสถิตทระดับ .05
                                                                  ั              ิ ่ี
        2. นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่เรียนด้วยจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ
ทางปัญญา มีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา อยู่ใน
ระดับมากที่สุด

คำสำคัญ : การเรียนแบบผสมผสาน เครืองมือทางปัญญา ทักษะการคิดวิเคราะห์
                                 ่



*รองหัวหน้าศูนย์วจยการเรียนการสอนออนไลน์ อาจารย์ ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี
                  ิั
       คณะครุศาสตร์อตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
                        ุ
**หัวหน้าศูนย์วจยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา ผูชวยศาสตราจารย์ ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี
               ิั                        ้่
       คณะครุศาสตร์อตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
                      ุ
2
วารสารวิทยบริการ                                                 ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ
ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔                    ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข
                                                                        ุ


Abstract
         The present research study aims at investigating the outcomes of blended learning model
by using cognitive tools in developing graduate students’ analytical thinking skills. The samples
studies are graduate students of technological education during the first semester of 2010 and
twenty-one students were recruited. Research tools include a learning content management
system (LCMS) of blending learning model using cognitive tools and questionnaires measuring
students’ ability in analytical thinking skills and satisfactions. Statistics for data analysis are
percentage, arithmetic mean, standard deviation and t-test dependent.
         The outcomes reveal that after instructing graduate students with the LCMS of blending
learning model:
         1) The students significantly score higher in analytical thinking skills at .05.
         2) The students are satisfied with the blending learning model at high level.

Keywords : Blended Learning, Cognitive Tools, Analytical Thinking Skills

1. บทนำ
              การศึกษาเป็นการวางรากฐานที่สำคัญของการพัฒนาประเทศในยุคเศรษฐกิจและสังคม
แห่งภูมปญญาและการเรียนรู้ (Knowledge Based Economy / Society: KBE/KBS) ทีมองค์ความรู้
        ิ ั                                                                        ่ ี
ใหม่ ม ากมายเกิ ด ขึ ้ น ตลอดเวลา เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื ่ อ สาร (Information and
Communication Technology: ICT) ที่ได้รบการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นถูกนำมาใช้เป็น
                                            ั
เครืองมือในการพัฒนาและสนับสนุนการจัดการศึกษามากขึนทุกขณะ ดังนันการจัดการศึกษาจึงต้อง
      ่                                                  ้            ้
ปรับเปลียนกระบวนทัศน์ รูปแบบ เทคนิคและวิธการสอนเพือให้สนองตอบต่อการพัฒนาทรัพยากร
          ่                                      ี           ่
มนุษย์และการแข่งขันของประเทศทังด้านความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี การปรับตัวต่อการกระจาย
                                   ้
ความรู้ ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ หมวดที่ 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ทีเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารทังในทางตรงและทางอ้อม ดังในมาตรา 65 เน้นให้
  ่                                       ่        ้
มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิตและผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ
และทักษะในการผลิตรวมทังการใช้เทคโนโลยีทเหมาะสม มีคณภาพและประสิทธิภาพ และมาตรา 66
                             ้                ่ี           ุ
ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรกที่ทำได้
เพือให้มความรูและทักษะเพียงพอทีจะใช้เทคโนโลยีเพือการศึกษา ในการแสวงหาความรูดวยตนเอง
    ่       ี       ้                ่                 ่                             ้ ้
ได้อย่างต่อเนืองตลอดชีวต การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาจึงต้องเน้นการเตรียมคนเข้าสูชวตและ
                 ่         ิ                                                             ่ีิ
การปรับแต่งคนเข้าสูงาน รัฐพึงสนับสนุนโครงสร้างพืนฐานการเรียนรูและส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษา
                       ่                             ้         ้
พัฒนาและใช้ศักยภาพทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อรองรับนโยบายเทคโนโลยี
3
วารสารวิทยบริการ                                                         ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ
ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔                           ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข
                                                                               ุ


สารสนเทศและการสื่อสารของชาติ โดยเฉพาะ e-Education ตามแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี
ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 - 2565 ได้กำหนดแนวนโยบายโครงสร้างพืนฐานการเรียนรูวา รัฐควรให้การ
                                                                  ้                        ้่
สนับสนุนสถาบันอุดมศึกษาภาครัฐและภาคเอกชนในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารเพือ                     ่       ่
การเข้าถึงและการลดช่องว่างของดิจตอล (digital divide) โดยเฉพาะอย่างยิงการให้บริการการเรียน
                                          ิ                                         ่
รู้ทางไกล (distance learning) และการเรียนรู้ผานสื่ออิเล็กทรอนิกส์ตางๆ (e-Learning) ทั้งที่เป็น
                                                    ่                   ่
การเรียนในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย รวมทั้งเป็นการออกแบบการเรียนรู้เฉพาะตัว
(customization) ไปจนถึงการเรียนรูแบบมวลชน (massification) ทังในระบบจำกัดรับและไม่จำกัด
                                            ้                       ้
รับ สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2551 - 2554) ทีกำหนด                     ่
นโยบายโครงสร้างพืนฐานการเรียนรูระดับอุดมศึกษา ว่าต้องพัฒนาและใช้ศกยภาพทางด้านเทคโนโลยี
                      ้                 ้                                 ั
สารสนเทศและการสือสาร เพือรองรับนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารของชาติ โดยเฉพาะ
                        ่          ่                                          ่
อย่างยิงยุทธศาสตร์ e-Society, e-Industry, e-Commerce, e-Education และ e-Government
       ่
         รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ผสมผสานการเรียนบนเว็บและการเรียนในห้องเรียนเป็น
รูปแบบการเรียนที่ยืดหยุ่น ตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียนทั้งด้านรูปแบบ
การเรียน รูปแบบการคิด ความสนใจและความสามารถของผูเรียนแต่ละคน [1] ทำให้ผเรียนสามารถ
                                                                ้                              ู้
ศึกษาและฝึกปฏิบตดวยตนเองได้ทกเวลาจากทุกสถานทีตามความต้องการของตนเอง[2] นอกจากนี้
                   ั ิ ้              ุ                     ่
การเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสานยังสามารถพัฒนาผูเรียนให้เกิดการเรียนรูอย่างมีความหมาย
                                                              ้                         ้
โดยใช้สิ่งแวดล้อมแบบออนไลน์และสิ่งแวดล้อมในชั้นเรียน[3] ส่วนการจัดการด้านเนื้อหาผู้สอน
สามารถจัดเนือหาทีงายให้ผเรียนได้เรียนรูดวยตนเองจากเว็บ ส่วนเนือหาทียากให้เรียนในห้องเรียน
             ้       ่่         ู้              ้ ้                   ้           ่
แบบดั้งเดิม ทำให้ผ ู้เรียนที่ม ีความสามารถต่างกันสามารถประสบผลสำเร็จทางการเรียนได้
อย่างเท่าเทียมกัน การปฏิสัมพันธ์จากการเรียนแบบร่วมมือบนระบบเครือข่ายสามารถพัฒนา
ผลสัมฤทธิทางการเรียน ความร่วมมือในการเรียน ความสามารถในการแก้ปญหา ความคิดสร้างสรรค์
           ์                                                                    ั
ความคิดวิเคราะห์ และความคิดอย่างมีวจารญาณได้เป็นอย่างดี[4]
                                              ิ
         การใช้ เ ครื ่ อ งมื อ ทางปั ญ ญา (Cognitive Tools) สำหรั บ สร้ า งแผนผั ง ทางปั ญ ญา
(Cognitive Map) เป็นวิธหนึงทีชวยบันทึกความคิดเพือให้เห็นภาพความคิดทีหลากหลายมุมมองทีกว้าง
                           ี ่ ่่                     ่                     ่                               ่
และชัดเจนกว่าการบันทึกที่ยังไม่จัดระบบระเบียบความคิดใดๆ แผนผังทางปัญญาเป็นรูปจำลอง
ที่แสดงให้เห็นถึงความเชื่องโยงของมโนภาพที่สัมพันธ์กัน เพื่อใช้ในการเรียนรู้ การระดมสมอง
การจดจำข้อมูล การจินตนาการ และการแก้ปัญหา และแผนผังทางปัญญาเป็นตัวช่วยในการจดจำ
ระยะยาว (Mnemonic Technique) คือ การนำความรูใหม่ไปผูกโยงกับความรูเดิมทีมอยู่ ควบคูไปกับ
                                                          ้                           ้   ่ ี             ่
การพัฒนาสมองซีกขวาโดยการจินตนาการ ด้วยหลักการใช้คำหลักเป็นตัวกำหนดแล้วขยายกิงก้านสาขา               ่
ออกไป[5]
         การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) เป็นทักษะทางปัญญาในระดับทีสงขึนไปกว่าการรูู้่ ้
และความเข้าใจ เป็นความสามารถในการแยกแยะเรืองราวใด ๆ ออกเป็นส่วนย่อย ๆ ทังในด้านของ
                                                        ่                                         ้
4
วารสารวิทยบริการ                                                 ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ
ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔                   ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข
                                                                       ุ

องค์ประกอบ ความสัมพันธ์และหลักการโดยผ่านสือต่าง ๆ และเป็นการสร้างความสัมพันธ์ในแต่ละ
                                                               ่
ส่วนของข้อมูล เพื่อทำความเข้าใจความคิดหรือความสัมพันธ์ของความคิดที่มีผู้ประสงค์จะสื่อ
ความหมายให้ทราบชัด[6] Bloom[7] ได้แบ่งลักษณะของการคิดวิเคราะห์ออกเป็น 3 ประเภท คือ
การวิเคราะห์เนือหา การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ และการวิเคราะห์หลักการ
                ้
         การพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ซึ่งเป็นคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของสังคม
ในยุคปัจจุบนและอนาคต โดยใช้รปแบบการเรียนทีผสมผสานระหว่างการเรียนผ่านสืออิเล็กทรอนิกส์
              ั                          ู                   ่                           ่
และการเรียนในห้องเรียน และใช้เครื่องมือทางปัญญาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทักษะการคิด
วิ เ คราะห์ ข องผู ้ เ รี ย น จึ ง จำเป็ น ต้ อ งมี ก ารพั ฒ นาและศึ ก ษาผลของการเรี ย นแบบผสมผสาน
โดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเพือเป็นแนวทาง
          ่                        ่                                                       ่
ในการพัฒนาการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาและการพัฒนาการคิดวิเคราะห์
สำหรับสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาอืน ๆ ต่อไป       ่

2. วัตถุประสงค์การวิจยั
        2.1 เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา
        2.2 เพือศึกษาผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาการคิด
                ่                                      ่                 ่
วิเคราะห์ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
        2.3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนรู้
แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา

3. สมมติฐานการวิจย ั
       นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาทีเรียนด้วยจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา
                                 ่                     ้                   ่
มีคะแนนการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

4. ขอบเขตการวิจย     ั
       4.1 ตัวแปร
       ตัวแปรต้น คือ จัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา
                                   ้                   ่
       ตัวแปรตาม คือ คะแนนการคิดวิเคราะห์ และความพึงพอใจ
       4.2 ประชากรและกลุมตัวอย่าง
                             ่
       ประชากรทีใช้ในการวิจย คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
                   ่           ั
พระจอมเกล้าพระนครเหนือ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553
       กลุมตัวอย่างทีใช้ในการวิจย คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีเทคนิค
            ่          ่         ั
ศึกษา คณะครุศาสตร์อตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
                         ุ
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 จำนวน 21 คน
       4.3 ระยะเวลาทีใช้ในการทดลอง 10 สัปดาห์
                           ่
5
วารสารวิทยบริการ                                             ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ
ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔                ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข
                                                                    ุ


5. วิธดำเนินการวิจย
        ี                   ั
            การดำเนินการวิจย แบ่งออกเป็น 2 ระยะ ดังนี้
                                  ั
ระยะที่ 1 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาสำหรับ
                                                ้                        ่
นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
            การพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาสำหรับนักศึกษา
                                            ้                   ่
ระดับบัณฑิตศึกษา พัฒนาตามกระบวนการออกแบบระบบการเรียนการสอน ADDIE Model 5
ขันตอน ดังนี้
 ้
            1. ขันการวิเคราะห์ ดำเนินการวิเคราะห์สภาพ ปัญหา และความต้องการการจัดการเรียนรู้
                      ้
แบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา วิเคราะห์เนือหาทีเ่ หมาะสม
                              ่                                                ้
สำหรับการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา วิเคราะห์ผู้เรียนคุณลักษณะ
ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และวิเคราะห์บริบทที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน
โดยใช้เครื่องมือทางปัญญา
            2. ขันการออกแบบ ดำเนินการออกแบบระบบบริหารจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้
                    ้                                                        ้
เครืองมือทางปัญญาสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ออกแบบวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ออกแบบ
    ่
ยุทธศาสตร์การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment)
            3. ขันการพัฒนา ดำเนินการพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือ
                ้                                                   ้                   ่
ทางปัญญา แผนการจัดการเรียนรู้ พัฒนาแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน แบบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์ และแบบสอบถามความพึงพอใจ
            4. ขันการนำไปใช้ ดำเนินการทดสอบประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการเรียนรูแบบผสม
                  ้                                                               ้
ผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา โดยการทดสอบแบบหนึงต่อหนึง
                          ่                                                           ่     ่
(one-to-one testing) กับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจำนวน 3 คน การทดสอบกับกลุมเล็ก            ่
(small group testing) กับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจำนวน 6 คน ใช้วธการสังเกตและการสัมภาษณ์
                                                                      ิี
จากนันนำข้อมูลมาปรับปรุง แก้ไขข้อบกพร่องของระบบบริหารจัดการเรียนรูแบบผสมผสานฯ และ
      ้                                                                    ้
ทำการทดลองนำร่อง (field trial) กับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจำนวน 15 คน เรียนด้วยกัน
เป็นกลุ่มโดยใช้ระบบบริหารจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานฯ ที่ปรับปรุงจากการทดสอบแบบกลุ่มเล็ก
เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการสังเกตและสอบถามความคิดเห็นของผู้ทดลองใช้ระบบบริหารจัดการ
เรียนรูแบบผสมผสานฯ เกียวกับการใช้งาน ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการเรียนตามรูปแบบฯ
          ้                     ่
และหาประสิทธิภาพของแบบวัดผลสัมฤทธิทางการเรียนได้คาความเทียง 0.77 ความยากง่าย 0.42-
                                          ์             ่         ่
0.74 และแบบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์ได้คาความเทียง 0.82 ความยากง่าย 0.35-0.80
                                              ่     ่
            5. ขันการประเมินผล ดำเนินการประเมินคุณภาพของระบบบริหารจัดการเรียนรูและแผน
                        ้                                                           ้
การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา ด้านเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา
จำนวน 5 ท่าน และด้านการจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา จำนวน 5 ท่าน
                                        ้                     ่
6
วารสารวิทยบริการ                                           ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ
ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔              ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข
                                                                  ุ


ระยะที่ 2 การศึกษาผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาการ
                                                   ่               ่
คิดวิเคราะห์ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

การวิจยระยะที่ 2 ใช้แบบแผนการวิจยแบบ One Group Pretest – Posttest Design [8]
      ั                         ั

                      O1           X          O2

ดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้
        1. ขันเตรียมการก่อนการทดลอง
                ้
             1.1 ปฐมนิเทศนักศึกษาเกี่ยวกับวิธีการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ
ทางปัญญา การวัดและประเมินผล และฝึกปฏิบตการใช้เครืองมือตามรูปแบบการเรียนแบบผสมผสาน
                                            ั ิ      ่
โดยใช้เครื่องมือทางปัญญา
             1.2 วัดและประเมินผลการคิดวิเคราะห์กอนเรียนและแจ้งผลการประเมินให้แก่นกศึกษา
                                                  ่                                 ั
        2. ขันดำเนินการทดลอง
              ้
             2.1 นักศึกษาเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารทางเทคนิคศึกษาตามรูปแบบ
                                                            ่
การเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา ระยะเวลา 10 สัปดาห์
                                  ่
             2.2 วัดและประเมินผลการคิดวิเคราะห์หลังเรียนและแจ้งผลการประเมินให้แก่นกศึกษา
                                                                                  ั
             2.3 สอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทาง
ปัญญา
        สถิตทใช้ในการวิจย คือ ร้อยละ ค่าเฉลียเลขคณิต ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน และ t-test
             ิ ่ี         ั                     ่               ่
dependent

6. ผลการวิจยั
       6.1 ผลการพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา
                                             ้                     ่
           6.1.1 ระบบบริหารจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา ประกอบ
                                       ้                     ่
ด้วย 5 ส่วน คือ การบริหารจัดการระบบ การนำเสนอเนือหา การส่งการบ้าน การติดต่อสือสาร และ
                                               ้                             ่
ฐานการเสริมสมรรถนะ (scaffolding)
           6.1.2 ผลการประเมินคุณภาพระบบบริหารจัดการเรียนรูและแผนการจัดการเรียนรูแบบ
                                                          ้                      ้
ผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา นำเสนอดังตารางที่ 1
                  ่
7
วารสารวิทยบริการ                                          ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ
ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔              ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข
                                                                  ุ


ตารางที่ 1 ผลการประเมินคุณภาพของระบบการจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือ
                                                   ้                   ่
            ทางปัญญา

       รายการประเมิน               X          S.D.         ระดับความเหมาะสม

1.     ด้านเนือหา (Content)
              ้                    4.60       0.55         มากที่สุด
2.     ด้านการออกแบบระบบ
       การเรียนการสอน
       (Instructional Design)      5.00       0.00         มากที่สุด
3.     ด้านการออกแบบหน้าจอ
       (Screen Design)             4.80       0.45         มากที่สุด
4.     ด้านเทคนิค (Techniques)     4.80       0.45         มากที่สุด

       รวม                         4.80       0.41         มากที่สุด

        จากตารางที่ 1 พบว่า ระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา
ในภาพรวมมีความเหมาะสมมากทีสด (X = 4.80, S.D. = 0.41) เมือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า
                             ุ่                            ่
ด้านการออกแบบระบบการเรียนการสอนมีความเหมาะสมมากที่สุด (X = 5.00, S.D. = 0.00)
รองลงมาได้แก่ ด้านการออกแบบหน้าจอ และด้านเทคนิค (X = 4.80, S.D. = 0.45) ตามลำดับ
6.2 ผลการเปรียบเทียบคะแนนการคิดวิเคราะห์กอนและหลังเรียนด้วยจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน
                                           ่                           ้
โดยใช้เครืองมือทางปัญญา นำเสนอดังตารางที่ 2-3 ดังนี้
         ่

ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบคะแนนการคิดวิเคราะห์กอนและหลังเรียนด้วยจัดการเรียนรูแบบ
                                                ่                             ้
           ผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา
                            ่

คะแนนการคิดวิเคราะห์ n             คะแนนเต็ม S.D.          t           p

ก่อนเรียน             23 45 16.83              1.44        6.54       .000
หลังเรียน             23 45 37.67              3.10
p>0.5
        จากตารางที่ 2 พบว่า นักศึกษาที่เรียนด้วยจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ
ทางปัญญา มีคะแนนการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยสำคัญทางสถิตทระดับ .05
                                                                ั            ิ ่ี
8
วารสารวิทยบริการ                                              ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ
ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔                ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข
                                                                    ุ


ตารางที่ 3 ผลการเปรียบเทียบคะแนนการคิดวิเคราะห์ก่อนและหลังเรียนด้วยจัดการเรียนรู้แบบ
           ผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา จำแนกเป็นรายด้าน
                            ่

คะแนนการคิดวิเคราะห์          n     คะแนนเต็ม          X             S.D.         t      p

1. การวิเคราะห์เนือหา
                  ้
ก่อนเรียน                     23          15           6.13          1.10         4.87 .000
หลังเรียน                     23          15           12.52         1.50
2. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
ก่อนเรียน                     23          15           6.261         1.01         3.69 .001
หลังเรียน                     23          15           12.48         1.50
3. การวิเคราะห์หลักการ
ก่อนเรียน                     23          15           4.44          0.73         4.50 .000
หลังเรียน                     2           3            15            12.70        1.55

p>0.5
         จากตารางที่ 2 พบว่า นักศึกษาที่เรียนด้วยจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ
ทางปัญญา มีคะแนนการคิดวิเคราะห์ดานการวิเคราะห์เนือหา ด้านการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ และ
                                    ้                ้
ด้านการวิเคราะห์หลักการ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยสำคัญทางสถิตทระดับ .05
                                                         ั            ิ ่ี
         6.3 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนรู้
แบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา ดังตารางที่ 4
                       ่
ตารางที่ 4 ผลความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา
                                              ้                     ่

กิจกรรมการเรียนการสอน                           X             S.D.     ความพึงพอใจ

1. ขันเตรียมการก่อนการเรียนการสอน
     ้
   1.1 แจ้งวัตถุประสงค์ของการเรียน              4.33       0.69             มาก
   1.2 กระตุนให้ระลึกถึงความรูเดิมและ
              ้                     ้
         ตรวจสอบความรู้เดิมของผู้เรียน          4.39       0.66             มาก
2. ขันศึกษาเนือหา
       ้        ้
   2.1 ศึกษาเนือหาภาคทฤษฎี (Online)
                  ้
         2.1.1 ศึกษาเนื้อหาภาคทฤษฎี
                    จากระบบจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน
                    โดยใช้เครื่องมือทางปัญญา    4.30       0.81             มาก
9
วารสารวิทยบริการ                                                   ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ
ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔                       ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข
                                                                           ุ

กิจกรรมการเรียนการสอน                                X          S.D.           ความพึงพอใจ

         2.1.2 การนำเสนอเนื้อหาสาระ
                      (สิ่งเร้า)ใหม่                   4.24       0.71         มาก
         2.1.3 การนำเสนอสถานการณ์
                      หรือประเด็นที่น่าสนใจ            4.33       0.65         มาก
   2.2 ศึกษาเนือหาภาคปฏิบติ
                    ้                ั
         (Face to Face)
         2.2.1 การนำเสนอเนื้อหาสาระ
                      (สิงเร้า) ใหม่
                         ่                             4.45       0.62         มาก
         2.2.2 กระตุ้นให้ผู้เรียนตอบสนอง
                      แสดงความสามารถ                   4.45       0.62         มาก
         2.2.3 ให้แนวการเรียนรู้หรือ
                      จัดระบบข้อมูลให้มีความหมาย 4.30             0.59         มาก
         2.2.4 ให้ข้อมูลป้อนกลับและ
                      เสริมแรงให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ 4.36       0.74         มาก
3. ขันการสร้างแผนผังทางปัญญา
       ้
   โดยใช้เครื่องมือทางปัญญา
   3.1 ขันของการระดมสมอง
              ้                                        4.24       0.75         มาก
   3.2 ขันจัดโครงสร้างและรูปแบบ
                  ้                                    4.30       0.59         มาก
   3.3 ขันการแสดงความเชือมโยง
                ้                 ่                    4.39       0.61         มาก
   3.4 ขันสรุปทบทวน
          ้                                            4.18       0.85         มาก
   3.5 ขันการนำไปใช้ประโยชน์
            ้                                          4.45       0.62         มาก
4. ขันการวัดและประเมินผล
     ้
   4.1 การวัดและประเมินผลสัมฤทธิ์
         ทางการเรียน                                   4.45       0.62         มาก
   4.2 การวัดและประเมินทักษะ
         การคิดวิเคราะห์                               4.39       0.61         มาก
   4.3 การนำความรูไปประยุกต์ใช้
                            ้
         โดยนำเสนอผลงาน                                4.33       0.65         มาก

กิจกรรมการเรียนการสอนในภาพรวม                        4.35         0.67         มาก

       จากตารางที่ 4 พบว่า นักศึกษาที่เรียนด้วยจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ
ทางปัญญามีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา อยูในระดับ
                                         ้                      ่             ่
มาก (X = 4.34, S.D. = 0.67)
10
วารสารวิทยบริการ                                                   ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ
ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔                     ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข
                                                                         ุ


7. อภิปรายผลการวิจย       ั
            7.1 นักศึกษาทีเรียนด้วยจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา มีคะแนน
                              ่                     ้                     ่
การคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยสำคัญทางสถิตทระดับ .05 สอดคล้องกับงานวิจย
                                                      ั             ิ ่ี                            ั
ของธีรวดี ถังคบุตร[9] ที่พบว่า การจัดการเรียนการสอนโดยใช้แผนผังทางปัญญาสามารถพัฒนา
กระบวนการคิดของผู้เรียนได้
            7.2 นักศึกษาที่เรียนด้วยจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญามีความ
พึงพอใจต่อการจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา อยูในระดับมาก สอดคล้อง
                                    ้                     ่                 ่
กับแนวคิดของ Driscoll            [10] ที่กล่าวว่า กิจกรรมการเรียนสอนแบบผสมผสานสามารถพัฒนา
ให้ผเรียนเกิดการเรียนรูททาทาย ตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคลและศักยภาพทางการเรียน
    ู้                      ้ ่ี ้
รูของผูเรียน ทำให้ผเรียนสามารถพัฒนาความสามารถในการเรียนรูของตนเองได้ดขน สอดคล้องกับ
  ้       ้            ู้                                             ้         ี ้ึ
แนวคิดของ Bonk and Graham[11] กล่าวว่า กิจกรรมการเรียนสอนแบบผสมผสานทำให้ผเรียน                ู้
สามารถเรียนรูได้อย่างอิสระ ส่งผลให้เกิดการเรียนทีกระฉับกระเฉง (Active Learning) ทำให้ผเรียน
                   ้                                    ่                                        ู้
เป็นผูทมความกระฉับกระเฉงในการเรียนรู้ (Active Learner) และสามารถลดเวลาในการเข้าชันเรียน
       ้ ่ี ี                                                                               ้
ได้ นอกจากนีการเรียนแบบผสมผสานยังมีสวนสนับสนุนปฏิสมพันธ์ระหว่างผูเรียนกับผูเรียนด้วยกัน
                 ้                                ่             ั             ้         ้
และผูเรียนกับผูสอนโดยการติดต่อแบบส่วนตัว ช่วยให้การเรียนรูดขน [3] ช่วยให้ผเรียนมีสวนร่วม
        ้            ้                                             ้ ี ้ึ            ู้   ่
ในชุมชนแห่งการเรียนรู้มากขึ้น และทำให้ผู้เรียนมีทัศนคติในทางบวกต่อการเรียน[11]

8. ข้อเสนอแนะ
            8.1 ข้อเสนอแนะสำหรับการนำผลการวิจยไปใช้
                                                 ั
                8.1.1 สถาบันการศึกษาที่นำรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานไปใช้ ควรมีการเตรียม
ความพร้อมทางด้านเครืองมือและระบบโครงสร้างพืนฐานทีจำเป็นในการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
                          ่                        ้  ่
และควรมีการพัฒนาทักษะความสามารถทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้กับผู้เรียน
ก่อนทำการเรียน
                8.1.2 สถาบันการศึกษาที่นำรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานไปใช้ ควรมีการประชุม
ชีแจง เกียวกับวิธการและรูปแบบการเรียนการสอนและควรชีให้คณาจารย์ นักศึกษาและผูทเกียวข้อง
  ้         ่       ี                                   ้                       ้ ่ี ่
เห็นถึงประโยชน์ที่จะได้รับจากการนำรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานไปใช้ เพื่อเป็นการส่งเสริม
ให้ผทเกียวข้องมีทศนคติทดตอวิธการและรูปแบบการเรียน เนืองจากการใช้รปแบบการเรียนการสอน
    ู้ ่ี ่           ั      ่ี ี ่ ี                     ่          ู
แบบผสมผสานให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือและการมีส่วนร่วม
อย่างแท้จริงจากผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคน
            8.2 ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป
            ควรมีการศึกษาผลของการจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาในด้านอืนๆ
                                               ้                  ่                    ่
11
วารสารวิทยบริการ                                              ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ
ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔                 ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข
                                                                     ุ


เช่น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดอย่างมีเหตุมีผล การคิดเชิง
สังเคราะห์ เป็นต้น

รายการอ้างอิง
[1] Bonk, C. J. & Graham, C. R. (2004). Handbook of blended learning: Global Perspectives.
            San Francisco: Pfeiffer Publishing.
[2] Bersin, J. (2004). The blended learning book: Best practices, proven methodologies, and
            lessons learned. San Francisco: Pfeiffer.
[3] Kaye, T. (2003). Blended learning: how to integrate online & traditional learning.
            London: Kogan Page.
[4] ใจทิพย์ ณ สงขลา. (2550). E-Instructional Design วิธวทยาการออกแบบการเรียน
                                                                 ีิ
            การสอนอิเล็กทรอนิกส์. กรุงเทพฯ : ศูนย์ตำราและเอกสารทางวิชาการ
            คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[5] Buzan, T. (2010). Mind maps for business : revolutionize your business thinking and
            practice. Harlow: Pearson.
[6] Michaelis, J.W. (1992). A guide to basic instruction. (10th ed.). Boston: Allyn and
            Bacon.
[7] Bloom, B. S. (1976). Taxonomy of Educational Objective Handbook: Cognitive Domain.
            New York: David Mc Kay Company Inc.
[8] William, W. & Stephen G. J. (2009). Research methods in education: an introduction.
            (9th ed.). Boston: Pearson.
[9] ธีรวดี ถังคบุตร. (2552). การพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
            โดยใช้แผนผังทางปัญญาเพื่อเพิ่มพูนความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณสำหรับ
            นักศึกษาปริญญาบัณฑิต. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
                                                                  ั
[10] Driscoll, M. (2002). Blended learning: let's get beyond the hype. Retrieved September
            4, 2009. From http://www.ltimagazine.com/ltimagazine/article/
            articleDetail.jsp?id=11755
[11] Rovai, A. & Jordan, M. (2004). Blended learning and sense of community: A compara
            tive analysis with traditional and fully online graduate course. Retrieved January
            4, 2010. From http://www.irrodl.org/content/v5.2/rovai-jordan.html
12
วารสารวิทยบริการ                                           ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ
ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔              ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข
                                                                  ุ


ประวัติผู้เขียน
ชื่อผู้เขียน:       อาจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรณ
                                            ุ
                    สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
                    คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
                    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
สถานที่ทำงาน: ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อตสาหกรรม
                                                           ุ
                    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
                    1518 ถ.พิบลสงคราม บางซือ กรุงเทพฯ 10800
                                ู             ่
โทรศัพท์:           081 455 5741, 02 913 2500 ต่อ 3298
โทรสาร:             0 2587 8256
E-mail:             panitaw@kmutnb.ac.th
สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ
               • การวิจัยเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
               • จิตวิทยาการศึกษา
               • การออกแบบและพัฒนาระบบการสอน
               • การจัดการเรียนการสอนบนเว็บ

ชื่อผู้เขียน:       ผูชวยศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
                      ้่
                    สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
                    คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
                    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
สถานที่ทำงาน: ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อตสาหกรรม
                                                           ุ
                    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
                    1518 ถ.พิบลสงคราม บางซือ กรุงเทพฯ 10800
                                ู            ่
โทรศัพท์:           081 455 5741, 02 913 2500 ต่อ 3298
โทรสาร:             0 2587 8256
E-mail:             prachyanunn@kmutnb.ac.th
สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ
               • การวิจัยเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
               • จิตวิทยาการศึกษา
               • การออกแบบและพัฒนาระบบการสอน
               • การจัดการเรียนการสอนบนเว็บ
                               ****************************

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
Nattapon
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
Nattapon
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
AomJi Math-ed
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
Kobwit Piriyawat
 

La actualidad más candente (10)

Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
Media&tech2learn 002 - Part 2
Media&tech2learn 002 - Part 2Media&tech2learn 002 - Part 2
Media&tech2learn 002 - Part 2
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 

Destacado

Sankt petersburg
Sankt petersburgSankt petersburg
Sankt petersburg
vroxi
 

Destacado (20)

The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
 
Week3 key information_management
Week3 key information_managementWeek3 key information_management
Week3 key information_management
 
Working process of digital journalists in the 21st century
Working process of digital journalists in the 21st centuryWorking process of digital journalists in the 21st century
Working process of digital journalists in the 21st century
 
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
 
Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in Education
 
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๑ (Critical Thinking)
 
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningEducation 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
 
Norton R976 belts - Brochure
Norton R976 belts - BrochureNorton R976 belts - Brochure
Norton R976 belts - Brochure
 
Suburrrr
SuburrrrSuburrrr
Suburrrr
 
Presentation_NEW.PPTX
Presentation_NEW.PPTXPresentation_NEW.PPTX
Presentation_NEW.PPTX
 
Jose Cuvelo CV portugues N
Jose Cuvelo CV portugues NJose Cuvelo CV portugues N
Jose Cuvelo CV portugues N
 
Certificates
CertificatesCertificates
Certificates
 
4to workshop outsurcing_legis
4to workshop outsurcing_legis4to workshop outsurcing_legis
4to workshop outsurcing_legis
 
Emercadeo.net.estudio SEO Colombia 2008
Emercadeo.net.estudio SEO Colombia 2008Emercadeo.net.estudio SEO Colombia 2008
Emercadeo.net.estudio SEO Colombia 2008
 
Programa
ProgramaPrograma
Programa
 
Body human
Body humanBody human
Body human
 
Inflacion de impuestos
Inflacion de impuestosInflacion de impuestos
Inflacion de impuestos
 
Sankt petersburg
Sankt petersburgSankt petersburg
Sankt petersburg
 

Similar a The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor and Supporting Staff of King Mongkut’s University of Technology North Bangkok [ASJ 2011]

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
mina612
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
Natmol Thedsanabun
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
Jiraporn Chaimongkol
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
Tar Bt
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
benty2443
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
Nattapon
 

Similar a The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor and Supporting Staff of King Mongkut’s University of Technology North Bangkok [ASJ 2011] (20)

Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 

Más de Panita Wannapiroon Kmutnb

มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรี
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2
Panita Wannapiroon Kmutnb
 

Más de Panita Wannapiroon Kmutnb (20)

Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGUSING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
 
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรี
 
Interactive e learning_etech
Interactive e learning_etechInteractive e learning_etech
Interactive e learning_etech
 
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
 
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
 
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issueCtu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
 
Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
 
Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2
 
Interactive e leraning
Interactive e leraningInteractive e leraning
Interactive e leraning
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
 
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
 
Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...
Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...
Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...
 
The design of cloud computing management information system accordance with t...
The design of cloud computing management information system accordance with t...The design of cloud computing management information system accordance with t...
The design of cloud computing management information system accordance with t...
 

The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor and Supporting Staff of King Mongkut’s University of Technology North Bangkok [ASJ 2011]

  • 1. ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนา ่ ่ ทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ดร.ปณิตา วรรณพิรณ*ุ ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข** บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ ทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจย คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา ั 2553 จำนวน 21 คน เครืองมือทีใช้ในการวิจย คือ ระบบบริหารจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน ่ ่ ั ้ โดยใช้เครืองมือทางปัญญา แบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และแบบสอบถามความพึงพอใจ ่ ของนักศึกษา สถิตทใช้ในการวิจย คือ ร้อยละ ค่าเฉลียเลขคณิต ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน และ t-test ิ ่ี ั ่ ่ dependent ผลการวิจย พบว่า ั 1. นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่เรียนด้วยจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ ทางปัญญา มีคะแนนการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยสำคัญทางสถิตทระดับ .05 ั ิ ่ี 2. นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่เรียนด้วยจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ ทางปัญญา มีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา อยู่ใน ระดับมากที่สุด คำสำคัญ : การเรียนแบบผสมผสาน เครืองมือทางปัญญา ทักษะการคิดวิเคราะห์ ่ *รองหัวหน้าศูนย์วจยการเรียนการสอนออนไลน์ อาจารย์ ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี ิั คณะครุศาสตร์อตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ุ **หัวหน้าศูนย์วจยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา ผูชวยศาสตราจารย์ ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี ิั ้่ คณะครุศาสตร์อตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ุ
  • 2. 2 วารสารวิทยบริการ ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔ ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข ุ Abstract The present research study aims at investigating the outcomes of blended learning model by using cognitive tools in developing graduate students’ analytical thinking skills. The samples studies are graduate students of technological education during the first semester of 2010 and twenty-one students were recruited. Research tools include a learning content management system (LCMS) of blending learning model using cognitive tools and questionnaires measuring students’ ability in analytical thinking skills and satisfactions. Statistics for data analysis are percentage, arithmetic mean, standard deviation and t-test dependent. The outcomes reveal that after instructing graduate students with the LCMS of blending learning model: 1) The students significantly score higher in analytical thinking skills at .05. 2) The students are satisfied with the blending learning model at high level. Keywords : Blended Learning, Cognitive Tools, Analytical Thinking Skills 1. บทนำ การศึกษาเป็นการวางรากฐานที่สำคัญของการพัฒนาประเทศในยุคเศรษฐกิจและสังคม แห่งภูมปญญาและการเรียนรู้ (Knowledge Based Economy / Society: KBE/KBS) ทีมองค์ความรู้ ิ ั ่ ี ใหม่ ม ากมายเกิ ด ขึ ้ น ตลอดเวลา เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื ่ อ สาร (Information and Communication Technology: ICT) ที่ได้รบการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นถูกนำมาใช้เป็น ั เครืองมือในการพัฒนาและสนับสนุนการจัดการศึกษามากขึนทุกขณะ ดังนันการจัดการศึกษาจึงต้อง ่ ้ ้ ปรับเปลียนกระบวนทัศน์ รูปแบบ เทคนิคและวิธการสอนเพือให้สนองตอบต่อการพัฒนาทรัพยากร ่ ี ่ มนุษย์และการแข่งขันของประเทศทังด้านความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี การปรับตัวต่อการกระจาย ้ ความรู้ ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ หมวดที่ 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทีเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารทังในทางตรงและทางอ้อม ดังในมาตรา 65 เน้นให้ ่ ่ ้ มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิตและผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการผลิตรวมทังการใช้เทคโนโลยีทเหมาะสม มีคณภาพและประสิทธิภาพ และมาตรา 66 ้ ่ี ุ ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรกที่ทำได้ เพือให้มความรูและทักษะเพียงพอทีจะใช้เทคโนโลยีเพือการศึกษา ในการแสวงหาความรูดวยตนเอง ่ ี ้ ่ ่ ้ ้ ได้อย่างต่อเนืองตลอดชีวต การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาจึงต้องเน้นการเตรียมคนเข้าสูชวตและ ่ ิ ่ีิ การปรับแต่งคนเข้าสูงาน รัฐพึงสนับสนุนโครงสร้างพืนฐานการเรียนรูและส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษา ่ ้ ้ พัฒนาและใช้ศักยภาพทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อรองรับนโยบายเทคโนโลยี
  • 3. 3 วารสารวิทยบริการ ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔ ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข ุ สารสนเทศและการสื่อสารของชาติ โดยเฉพาะ e-Education ตามแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 - 2565 ได้กำหนดแนวนโยบายโครงสร้างพืนฐานการเรียนรูวา รัฐควรให้การ ้ ้่ สนับสนุนสถาบันอุดมศึกษาภาครัฐและภาคเอกชนในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารเพือ ่ ่ การเข้าถึงและการลดช่องว่างของดิจตอล (digital divide) โดยเฉพาะอย่างยิงการให้บริการการเรียน ิ ่ รู้ทางไกล (distance learning) และการเรียนรู้ผานสื่ออิเล็กทรอนิกส์ตางๆ (e-Learning) ทั้งที่เป็น ่ ่ การเรียนในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย รวมทั้งเป็นการออกแบบการเรียนรู้เฉพาะตัว (customization) ไปจนถึงการเรียนรูแบบมวลชน (massification) ทังในระบบจำกัดรับและไม่จำกัด ้ ้ รับ สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2551 - 2554) ทีกำหนด ่ นโยบายโครงสร้างพืนฐานการเรียนรูระดับอุดมศึกษา ว่าต้องพัฒนาและใช้ศกยภาพทางด้านเทคโนโลยี ้ ้ ั สารสนเทศและการสือสาร เพือรองรับนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารของชาติ โดยเฉพาะ ่ ่ ่ อย่างยิงยุทธศาสตร์ e-Society, e-Industry, e-Commerce, e-Education และ e-Government ่ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ผสมผสานการเรียนบนเว็บและการเรียนในห้องเรียนเป็น รูปแบบการเรียนที่ยืดหยุ่น ตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียนทั้งด้านรูปแบบ การเรียน รูปแบบการคิด ความสนใจและความสามารถของผูเรียนแต่ละคน [1] ทำให้ผเรียนสามารถ ้ ู้ ศึกษาและฝึกปฏิบตดวยตนเองได้ทกเวลาจากทุกสถานทีตามความต้องการของตนเอง[2] นอกจากนี้ ั ิ ้ ุ ่ การเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสานยังสามารถพัฒนาผูเรียนให้เกิดการเรียนรูอย่างมีความหมาย ้ ้ โดยใช้สิ่งแวดล้อมแบบออนไลน์และสิ่งแวดล้อมในชั้นเรียน[3] ส่วนการจัดการด้านเนื้อหาผู้สอน สามารถจัดเนือหาทีงายให้ผเรียนได้เรียนรูดวยตนเองจากเว็บ ส่วนเนือหาทียากให้เรียนในห้องเรียน ้ ่่ ู้ ้ ้ ้ ่ แบบดั้งเดิม ทำให้ผ ู้เรียนที่ม ีความสามารถต่างกันสามารถประสบผลสำเร็จทางการเรียนได้ อย่างเท่าเทียมกัน การปฏิสัมพันธ์จากการเรียนแบบร่วมมือบนระบบเครือข่ายสามารถพัฒนา ผลสัมฤทธิทางการเรียน ความร่วมมือในการเรียน ความสามารถในการแก้ปญหา ความคิดสร้างสรรค์ ์ ั ความคิดวิเคราะห์ และความคิดอย่างมีวจารญาณได้เป็นอย่างดี[4] ิ การใช้ เ ครื ่ อ งมื อ ทางปั ญ ญา (Cognitive Tools) สำหรั บ สร้ า งแผนผั ง ทางปั ญ ญา (Cognitive Map) เป็นวิธหนึงทีชวยบันทึกความคิดเพือให้เห็นภาพความคิดทีหลากหลายมุมมองทีกว้าง ี ่ ่่ ่ ่ ่ และชัดเจนกว่าการบันทึกที่ยังไม่จัดระบบระเบียบความคิดใดๆ แผนผังทางปัญญาเป็นรูปจำลอง ที่แสดงให้เห็นถึงความเชื่องโยงของมโนภาพที่สัมพันธ์กัน เพื่อใช้ในการเรียนรู้ การระดมสมอง การจดจำข้อมูล การจินตนาการ และการแก้ปัญหา และแผนผังทางปัญญาเป็นตัวช่วยในการจดจำ ระยะยาว (Mnemonic Technique) คือ การนำความรูใหม่ไปผูกโยงกับความรูเดิมทีมอยู่ ควบคูไปกับ ้ ้ ่ ี ่ การพัฒนาสมองซีกขวาโดยการจินตนาการ ด้วยหลักการใช้คำหลักเป็นตัวกำหนดแล้วขยายกิงก้านสาขา ่ ออกไป[5] การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) เป็นทักษะทางปัญญาในระดับทีสงขึนไปกว่าการรูู้่ ้ และความเข้าใจ เป็นความสามารถในการแยกแยะเรืองราวใด ๆ ออกเป็นส่วนย่อย ๆ ทังในด้านของ ่ ้
  • 4. 4 วารสารวิทยบริการ ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔ ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข ุ องค์ประกอบ ความสัมพันธ์และหลักการโดยผ่านสือต่าง ๆ และเป็นการสร้างความสัมพันธ์ในแต่ละ ่ ส่วนของข้อมูล เพื่อทำความเข้าใจความคิดหรือความสัมพันธ์ของความคิดที่มีผู้ประสงค์จะสื่อ ความหมายให้ทราบชัด[6] Bloom[7] ได้แบ่งลักษณะของการคิดวิเคราะห์ออกเป็น 3 ประเภท คือ การวิเคราะห์เนือหา การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ และการวิเคราะห์หลักการ ้ การพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ซึ่งเป็นคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของสังคม ในยุคปัจจุบนและอนาคต โดยใช้รปแบบการเรียนทีผสมผสานระหว่างการเรียนผ่านสืออิเล็กทรอนิกส์ ั ู ่ ่ และการเรียนในห้องเรียน และใช้เครื่องมือทางปัญญาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทักษะการคิด วิ เ คราะห์ ข องผู ้ เ รี ย น จึ ง จำเป็ น ต้ อ งมี ก ารพั ฒ นาและศึ ก ษาผลของการเรี ย นแบบผสมผสาน โดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเพือเป็นแนวทาง ่ ่ ่ ในการพัฒนาการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาและการพัฒนาการคิดวิเคราะห์ สำหรับสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาอืน ๆ ต่อไป ่ 2. วัตถุประสงค์การวิจยั 2.1 เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา 2.2 เพือศึกษาผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาการคิด ่ ่ ่ วิเคราะห์ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2.3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา 3. สมมติฐานการวิจย ั นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาทีเรียนด้วยจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา ่ ้ ่ มีคะแนนการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 4. ขอบเขตการวิจย ั 4.1 ตัวแปร ตัวแปรต้น คือ จัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา ้ ่ ตัวแปรตาม คือ คะแนนการคิดวิเคราะห์ และความพึงพอใจ 4.2 ประชากรและกลุมตัวอย่าง ่ ประชากรทีใช้ในการวิจย คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ่ ั พระจอมเกล้าพระนครเหนือ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 กลุมตัวอย่างทีใช้ในการวิจย คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีเทคนิค ่ ่ ั ศึกษา คณะครุศาสตร์อตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ุ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 จำนวน 21 คน 4.3 ระยะเวลาทีใช้ในการทดลอง 10 สัปดาห์ ่
  • 5. 5 วารสารวิทยบริการ ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔ ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข ุ 5. วิธดำเนินการวิจย ี ั การดำเนินการวิจย แบ่งออกเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ั ระยะที่ 1 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาสำหรับ ้ ่ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา การพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาสำหรับนักศึกษา ้ ่ ระดับบัณฑิตศึกษา พัฒนาตามกระบวนการออกแบบระบบการเรียนการสอน ADDIE Model 5 ขันตอน ดังนี้ ้ 1. ขันการวิเคราะห์ ดำเนินการวิเคราะห์สภาพ ปัญหา และความต้องการการจัดการเรียนรู้ ้ แบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา วิเคราะห์เนือหาทีเ่ หมาะสม ่ ้ สำหรับการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา วิเคราะห์ผู้เรียนคุณลักษณะ ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และวิเคราะห์บริบทที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เครื่องมือทางปัญญา 2. ขันการออกแบบ ดำเนินการออกแบบระบบบริหารจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้ ้ ้ เครืองมือทางปัญญาสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ออกแบบวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ออกแบบ ่ ยุทธศาสตร์การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment) 3. ขันการพัฒนา ดำเนินการพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือ ้ ้ ่ ทางปัญญา แผนการจัดการเรียนรู้ พัฒนาแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน แบบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์ และแบบสอบถามความพึงพอใจ 4. ขันการนำไปใช้ ดำเนินการทดสอบประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการเรียนรูแบบผสม ้ ้ ผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา โดยการทดสอบแบบหนึงต่อหนึง ่ ่ ่ (one-to-one testing) กับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจำนวน 3 คน การทดสอบกับกลุมเล็ก ่ (small group testing) กับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจำนวน 6 คน ใช้วธการสังเกตและการสัมภาษณ์ ิี จากนันนำข้อมูลมาปรับปรุง แก้ไขข้อบกพร่องของระบบบริหารจัดการเรียนรูแบบผสมผสานฯ และ ้ ้ ทำการทดลองนำร่อง (field trial) กับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจำนวน 15 คน เรียนด้วยกัน เป็นกลุ่มโดยใช้ระบบบริหารจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานฯ ที่ปรับปรุงจากการทดสอบแบบกลุ่มเล็ก เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการสังเกตและสอบถามความคิดเห็นของผู้ทดลองใช้ระบบบริหารจัดการ เรียนรูแบบผสมผสานฯ เกียวกับการใช้งาน ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการเรียนตามรูปแบบฯ ้ ่ และหาประสิทธิภาพของแบบวัดผลสัมฤทธิทางการเรียนได้คาความเทียง 0.77 ความยากง่าย 0.42- ์ ่ ่ 0.74 และแบบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์ได้คาความเทียง 0.82 ความยากง่าย 0.35-0.80 ่ ่ 5. ขันการประเมินผล ดำเนินการประเมินคุณภาพของระบบบริหารจัดการเรียนรูและแผน ้ ้ การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา ด้านเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา จำนวน 5 ท่าน และด้านการจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา จำนวน 5 ท่าน ้ ่
  • 6. 6 วารสารวิทยบริการ ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔ ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข ุ ระยะที่ 2 การศึกษาผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาเพือพัฒนาการ ่ ่ คิดวิเคราะห์ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา การวิจยระยะที่ 2 ใช้แบบแผนการวิจยแบบ One Group Pretest – Posttest Design [8] ั ั O1 X O2 ดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้ 1. ขันเตรียมการก่อนการทดลอง ้ 1.1 ปฐมนิเทศนักศึกษาเกี่ยวกับวิธีการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ ทางปัญญา การวัดและประเมินผล และฝึกปฏิบตการใช้เครืองมือตามรูปแบบการเรียนแบบผสมผสาน ั ิ ่ โดยใช้เครื่องมือทางปัญญา 1.2 วัดและประเมินผลการคิดวิเคราะห์กอนเรียนและแจ้งผลการประเมินให้แก่นกศึกษา ่ ั 2. ขันดำเนินการทดลอง ้ 2.1 นักศึกษาเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารทางเทคนิคศึกษาตามรูปแบบ ่ การเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา ระยะเวลา 10 สัปดาห์ ่ 2.2 วัดและประเมินผลการคิดวิเคราะห์หลังเรียนและแจ้งผลการประเมินให้แก่นกศึกษา ั 2.3 สอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทาง ปัญญา สถิตทใช้ในการวิจย คือ ร้อยละ ค่าเฉลียเลขคณิต ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน และ t-test ิ ่ี ั ่ ่ dependent 6. ผลการวิจยั 6.1 ผลการพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา ้ ่ 6.1.1 ระบบบริหารจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา ประกอบ ้ ่ ด้วย 5 ส่วน คือ การบริหารจัดการระบบ การนำเสนอเนือหา การส่งการบ้าน การติดต่อสือสาร และ ้ ่ ฐานการเสริมสมรรถนะ (scaffolding) 6.1.2 ผลการประเมินคุณภาพระบบบริหารจัดการเรียนรูและแผนการจัดการเรียนรูแบบ ้ ้ ผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา นำเสนอดังตารางที่ 1 ่
  • 7. 7 วารสารวิทยบริการ ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔ ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข ุ ตารางที่ 1 ผลการประเมินคุณภาพของระบบการจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือ ้ ่ ทางปัญญา รายการประเมิน X S.D. ระดับความเหมาะสม 1. ด้านเนือหา (Content) ้ 4.60 0.55 มากที่สุด 2. ด้านการออกแบบระบบ การเรียนการสอน (Instructional Design) 5.00 0.00 มากที่สุด 3. ด้านการออกแบบหน้าจอ (Screen Design) 4.80 0.45 มากที่สุด 4. ด้านเทคนิค (Techniques) 4.80 0.45 มากที่สุด รวม 4.80 0.41 มากที่สุด จากตารางที่ 1 พบว่า ระบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญา ในภาพรวมมีความเหมาะสมมากทีสด (X = 4.80, S.D. = 0.41) เมือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ุ่ ่ ด้านการออกแบบระบบการเรียนการสอนมีความเหมาะสมมากที่สุด (X = 5.00, S.D. = 0.00) รองลงมาได้แก่ ด้านการออกแบบหน้าจอ และด้านเทคนิค (X = 4.80, S.D. = 0.45) ตามลำดับ 6.2 ผลการเปรียบเทียบคะแนนการคิดวิเคราะห์กอนและหลังเรียนด้วยจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน ่ ้ โดยใช้เครืองมือทางปัญญา นำเสนอดังตารางที่ 2-3 ดังนี้ ่ ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบคะแนนการคิดวิเคราะห์กอนและหลังเรียนด้วยจัดการเรียนรูแบบ ่ ้ ผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา ่ คะแนนการคิดวิเคราะห์ n คะแนนเต็ม S.D. t p ก่อนเรียน 23 45 16.83 1.44 6.54 .000 หลังเรียน 23 45 37.67 3.10 p>0.5 จากตารางที่ 2 พบว่า นักศึกษาที่เรียนด้วยจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ ทางปัญญา มีคะแนนการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยสำคัญทางสถิตทระดับ .05 ั ิ ่ี
  • 8. 8 วารสารวิทยบริการ ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔ ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข ุ ตารางที่ 3 ผลการเปรียบเทียบคะแนนการคิดวิเคราะห์ก่อนและหลังเรียนด้วยจัดการเรียนรู้แบบ ผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา จำแนกเป็นรายด้าน ่ คะแนนการคิดวิเคราะห์ n คะแนนเต็ม X S.D. t p 1. การวิเคราะห์เนือหา ้ ก่อนเรียน 23 15 6.13 1.10 4.87 .000 หลังเรียน 23 15 12.52 1.50 2. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ก่อนเรียน 23 15 6.261 1.01 3.69 .001 หลังเรียน 23 15 12.48 1.50 3. การวิเคราะห์หลักการ ก่อนเรียน 23 15 4.44 0.73 4.50 .000 หลังเรียน 2 3 15 12.70 1.55 p>0.5 จากตารางที่ 2 พบว่า นักศึกษาที่เรียนด้วยจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ ทางปัญญา มีคะแนนการคิดวิเคราะห์ดานการวิเคราะห์เนือหา ด้านการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ และ ้ ้ ด้านการวิเคราะห์หลักการ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยสำคัญทางสถิตทระดับ .05 ั ิ ่ี 6.3 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ แบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา ดังตารางที่ 4 ่ ตารางที่ 4 ผลความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา ้ ่ กิจกรรมการเรียนการสอน X S.D. ความพึงพอใจ 1. ขันเตรียมการก่อนการเรียนการสอน ้ 1.1 แจ้งวัตถุประสงค์ของการเรียน 4.33 0.69 มาก 1.2 กระตุนให้ระลึกถึงความรูเดิมและ ้ ้ ตรวจสอบความรู้เดิมของผู้เรียน 4.39 0.66 มาก 2. ขันศึกษาเนือหา ้ ้ 2.1 ศึกษาเนือหาภาคทฤษฎี (Online) ้ 2.1.1 ศึกษาเนื้อหาภาคทฤษฎี จากระบบจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้เครื่องมือทางปัญญา 4.30 0.81 มาก
  • 9. 9 วารสารวิทยบริการ ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔ ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข ุ กิจกรรมการเรียนการสอน X S.D. ความพึงพอใจ 2.1.2 การนำเสนอเนื้อหาสาระ (สิ่งเร้า)ใหม่ 4.24 0.71 มาก 2.1.3 การนำเสนอสถานการณ์ หรือประเด็นที่น่าสนใจ 4.33 0.65 มาก 2.2 ศึกษาเนือหาภาคปฏิบติ ้ ั (Face to Face) 2.2.1 การนำเสนอเนื้อหาสาระ (สิงเร้า) ใหม่ ่ 4.45 0.62 มาก 2.2.2 กระตุ้นให้ผู้เรียนตอบสนอง แสดงความสามารถ 4.45 0.62 มาก 2.2.3 ให้แนวการเรียนรู้หรือ จัดระบบข้อมูลให้มีความหมาย 4.30 0.59 มาก 2.2.4 ให้ข้อมูลป้อนกลับและ เสริมแรงให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ 4.36 0.74 มาก 3. ขันการสร้างแผนผังทางปัญญา ้ โดยใช้เครื่องมือทางปัญญา 3.1 ขันของการระดมสมอง ้ 4.24 0.75 มาก 3.2 ขันจัดโครงสร้างและรูปแบบ ้ 4.30 0.59 มาก 3.3 ขันการแสดงความเชือมโยง ้ ่ 4.39 0.61 มาก 3.4 ขันสรุปทบทวน ้ 4.18 0.85 มาก 3.5 ขันการนำไปใช้ประโยชน์ ้ 4.45 0.62 มาก 4. ขันการวัดและประเมินผล ้ 4.1 การวัดและประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน 4.45 0.62 มาก 4.2 การวัดและประเมินทักษะ การคิดวิเคราะห์ 4.39 0.61 มาก 4.3 การนำความรูไปประยุกต์ใช้ ้ โดยนำเสนอผลงาน 4.33 0.65 มาก กิจกรรมการเรียนการสอนในภาพรวม 4.35 0.67 มาก จากตารางที่ 4 พบว่า นักศึกษาที่เรียนด้วยจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือ ทางปัญญามีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา อยูในระดับ ้ ่ ่ มาก (X = 4.34, S.D. = 0.67)
  • 10. 10 วารสารวิทยบริการ ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔ ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข ุ 7. อภิปรายผลการวิจย ั 7.1 นักศึกษาทีเรียนด้วยจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา มีคะแนน ่ ้ ่ การคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยสำคัญทางสถิตทระดับ .05 สอดคล้องกับงานวิจย ั ิ ่ี ั ของธีรวดี ถังคบุตร[9] ที่พบว่า การจัดการเรียนการสอนโดยใช้แผนผังทางปัญญาสามารถพัฒนา กระบวนการคิดของผู้เรียนได้ 7.2 นักศึกษาที่เรียนด้วยจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญามีความ พึงพอใจต่อการจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญา อยูในระดับมาก สอดคล้อง ้ ่ ่ กับแนวคิดของ Driscoll [10] ที่กล่าวว่า กิจกรรมการเรียนสอนแบบผสมผสานสามารถพัฒนา ให้ผเรียนเกิดการเรียนรูททาทาย ตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคลและศักยภาพทางการเรียน ู้ ้ ่ี ้ รูของผูเรียน ทำให้ผเรียนสามารถพัฒนาความสามารถในการเรียนรูของตนเองได้ดขน สอดคล้องกับ ้ ้ ู้ ้ ี ้ึ แนวคิดของ Bonk and Graham[11] กล่าวว่า กิจกรรมการเรียนสอนแบบผสมผสานทำให้ผเรียน ู้ สามารถเรียนรูได้อย่างอิสระ ส่งผลให้เกิดการเรียนทีกระฉับกระเฉง (Active Learning) ทำให้ผเรียน ้ ่ ู้ เป็นผูทมความกระฉับกระเฉงในการเรียนรู้ (Active Learner) และสามารถลดเวลาในการเข้าชันเรียน ้ ่ี ี ้ ได้ นอกจากนีการเรียนแบบผสมผสานยังมีสวนสนับสนุนปฏิสมพันธ์ระหว่างผูเรียนกับผูเรียนด้วยกัน ้ ่ ั ้ ้ และผูเรียนกับผูสอนโดยการติดต่อแบบส่วนตัว ช่วยให้การเรียนรูดขน [3] ช่วยให้ผเรียนมีสวนร่วม ้ ้ ้ ี ้ึ ู้ ่ ในชุมชนแห่งการเรียนรู้มากขึ้น และทำให้ผู้เรียนมีทัศนคติในทางบวกต่อการเรียน[11] 8. ข้อเสนอแนะ 8.1 ข้อเสนอแนะสำหรับการนำผลการวิจยไปใช้ ั 8.1.1 สถาบันการศึกษาที่นำรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานไปใช้ ควรมีการเตรียม ความพร้อมทางด้านเครืองมือและระบบโครงสร้างพืนฐานทีจำเป็นในการเรียนการสอนแบบผสมผสาน ่ ้ ่ และควรมีการพัฒนาทักษะความสามารถทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้กับผู้เรียน ก่อนทำการเรียน 8.1.2 สถาบันการศึกษาที่นำรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานไปใช้ ควรมีการประชุม ชีแจง เกียวกับวิธการและรูปแบบการเรียนการสอนและควรชีให้คณาจารย์ นักศึกษาและผูทเกียวข้อง ้ ่ ี ้ ้ ่ี ่ เห็นถึงประโยชน์ที่จะได้รับจากการนำรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานไปใช้ เพื่อเป็นการส่งเสริม ให้ผทเกียวข้องมีทศนคติทดตอวิธการและรูปแบบการเรียน เนืองจากการใช้รปแบบการเรียนการสอน ู้ ่ี ่ ั ่ี ี ่ ี ่ ู แบบผสมผสานให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือและการมีส่วนร่วม อย่างแท้จริงจากผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคน 8.2 ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป ควรมีการศึกษาผลของการจัดการเรียนรูแบบผสมผสานโดยใช้เครืองมือทางปัญญาในด้านอืนๆ ้ ่ ่
  • 11. 11 วารสารวิทยบริการ ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔ ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข ุ เช่น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดอย่างมีเหตุมีผล การคิดเชิง สังเคราะห์ เป็นต้น รายการอ้างอิง [1] Bonk, C. J. & Graham, C. R. (2004). Handbook of blended learning: Global Perspectives. San Francisco: Pfeiffer Publishing. [2] Bersin, J. (2004). The blended learning book: Best practices, proven methodologies, and lessons learned. San Francisco: Pfeiffer. [3] Kaye, T. (2003). Blended learning: how to integrate online & traditional learning. London: Kogan Page. [4] ใจทิพย์ ณ สงขลา. (2550). E-Instructional Design วิธวทยาการออกแบบการเรียน ีิ การสอนอิเล็กทรอนิกส์. กรุงเทพฯ : ศูนย์ตำราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [5] Buzan, T. (2010). Mind maps for business : revolutionize your business thinking and practice. Harlow: Pearson. [6] Michaelis, J.W. (1992). A guide to basic instruction. (10th ed.). Boston: Allyn and Bacon. [7] Bloom, B. S. (1976). Taxonomy of Educational Objective Handbook: Cognitive Domain. New York: David Mc Kay Company Inc. [8] William, W. & Stephen G. J. (2009). Research methods in education: an introduction. (9th ed.). Boston: Pearson. [9] ธีรวดี ถังคบุตร. (2552). การพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน โดยใช้แผนผังทางปัญญาเพื่อเพิ่มพูนความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณสำหรับ นักศึกษาปริญญาบัณฑิต. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ั [10] Driscoll, M. (2002). Blended learning: let's get beyond the hype. Retrieved September 4, 2009. From http://www.ltimagazine.com/ltimagazine/article/ articleDetail.jsp?id=11755 [11] Rovai, A. & Jordan, M. (2004). Blended learning and sense of community: A compara tive analysis with traditional and fully online graduate course. Retrieved January 4, 2010. From http://www.irrodl.org/content/v5.2/rovai-jordan.html
  • 12. 12 วารสารวิทยบริการ ผลของการเรียนแบบผสมผสานฯ ปีท่ี ๒๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๔ ปณิตา วรรณพิรณ และปรัชญนันท์ นิลสุข ุ ประวัติผู้เขียน ชื่อผู้เขียน: อาจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรณ ุ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สถานที่ทำงาน: ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อตสาหกรรม ุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 1518 ถ.พิบลสงคราม บางซือ กรุงเทพฯ 10800 ู ่ โทรศัพท์: 081 455 5741, 02 913 2500 ต่อ 3298 โทรสาร: 0 2587 8256 E-mail: panitaw@kmutnb.ac.th สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ • การวิจัยเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา • จิตวิทยาการศึกษา • การออกแบบและพัฒนาระบบการสอน • การจัดการเรียนการสอนบนเว็บ ชื่อผู้เขียน: ผูชวยศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ้่ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สถานที่ทำงาน: ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อตสาหกรรม ุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 1518 ถ.พิบลสงคราม บางซือ กรุงเทพฯ 10800 ู ่ โทรศัพท์: 081 455 5741, 02 913 2500 ต่อ 3298 โทรสาร: 0 2587 8256 E-mail: prachyanunn@kmutnb.ac.th สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ • การวิจัยเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา • จิตวิทยาการศึกษา • การออกแบบและพัฒนาระบบการสอน • การจัดการเรียนการสอนบนเว็บ ****************************