SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 35
Descargar para leer sin conexión
ความทุกข์ของลุงสําราญ
ปั ญหาทีพบ
 1. ผลผลิตราคาตกตํา (นางสาว ดุษฎี พงษ์เพ็ง)
 2. ผลผลิตล้นตลาด (นาย สุรศักดิ ชาลีปะทัง)
 3. ต้นทุนการผลิตสูง (นางสาว จุตภากรณ์ ภาคาศรี)
                                ิ
 4. หนีสินธนาคาร (นาย ณัฐวัฒน์ กันชาติ)
 5. โรคและแมลง (นาย นพดล เข็มทอง)
 6. คู่แข่งขันมากราย (นางสาว คุณากร ทานะกุล)
 7. พ่อค้าคนกลาง (นางสาว สุธิตา โชติกวนิช)
ผลประชุมครังที 1
ผลประชุมครังที 2
สาเหตุของปั ญหาและการแก้ปัญหา
  ผลผลิตราคาตกตํา ผลผลิตล้นตลาด
สาเหตุ
     ราคามังคุ ดจะถูกกําหนดโดยความต้องการซื อสินค้า หรื ออุ ป
สงค์ (demand) และปริมาณมังคุดทีเกษตรกรต้องการนํามาขายหรือ
อุปทาน (supply) เมือใดทีความต้องการซือมังคุดมีมากกว่ามังคุดที
นํ ามาขาย คือมีอุปสงค์มากกว่าอุปทาน มังคุ ดจะมีราคาสูง แต่ถา   ้
ความต้องการซือมังคุ ดมีน้อยกว่ามังคุ ดที มีขายอยู่ในตลาด หรืออุป
สงค์น้อยกว่าอุปทาน เกษตรกรจึงไม่ตังราคาสูง เพราะอาจจะทําให้
ขายมังคุดนันไม่ได้ สิมงคุดก็จะมีราคาตํา
                      ั
วิธีแก้ปัญหา
       1. ต้องควบคุมปริมาณการผลิตไม่ให้มีมากเกินกว่าความต้องการ
บริโภค (ควบคุมด้านอุปทานของสินค้า) มังคุดทุกดอกจะเจริญเป็ นผลได้
โดยไม่ตองผสมเกสร ถ้าปล่อยให้ออดอกมากเกินไปผลทีได้มขนาดเล็กราคา
         ้                                           ี
ไม่ดี และยังมีผลต่อความสมบูรณ์ของต้นในปี ถัดไป นอกจากจะจัดการนํา
ตามทีกล่าวแล้ว ในกรณีทีพบว่ามังคุดออกดอกมากเกินไปแล้วให้หว่านปุย
                                                              ๋
ทางดินสูตร 16-16-16 หรือ 15-15-15 ปริมาณ 2 เท่าของปกติควบคู่
กับการให้นําจะทําให้ผลทีมีอายุ 2 – 3 สัปดาห์รวงได้บางส่วน
                                               ่
2. การแปรรูปมังคุด เช่น นํามังคุด แยมมังคุด เป็ นต้น




        นํามังคุด                   แยมมังคุด
3. การผลิตมังคุดนอกฤดูกาล
ระยะที 1 ตัดแต่งกิง เดือนกุมภาพันธ์
ระยะที 2 เปิ ดตาดอก เดือนมิถุนายน – กรกฎาคม
ระยะที 3 บํารุงดอกและลูก ปองกันเพลียไฟไรแดง
                            ้
แผนปฏิบตในการผลิตมังคุดนอกฤดูกาล มีรายละเอียดดังนี
       ั ิ
      1. เดือนธันวาคม-เดือนมกราคม
      2. เดือนกุมภาพันธ์
      3. เดือนมีนาคม
      4. เดือนเมษายน
      5. เดือนมิถุนายน
      6. เดือนกรกฎาคม
      7. ในช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนพฤศจิกายน
      8. ประมาณต้นเดือนกันยายน
      9. เดือนกันยายน
    10. พอเข้าเดือนธันวาคม มกราคม
4. การจัดการคุณภาพมังคุด               ใช้แนวทางการผลิตมังคุด
ตามระบบการจัดการคุณภาพ โดยดําเนิ นการทดสอบทีตําบลกรํา และตําบล
ชากพง อําเภอแกลง จังหวัดระยอง เริมจากการเตรียมพร้อมของต้นมีการชัก
นําการออกดอกในช่วงทีเหมาะสม และส่งเสริมพัฒนาการของผลและเพิม
ปริมาณคุณภาพผลผลิต ทําให้ได้ผลผลิตมังคุดเฉลีย 640.1 กิโลกรัมต่อไร่
มาก กว่าวิธีเกษตรกรร้อยละ 13.4 มีผลผลิตเข้าเกณฑ์คุณภาพตาม
มาตรฐาน คือมีนําหนักผลไม่ตากว่า 70 กรัม ผิวมันปราศจากตําหนิ เด่นชัด
                             ํ
ไม่มีอาการเนื อแก้วหรือยางไหลภายในผล ผลผลิตปลอดภัยร้อยละ 73.4
มากกว่าวิธีเกษตรกรร้อยละ 12.2 ทําให้ได้ผลตอบแทน เฉลีย 7,924.6
บาทต่อไร่ ซึงมากกว่าวิธีเกษตรกรร้อยละ 35.3
ตาราง แสดงผลผลิตเฉลีย ผลด้านเศรษฐศาสตร์
เมือเปรียบเทียบวิธีทดสอบ กับวิธีเกษตรกร
        รายการ            วิธีทดสอบ   วิธีเกษตรกร


    ผลผลิต (กก./ไร่)       640.1        564.5

 ต้นทุนผันแปร (บาท/ไร่)   7,373.8      5,322.4

    รายได้ (บาท/ไร่)      15,298.4    11,177.1

 ผลตอบแทน (บาท/ไร่)       7,924.6      5,854.7
ต้นทุนการผลิตสูง
สาเหตุ
      แนวทางการเพิมผลผลิตทางการเกษตรในระยะทีผ่านมามุ่ง เน้น
เรืองการเพิมปั จจัยการผลิตเป็ นหลัก โดยมิได้คานึ งถึงต้นทุนการผลิตและ
                                                ํ
การเพิมประสิทธิภาพการผลิต ทําให้เกษตรกรมีความจํากัดในเรืองเงินไม่
พร้อ มที จะรับ เทคโนโลยี ก ารผลิ ต ได้ ดัง นั นประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต ของ
เกษตรกรโดยรวมจึงอยู่ในระดับตํา ทังนี สืบเนื องมาจากเกษตรกรผูผลิต      ้
ส่วนใหญ่เป็ นเกษตรกรรายย่อย กระจัดกระจายอยูโดยทัวไป ผลผลิตต่อไร่
                                                  ่
ก็ยงอยูในระดับตํา และปั จจัยการผลิตมีราคาสูง
    ั ่
วิธีแก้ปัญหา
         การลดต้นทุน (Cost Reduction) คือ การทําให้ตนทุนทุกชนิ ดที
                                                         ้
  เกิ ด ขึ น ในทุ ก ขันตอนของกระบวนการทํ า งานลดตํ าลง โดยการ
  ปรับปรุ งแก้ไ ขกิ จ กรรมที เคยทํา มาก่ อนหน้า ซึ งมี การตังเปาหมาย
                                                              ้
  วิธีการวัดและการเปรียบเทียบทีชัดเจน
         การลดต้นทุนในการใช้ปุย เปลียนจากปุยเคมีทีมีราคาแพงมา
                                 ๋              ๋
  ใช้ปุยชีวภาพทีหาได้ง่ายในชุมชน
      ๋
ตัวอย่างการทําปุยนําชีวภาพจากรําข้าวและมูลไก่ไข่
                 ๋
1. รําละเอียด 50 กิโลกรัม ราคา 320 บาท
2. มูลไก่ไข่ 50 กิโลกรัม ราคา 190 บาท
3. เชือ พด.-1 1 ซอง ขอรับจากกรมพัฒนาทีดิน
      เชือ พด.-1 คือ กลุ่มจุลินทรียทีมีความสามารถสูงในการย่อยสลาย
                                   ์
วัสดุเหลือใช้จากการเกษตร เพือใช้ผลิตปุยหมักในช่วงระยะเวลาอันสัน ประ
                                     ๋
กอกด้วย เชือแบคทีเรีย แอคติโน มัยซีส และเชือรา
ขันตอนการทํา
1. นํารําละเอียดและมูลไก่ไข่มาผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน
2. เตรียมเชือจุลินทรีย์ โดยนําเชือ พด.-1 เทใส่ในนํา 20 ลิตร ใช้ไม้คนอย่าง
   สมําเสมอ เป็ นเวลา 15-20 นาที
3. เทเชือ พด.-1 ทีเตรียมไว้ลงไปทีกองรําและมูลไก่ไข่ทีผสมกันไว้แล้ว พร้อมทัง
   พรมนําเพือให้ความชืนกองปุย ใช้พลัวคลุกเคล้ากองปุยจนวัสดุต่างๆผสมกัน
                               ๋                     ๋
   ดี และมีความชืนประมาณ 40 เปอร์เซ็นต์
4. ทดสอบความชืนในกอง โดยใช้มือกําวัสดุ แล้วคลายมือออก ก้อนวัสดุก็ยงไม่ั
   แตก จากนันใช้กระสอบป่ านคลุมกองไว้
5. ให้กลับกองปุยทุกวัน เป็ นเวลา 7 วัน โดยทุกครังทีกลับกองแล้ว ให้คลุมกอง
              ๋
   ปุยด้วยกระสอบป่ านไว้ เมือครบ 7 วันแล้ว ให้แผ่กองปุยออก ผึงในร่มจนแห้ง
    ๋                                                 ๋
6. หลังจากผึงในร่มจนแห้งแล้ว ควรเก็บใส่ถุงกระดาษหรือกระสอบทีมีการ
   ระบายอากาศได้
หนีสินธนาคาร
สาเหตุ
       สาเหตุส่วนใหญ่เป็ นเพราะมีตนทุนและค่าใช้จายในการผลิตสูง
                                   ้              ่
รองลงมาจากทางผลผลิตได้รบความเสียหายจากธรรมชาติ ผลผลิตตํา การ
                            ั
ผลิตเชิงเดียว การขาดช่องทางการจัดจําหน่ าย จากราคาผลผลิตตกตํา ด้าน
การจัดการ ส่วนใหญ่เกิดจากการรวบรวมเงินไว้เพือจะชําระครังเดียว การ
ไม่ได้ใช้เงินกูตามวัตถุประสงค์ทีขอกู ้ การขาดความรูและประสบการณ์ในการ
               ้                                    ้
ลงทุน การขาดแรงงานในครัวเรือน สาเหตุในครัวเรือน ส่วนใหญ่ เห็นว่าเกิด
จากทางด้านค่าใช้จายในครัวเรือนสูง เช่น ค่ารักษาพยาบาล ค่าการศึกษา
                     ่
บุตร การลงทุนในสินทรัพย์อืน เช่น ซือมอเตอร์ไซด์ รถยนต์ ซือทีดิน ซ่อม
ปรับปรุงบ้านหรือโรงเรือน การนําเงินไปชําระหนี สินภายนอกก่อน และการ
ใช้จายเบ็ดเตล็ด
    ่
วิธีแก้ปัญหา
    1. การทําบัญชีหนีสินและรายรับ-รายจ่าย
การจดบันทึกการปฏิบติงานทุก ๆ ขันตอนทีได้ปฏิบติในการปลูกพืช จนถึงการ
                      ั                     ั
    เก็บเกียวและการจําหน่ ายผลผลิต
          1.1 จดบันทึกค่าใช้จายแต่ละครังในการปลูกใน 1 ฤดูกาล เช่น
                               ่
    1) ค่าพันธุพืช
                ์
    2) ราคาปุย๋
    3) ยาปองกันกําจัดศัตรูพืช
            ้
    4) เครืองมือและอุปกรณ์ทีใช้ในการปลูกพืช
    5) ค่าแรงงาน
    แล้วจดบันทึกค่าใช้จายรวมยอดไว้
                        ่
1.2 จดบันทึกผลผลิตทีได้ในการปลูกใน 1 ฤดูกาล เช่น
1) ผลผลิตจํานวนกีกิโลกรัมต่อเนื อที 1 แปลง
2) ในการนําไปจําหน่ ายได้กิโลกรัมละเท่าไร
3) ขายให้กบโรงงานอุตสาหกรรมและขายให้กบตลาดบริโภคสดในอัตราร้อย
            ั                              ั
ละเท่าไร
      1.3 นําเงินทุนและรายได้นําไปคํานวณหาผลกําไร
การจดบันทึกการปฏิบติงานและการทําบัญชีรายรับ-รายจ่าย เป็ นการช่วย
                      ั
ความทรงจํา และถ้ามีการจดบันทึกกิจการต่าง ๆ อย่างมีระบบ การลงบัญชีที
ดี มีความเข้าใจในการจดบันทึก และการสรุปข้อมูลให้เหมาะสมแล้ว สามารถ
นําข้อมูลทีได้รบมาใช้
               ั
ตารางบัญชีรายรับรายจ่าย
ปี การผลิต               รายจ่าย                          รายรับ                        รายได้

  2553       ค่าปุยเคมี 4,300 บาท/ ไร่
                 ๋                            ผลผลิต 1100 กก./ไร่ 27,500 บาท หลังหักต้นทุน 320,000 บาท

             ค่าสารเคมี                       ผลผลผลิตรวมทังหมด (20 ไร่)
             - การกําจัดวัชพืช 400 บาท/ ไร่   2,200 กิโลกรัม 550,000 บาท
             - การกําจัดแมลงและศัตรูพืช
             1,200 บาท/ไร่
             ค่านํามันเชือเพลิง
             - การกําจัดแมลงศัตรูพืช 500
             บาท/ไร่
             ค่าไฟฟ้ า 1,000 บาท/ไร่
             ค่าแรงงาน
             -ค่าดูแลรักษา 1,500 บาท/ไร่
             -ค่าเก็บเกียว 2,400 บาท/ ไร่
             ค่าซ่อมแซม
             อุปกรณ์การเกษตร 200 บาท/ ไร่
             ต้นทุนรวม 11,500 บาท/ไร่
             ต้นทุนรวม 20 ไร่ 230,000 บาท
การเจรจาประนอมหนี และปรับโครงสร้างหนี

     ลูกหนีทีมีความตังใจในการชําระหนี แต่เนื องจากมีหนี สิน
มากไม่สามารถจ่ายชําระหนี สินตามข้อตกลงเดิมได้ แต่ความสามารถ
ในการจ่ายชําระหนี ยงมีอยู่ ไม่มีความคิดทีจะหนี หนี (ชักดาบ) ก็น่าจะ
                     ั
ลองเข้าไปพบเจ้าหนี แล้วลองขอเจรจาประนอมหนี กบเจ้าหนี อาจจะ
                                                   ั
เริมโดยการโทรศัพท์ไปสอบถามฝ่ ายเจ้าหนี ก่อน ว่าทางฝ่ ายเจ้าหนี มี
นโยบายในการเจรจาประนอมหนี กบลูกหนี ทีมีภาระหนี สินมากแต่ยง
                                   ั                              ั
มีความตังใจทีจะจ่ายชําระหนี ต่อไปหรือไม่ ส่วนมากเจ้าหนี มกจะั
ยอมให้มีการเจรจาประนอมหนี กบลูกหนี เพราะยังไงเสียก็ดีกว่าปล่อย
                                 ั
ให้กลายเป็ นหนี เสีย
การเจรจาประนอมหนี
     เจ้าหนี จะหยุดหนี เดิมไว้แล้วจะทําสัญญาประนอมหนี
ฉบับใหม่ขึนมาตามข้อสรุปทีได้จากการเจรจาประนอมหนี กบ   ั
ลูกหนี ทางฝ่ ายเจ้าหนี มกจะยกยอดหนี สินเดิมรวมดอกเบีย
                         ั
ค้างชําระ ค่าธรรมเนี ยมและดอกเบียทีคิดเพิมอีกเล็กน้อย
ส่วนทางด้านลูกหนี ก็จะพยายามเจรจาต่อรองโดยขอให้เจ้าหนี
หยุดคิดดอกเบีย ลดดอกเบียเก่าบางส่วน ยกเว้นค่าปรับและ
ค่าธรรมเนี ยมต่าง ๆ เท่าทีจะขอได้ ส่วนข้อสรุปในการเจรจา
ประนอมหนี จริง ๆ จะออกมาในรูปใดก็แล้วแต่ความสามารถ
ในการเจรจาต่อรองของทังสองฝ่ าย
ผลทีได้จากการเจรจาประนอมหนี มักจะออกมาในลักษณะทีลูกหนี
ต้องผ่อนชําระเป็ นเวลาทีนานขึนแต่ยอดเงินทีต้องผ่อนชําระต่อเดือนจะลดลง
นันคือภาระหนี สินต่อเดือนจะลดลงแต่กว่าจะผ่อนหมดต้องใช้ระยะเวลาที
นานขึน ลูกหนี ตองลองคิดให้ละเอียดรอบคอบถึงข้อสรุปจากการเจรจา
                 ้
ประนอมหนี วาเป็ นประโยชน์ต่อตัวลูกหนี มากน้อยแค่ไหนและจะสามารถยืน
             ่
ระยะในการจ่ายชําระหนี จนหมดได้หรือไม่ ถ้าจะเลือกทางเลือกในการเจรจา
ประนอมหนี หลังจากทีลูกหนี ผ่อนชําระเจ้าหนี แล้วเงินทีเหลือในแต่ละเดือน
จะเพียงพอกับค่ากินค่าอยูและค่าใช้จายต่าง ๆ ภายในครอบครัวทีต้อง
                         ่        ่
รับผิดชอบหรือไม่ ถ้าไม่พอแล้วต้องไปก่อหนี สินใหม่เพิมอีกก็ไม่มีประโยชน์ที
จะทําการเจรจาประนอมหนี เพราะปั ญหาหนี สินไม่ได้รบการแก้ไขให้จบแต่
                                                   ั
กลับจะยิงหนักขึนอีก
โรคและแมลง
    1. หนอนชอนใบ
2. ไรแดง
4. เพลียไฟ
5. โรคใบจุด
คู่แข่งขันมากราย
วิธีแก้ปัญหา
        จัดการท่องเทียวเชิงเกษตร พืชพรรณผลผลิตจากฟาร์มจากสวน
  เกษตรทังหลายนัน นับเป็ นความสําเร็จของเกษตรกรทีเฝ้ าบํารุงรักษาจนเก็บ
  ผลจําหน่ ายได้ แต่เป็ นความน่ าสนใจอยากรูอยากเห็นของนักท่องเทียวต่าง
                                           ้
  บ้านต่างเมืองว่า เกษตรกรทังหลายทําได้อย่างไร มีกลวิธีเทคนิ คอะไรบ้าง
  อยากเข้าไปเทียวชมกันถึงสวน ถึงฟาร์ม ถึงแหล่ง เพือเกิดความรูใหม่เพิมขึน
                                                              ้
  ได้รบประสบการณ์ใหม่ ๆ จากทีไม่เคยรูมาก่อน
      ั                                 ้
แนวทางบริหารจัดการของเจ้าของสวน
    1. เตรียมสถานทีเทียวชมควรเป็ นเส้นทางวงรอบ
    2. หากมีมุมสาธิตได้ ควรจัดเจ้าหน้าทีเตรียมการสาธิตให้ชม
    3. มัคคุเทศก์นําชมสวน สามารถอธิบายได้ดีเท่ากับหรือมากกว่า
เจ้าของสวน
4. จัดมุมสถานทีพักผ่อน จัดมุมบริการอาหารและเครืองดืมจําหน่ าย
นี จาหน่ ายผลิตภัณฑ์สินค้าของทีระลึกด้วย ทังของในสวนและของเพือน
    ํ
บ้านใกล้เคียง รวมไปถึงบ้านพักและสถานทีตังค่ายพักแรม
      5. จัดเตรียมอุปกรณ์ทีทิงขยะ แยกเปี ยกและแห้ง
      6. มีบริการห้องสุขาทีสะอาด (อาจมีกล่องรับเงินบริการ เพือให้ผทีทําหน้าที
                                                                  ู้
      ดูแล ได้รบผลประโยชน์)
               ั
กิจกรรมในสวน
1. เข้าชมสวนมังคุด ตังแค้มป์ พักแรมไฟ กิจกรรมออกค่ายต่างๆ
2. อาหารและชิมผลไม้ได้ไม่อน โดยอยูในราคา 120 บาท ต่อคน
                             ั       ่
3. การให้ความรูเ้ กียวกับการปลูก ดูแลรักษา การเก็บเกียวผลผลิต และการ
สาธิตการทําปุยหมักจากธรรมชาติ เพียงท่านละ 100 บาท
            ๋
4. การจําหน่ ายผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตร
     - มังคุดสด
     - ของทีระลึกต่างๆ
     - การแปรรูปมังคุด
     - การจําหน่ ายเมล็ดพันธุ์
จะได้อะไรจากการเปิ ดสวนเป็ นแหล่งท่องเทียว
-   สามารถจําหน่ ายต้นอ่อนและเมล็ดพันธุ ์
-   สามารถขายผลผลิตทีเก็บได้ส่งให้กบนักท่องเทียวโดยตรง
                                    ั
-   ผลผลิตทีจําหน่ ายสดไม่ทนแปรรูปเป็ นผลผลิตอีกรูปแบบหนึ ง
                           ั
-   ทําให้เพือนบ้านสามารถขายสินค้า ทังจากสวนเกษตร และสินค้า
    จําพวกอาหาร เครืองดืมได้เพิมขึน
พ่อค้าคนกลาง
  ปั ญหาเกียวกับการมีพอค้าคนกลาง
                      ่
     1. พ่อค้าคนกลางมักจะมีฐานะการต่อรองราคาสูงกว่าเกษตรกรมากทํา
ให้มีอานาจในการกดราคารับซือให้ตาลงได้งาย
      ํ                           ํ        ่
     2. ความสามารถในการเก็งกําไร ในช่วงทีมีการคาดหมายว่าราคาสินค้า
เกษตรชนิ ดใดจะมีราคาดีมาก ทําให้ตลาดเกิดความปั นป่ วน ไร้เสถียรภาพ
     3. มักการกําหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรเอาเปรียบเกษตรกรมากและ
สินค้าเกษตรทีรับซือจากเกษตรกรในแต่ละครังมักจะตังมาตรฐานและ
คุณภาพในการรับซือทีไม่แน่ นอน
     4. ดอกเบียเงินกูทีเกษตรกรจ่ายให้แก่ผรบซือพืชผลหรือพ่อค้าคนกลาง
                     ้                   ู้ ั
มักจะสูงกว่าอัตราดอกเบียจากแหล่งเงินกูอืนๆ เช่น สหกรณ์การเกษตร
                                      ้
ธนาคารเพือการเกษตรและสหกรณ์ (ธกส.) หรือธนาคารพาณิชย์อืนๆ
การรวมกลุ่มเกษตรกร
   เกษตรกรคนหนึ งจะเป็ น
สมาชิกได้เพียง 1 กลุ่ม และ
ในครอบครัวหนึ งเป็ นสมาชิกได้ 1 คน
     ในหนึ งตําบลจะจัดตังกลุ่มเกษตรกร
ทีมีผประกอบอาชีพเกษตรกรรมประเภทเดียวกันได้เพียง 1 กลุ่ม
      ู้
     ถ้ามีผประกอบอาชีพหลักหลายประเภท และมีเกษตรกรไม่น้อยกว่า 30 คน
           ู้
จะตังกลุ่มตามอาชีพหลักได้ประเภทละ 1 กลุ่ม
     เกษตรกรมีการทดลองรวมกลุ่มดําเนิ นงานในลักษณะคล้ายกลุ่มเกษตรกร
เป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 6 เดือน
สิงทีได้จากการรวมกลุ่ม
      เพิมอํานาจการต่อรองราคากับพ่อค้าคนกลาง
        เพือเรียนรูระบบบริหารจัดการธุรกิจได้ดวยตนเอง
                   ้                         ้
        เพือให้สามารถพึงตัวเองได้ในอนาคตและลดขันตอนจาก
นายทุนในชุมชน
         การแลกเปลียนความรูและประสบการณ์ รวมไปถึงการ
                             ้
ช่วยกันยกระดับสินค้า

Más contenido relacionado

Destacado

Destacado (20)

Muzeul Unirii Iasi
Muzeul Unirii IasiMuzeul Unirii Iasi
Muzeul Unirii Iasi
 
Fábio russomano -_vacinas_contra_hpv_-_jun2012
Fábio russomano -_vacinas_contra_hpv_-_jun2012Fábio russomano -_vacinas_contra_hpv_-_jun2012
Fábio russomano -_vacinas_contra_hpv_-_jun2012
 
Semana de reflexión
Semana de reflexiónSemana de reflexión
Semana de reflexión
 
9vos billetes cr
9vos billetes cr9vos billetes cr
9vos billetes cr
 
Prova origami
Prova origamiProva origami
Prova origami
 
Urban art -_best_of_2011/Arte urbano
Urban art -_best_of_2011/Arte urbanoUrban art -_best_of_2011/Arte urbano
Urban art -_best_of_2011/Arte urbano
 
第二章 线性表
第二章 线性表第二章 线性表
第二章 线性表
 
Treball de recuperació informàtica impress
Treball de recuperació informàtica impressTreball de recuperació informàtica impress
Treball de recuperació informàtica impress
 
Tarea
TareaTarea
Tarea
 
ventajas y desventajas de las herramienta web 2.0
ventajas y desventajas de las herramienta web 2.0ventajas y desventajas de las herramienta web 2.0
ventajas y desventajas de las herramienta web 2.0
 
Tipos de mantenimiento de las computadoras
Tipos de mantenimiento de las computadorasTipos de mantenimiento de las computadoras
Tipos de mantenimiento de las computadoras
 
Centro escolar insa
Centro escolar insaCentro escolar insa
Centro escolar insa
 
Almuerzo
AlmuerzoAlmuerzo
Almuerzo
 
Skateboarding
SkateboardingSkateboarding
Skateboarding
 
20 aniversario 25 aniv
20 aniversario 25 aniv20 aniversario 25 aniv
20 aniversario 25 aniv
 
Zwarte Piet, el curioso asistente español de San Nicolás
Zwarte Piet, el curioso asistente español de San NicolásZwarte Piet, el curioso asistente español de San Nicolás
Zwarte Piet, el curioso asistente español de San Nicolás
 
Examen de computación Kenet Morocho Tircio 2 C
Examen de computación Kenet Morocho Tircio 2 CExamen de computación Kenet Morocho Tircio 2 C
Examen de computación Kenet Morocho Tircio 2 C
 
Administracion
AdministracionAdministracion
Administracion
 
Instrución 2 2014 x.i (2)
Instrución 2 2014 x.i (2)Instrución 2 2014 x.i (2)
Instrución 2 2014 x.i (2)
 
Antiresumen
AntiresumenAntiresumen
Antiresumen
 

Similar a 7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)

โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเจื๋อง เมืองลื้อ
 
Merged document
Merged documentMerged document
Merged documentapecthaitu
 
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพดงานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพดKanitha Panya
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554Lsilapakean
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4punloveh
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยsomporn Isvilanonda
 
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงIFon Lapthavon
 
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานเอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานSompop Petkleang
 
ผลงานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรทำนาตะ
ผลงานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรทำนาตะผลงานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรทำนาตะ
ผลงานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรทำนาตะmaza7611
 
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์มคู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์มpyopyo
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7Ploy Benjawan
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรdaiideah102
 
งานนำเสนอ1งานคอมในหลวง
งานนำเสนอ1งานคอมในหลวงงานนำเสนอ1งานคอมในหลวง
งานนำเสนอ1งานคอมในหลวงparinee
 

Similar a 7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์) (20)

โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Merged document
Merged documentMerged document
Merged document
 
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพดงานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
 
วารสารยางพาราฉบับที่ 4 ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4 ปีที่ 34
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
W200753 53
W200753 53W200753 53
W200753 53
 
Bakery
BakeryBakery
Bakery
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
 
Bio diesel
Bio dieselBio diesel
Bio diesel
 
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
 
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานเอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
 
ผลงานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรทำนาตะ
ผลงานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรทำนาตะผลงานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรทำนาตะ
ผลงานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรทำนาตะ
 
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์มคู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
เกษตร
เกษตรเกษตร
เกษตร
 
Gap
GapGap
Gap
 
งานนำเสนอ1งานคอมในหลวง
งานนำเสนอ1งานคอมในหลวงงานนำเสนอ1งานคอมในหลวง
งานนำเสนอ1งานคอมในหลวง
 

7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)

  • 2. ปั ญหาทีพบ 1. ผลผลิตราคาตกตํา (นางสาว ดุษฎี พงษ์เพ็ง) 2. ผลผลิตล้นตลาด (นาย สุรศักดิ ชาลีปะทัง) 3. ต้นทุนการผลิตสูง (นางสาว จุตภากรณ์ ภาคาศรี) ิ 4. หนีสินธนาคาร (นาย ณัฐวัฒน์ กันชาติ) 5. โรคและแมลง (นาย นพดล เข็มทอง) 6. คู่แข่งขันมากราย (นางสาว คุณากร ทานะกุล) 7. พ่อค้าคนกลาง (นางสาว สุธิตา โชติกวนิช)
  • 5. สาเหตุของปั ญหาและการแก้ปัญหา ผลผลิตราคาตกตํา ผลผลิตล้นตลาด สาเหตุ ราคามังคุ ดจะถูกกําหนดโดยความต้องการซื อสินค้า หรื ออุ ป สงค์ (demand) และปริมาณมังคุดทีเกษตรกรต้องการนํามาขายหรือ อุปทาน (supply) เมือใดทีความต้องการซือมังคุดมีมากกว่ามังคุดที นํ ามาขาย คือมีอุปสงค์มากกว่าอุปทาน มังคุ ดจะมีราคาสูง แต่ถา ้ ความต้องการซือมังคุ ดมีน้อยกว่ามังคุ ดที มีขายอยู่ในตลาด หรืออุป สงค์น้อยกว่าอุปทาน เกษตรกรจึงไม่ตังราคาสูง เพราะอาจจะทําให้ ขายมังคุดนันไม่ได้ สิมงคุดก็จะมีราคาตํา ั
  • 6. วิธีแก้ปัญหา 1. ต้องควบคุมปริมาณการผลิตไม่ให้มีมากเกินกว่าความต้องการ บริโภค (ควบคุมด้านอุปทานของสินค้า) มังคุดทุกดอกจะเจริญเป็ นผลได้ โดยไม่ตองผสมเกสร ถ้าปล่อยให้ออดอกมากเกินไปผลทีได้มขนาดเล็กราคา ้ ี ไม่ดี และยังมีผลต่อความสมบูรณ์ของต้นในปี ถัดไป นอกจากจะจัดการนํา ตามทีกล่าวแล้ว ในกรณีทีพบว่ามังคุดออกดอกมากเกินไปแล้วให้หว่านปุย ๋ ทางดินสูตร 16-16-16 หรือ 15-15-15 ปริมาณ 2 เท่าของปกติควบคู่ กับการให้นําจะทําให้ผลทีมีอายุ 2 – 3 สัปดาห์รวงได้บางส่วน ่
  • 7. 2. การแปรรูปมังคุด เช่น นํามังคุด แยมมังคุด เป็ นต้น นํามังคุด แยมมังคุด
  • 8. 3. การผลิตมังคุดนอกฤดูกาล ระยะที 1 ตัดแต่งกิง เดือนกุมภาพันธ์ ระยะที 2 เปิ ดตาดอก เดือนมิถุนายน – กรกฎาคม ระยะที 3 บํารุงดอกและลูก ปองกันเพลียไฟไรแดง ้
  • 9. แผนปฏิบตในการผลิตมังคุดนอกฤดูกาล มีรายละเอียดดังนี ั ิ 1. เดือนธันวาคม-เดือนมกราคม 2. เดือนกุมภาพันธ์ 3. เดือนมีนาคม 4. เดือนเมษายน 5. เดือนมิถุนายน 6. เดือนกรกฎาคม 7. ในช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนพฤศจิกายน 8. ประมาณต้นเดือนกันยายน 9. เดือนกันยายน 10. พอเข้าเดือนธันวาคม มกราคม
  • 10. 4. การจัดการคุณภาพมังคุด ใช้แนวทางการผลิตมังคุด ตามระบบการจัดการคุณภาพ โดยดําเนิ นการทดสอบทีตําบลกรํา และตําบล ชากพง อําเภอแกลง จังหวัดระยอง เริมจากการเตรียมพร้อมของต้นมีการชัก นําการออกดอกในช่วงทีเหมาะสม และส่งเสริมพัฒนาการของผลและเพิม ปริมาณคุณภาพผลผลิต ทําให้ได้ผลผลิตมังคุดเฉลีย 640.1 กิโลกรัมต่อไร่ มาก กว่าวิธีเกษตรกรร้อยละ 13.4 มีผลผลิตเข้าเกณฑ์คุณภาพตาม มาตรฐาน คือมีนําหนักผลไม่ตากว่า 70 กรัม ผิวมันปราศจากตําหนิ เด่นชัด ํ ไม่มีอาการเนื อแก้วหรือยางไหลภายในผล ผลผลิตปลอดภัยร้อยละ 73.4 มากกว่าวิธีเกษตรกรร้อยละ 12.2 ทําให้ได้ผลตอบแทน เฉลีย 7,924.6 บาทต่อไร่ ซึงมากกว่าวิธีเกษตรกรร้อยละ 35.3
  • 11. ตาราง แสดงผลผลิตเฉลีย ผลด้านเศรษฐศาสตร์ เมือเปรียบเทียบวิธีทดสอบ กับวิธีเกษตรกร รายการ วิธีทดสอบ วิธีเกษตรกร ผลผลิต (กก./ไร่) 640.1 564.5 ต้นทุนผันแปร (บาท/ไร่) 7,373.8 5,322.4 รายได้ (บาท/ไร่) 15,298.4 11,177.1 ผลตอบแทน (บาท/ไร่) 7,924.6 5,854.7
  • 12. ต้นทุนการผลิตสูง สาเหตุ แนวทางการเพิมผลผลิตทางการเกษตรในระยะทีผ่านมามุ่ง เน้น เรืองการเพิมปั จจัยการผลิตเป็ นหลัก โดยมิได้คานึ งถึงต้นทุนการผลิตและ ํ การเพิมประสิทธิภาพการผลิต ทําให้เกษตรกรมีความจํากัดในเรืองเงินไม่ พร้อ มที จะรับ เทคโนโลยี ก ารผลิ ต ได้ ดัง นั นประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต ของ เกษตรกรโดยรวมจึงอยู่ในระดับตํา ทังนี สืบเนื องมาจากเกษตรกรผูผลิต ้ ส่วนใหญ่เป็ นเกษตรกรรายย่อย กระจัดกระจายอยูโดยทัวไป ผลผลิตต่อไร่ ่ ก็ยงอยูในระดับตํา และปั จจัยการผลิตมีราคาสูง ั ่
  • 13. วิธีแก้ปัญหา การลดต้นทุน (Cost Reduction) คือ การทําให้ตนทุนทุกชนิ ดที ้ เกิ ด ขึ น ในทุ ก ขันตอนของกระบวนการทํ า งานลดตํ าลง โดยการ ปรับปรุ งแก้ไ ขกิ จ กรรมที เคยทํา มาก่ อนหน้า ซึ งมี การตังเปาหมาย ้ วิธีการวัดและการเปรียบเทียบทีชัดเจน การลดต้นทุนในการใช้ปุย เปลียนจากปุยเคมีทีมีราคาแพงมา ๋ ๋ ใช้ปุยชีวภาพทีหาได้ง่ายในชุมชน ๋
  • 14. ตัวอย่างการทําปุยนําชีวภาพจากรําข้าวและมูลไก่ไข่ ๋ 1. รําละเอียด 50 กิโลกรัม ราคา 320 บาท 2. มูลไก่ไข่ 50 กิโลกรัม ราคา 190 บาท 3. เชือ พด.-1 1 ซอง ขอรับจากกรมพัฒนาทีดิน เชือ พด.-1 คือ กลุ่มจุลินทรียทีมีความสามารถสูงในการย่อยสลาย ์ วัสดุเหลือใช้จากการเกษตร เพือใช้ผลิตปุยหมักในช่วงระยะเวลาอันสัน ประ ๋ กอกด้วย เชือแบคทีเรีย แอคติโน มัยซีส และเชือรา
  • 15. ขันตอนการทํา 1. นํารําละเอียดและมูลไก่ไข่มาผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน 2. เตรียมเชือจุลินทรีย์ โดยนําเชือ พด.-1 เทใส่ในนํา 20 ลิตร ใช้ไม้คนอย่าง สมําเสมอ เป็ นเวลา 15-20 นาที 3. เทเชือ พด.-1 ทีเตรียมไว้ลงไปทีกองรําและมูลไก่ไข่ทีผสมกันไว้แล้ว พร้อมทัง พรมนําเพือให้ความชืนกองปุย ใช้พลัวคลุกเคล้ากองปุยจนวัสดุต่างๆผสมกัน ๋ ๋ ดี และมีความชืนประมาณ 40 เปอร์เซ็นต์
  • 16. 4. ทดสอบความชืนในกอง โดยใช้มือกําวัสดุ แล้วคลายมือออก ก้อนวัสดุก็ยงไม่ั แตก จากนันใช้กระสอบป่ านคลุมกองไว้ 5. ให้กลับกองปุยทุกวัน เป็ นเวลา 7 วัน โดยทุกครังทีกลับกองแล้ว ให้คลุมกอง ๋ ปุยด้วยกระสอบป่ านไว้ เมือครบ 7 วันแล้ว ให้แผ่กองปุยออก ผึงในร่มจนแห้ง ๋ ๋ 6. หลังจากผึงในร่มจนแห้งแล้ว ควรเก็บใส่ถุงกระดาษหรือกระสอบทีมีการ ระบายอากาศได้
  • 17. หนีสินธนาคาร สาเหตุ สาเหตุส่วนใหญ่เป็ นเพราะมีตนทุนและค่าใช้จายในการผลิตสูง ้ ่ รองลงมาจากทางผลผลิตได้รบความเสียหายจากธรรมชาติ ผลผลิตตํา การ ั ผลิตเชิงเดียว การขาดช่องทางการจัดจําหน่ าย จากราคาผลผลิตตกตํา ด้าน การจัดการ ส่วนใหญ่เกิดจากการรวบรวมเงินไว้เพือจะชําระครังเดียว การ ไม่ได้ใช้เงินกูตามวัตถุประสงค์ทีขอกู ้ การขาดความรูและประสบการณ์ในการ ้ ้ ลงทุน การขาดแรงงานในครัวเรือน สาเหตุในครัวเรือน ส่วนใหญ่ เห็นว่าเกิด จากทางด้านค่าใช้จายในครัวเรือนสูง เช่น ค่ารักษาพยาบาล ค่าการศึกษา ่ บุตร การลงทุนในสินทรัพย์อืน เช่น ซือมอเตอร์ไซด์ รถยนต์ ซือทีดิน ซ่อม ปรับปรุงบ้านหรือโรงเรือน การนําเงินไปชําระหนี สินภายนอกก่อน และการ ใช้จายเบ็ดเตล็ด ่
  • 18. วิธีแก้ปัญหา 1. การทําบัญชีหนีสินและรายรับ-รายจ่าย การจดบันทึกการปฏิบติงานทุก ๆ ขันตอนทีได้ปฏิบติในการปลูกพืช จนถึงการ ั ั เก็บเกียวและการจําหน่ ายผลผลิต 1.1 จดบันทึกค่าใช้จายแต่ละครังในการปลูกใน 1 ฤดูกาล เช่น ่ 1) ค่าพันธุพืช ์ 2) ราคาปุย๋ 3) ยาปองกันกําจัดศัตรูพืช ้ 4) เครืองมือและอุปกรณ์ทีใช้ในการปลูกพืช 5) ค่าแรงงาน แล้วจดบันทึกค่าใช้จายรวมยอดไว้ ่
  • 19. 1.2 จดบันทึกผลผลิตทีได้ในการปลูกใน 1 ฤดูกาล เช่น 1) ผลผลิตจํานวนกีกิโลกรัมต่อเนื อที 1 แปลง 2) ในการนําไปจําหน่ ายได้กิโลกรัมละเท่าไร 3) ขายให้กบโรงงานอุตสาหกรรมและขายให้กบตลาดบริโภคสดในอัตราร้อย ั ั ละเท่าไร 1.3 นําเงินทุนและรายได้นําไปคํานวณหาผลกําไร การจดบันทึกการปฏิบติงานและการทําบัญชีรายรับ-รายจ่าย เป็ นการช่วย ั ความทรงจํา และถ้ามีการจดบันทึกกิจการต่าง ๆ อย่างมีระบบ การลงบัญชีที ดี มีความเข้าใจในการจดบันทึก และการสรุปข้อมูลให้เหมาะสมแล้ว สามารถ นําข้อมูลทีได้รบมาใช้ ั
  • 20. ตารางบัญชีรายรับรายจ่าย ปี การผลิต รายจ่าย รายรับ รายได้ 2553 ค่าปุยเคมี 4,300 บาท/ ไร่ ๋ ผลผลิต 1100 กก./ไร่ 27,500 บาท หลังหักต้นทุน 320,000 บาท ค่าสารเคมี ผลผลผลิตรวมทังหมด (20 ไร่) - การกําจัดวัชพืช 400 บาท/ ไร่ 2,200 กิโลกรัม 550,000 บาท - การกําจัดแมลงและศัตรูพืช 1,200 บาท/ไร่ ค่านํามันเชือเพลิง - การกําจัดแมลงศัตรูพืช 500 บาท/ไร่ ค่าไฟฟ้ า 1,000 บาท/ไร่ ค่าแรงงาน -ค่าดูแลรักษา 1,500 บาท/ไร่ -ค่าเก็บเกียว 2,400 บาท/ ไร่ ค่าซ่อมแซม อุปกรณ์การเกษตร 200 บาท/ ไร่ ต้นทุนรวม 11,500 บาท/ไร่ ต้นทุนรวม 20 ไร่ 230,000 บาท
  • 21. การเจรจาประนอมหนี และปรับโครงสร้างหนี ลูกหนีทีมีความตังใจในการชําระหนี แต่เนื องจากมีหนี สิน มากไม่สามารถจ่ายชําระหนี สินตามข้อตกลงเดิมได้ แต่ความสามารถ ในการจ่ายชําระหนี ยงมีอยู่ ไม่มีความคิดทีจะหนี หนี (ชักดาบ) ก็น่าจะ ั ลองเข้าไปพบเจ้าหนี แล้วลองขอเจรจาประนอมหนี กบเจ้าหนี อาจจะ ั เริมโดยการโทรศัพท์ไปสอบถามฝ่ ายเจ้าหนี ก่อน ว่าทางฝ่ ายเจ้าหนี มี นโยบายในการเจรจาประนอมหนี กบลูกหนี ทีมีภาระหนี สินมากแต่ยง ั ั มีความตังใจทีจะจ่ายชําระหนี ต่อไปหรือไม่ ส่วนมากเจ้าหนี มกจะั ยอมให้มีการเจรจาประนอมหนี กบลูกหนี เพราะยังไงเสียก็ดีกว่าปล่อย ั ให้กลายเป็ นหนี เสีย
  • 22. การเจรจาประนอมหนี เจ้าหนี จะหยุดหนี เดิมไว้แล้วจะทําสัญญาประนอมหนี ฉบับใหม่ขึนมาตามข้อสรุปทีได้จากการเจรจาประนอมหนี กบ ั ลูกหนี ทางฝ่ ายเจ้าหนี มกจะยกยอดหนี สินเดิมรวมดอกเบีย ั ค้างชําระ ค่าธรรมเนี ยมและดอกเบียทีคิดเพิมอีกเล็กน้อย ส่วนทางด้านลูกหนี ก็จะพยายามเจรจาต่อรองโดยขอให้เจ้าหนี หยุดคิดดอกเบีย ลดดอกเบียเก่าบางส่วน ยกเว้นค่าปรับและ ค่าธรรมเนี ยมต่าง ๆ เท่าทีจะขอได้ ส่วนข้อสรุปในการเจรจา ประนอมหนี จริง ๆ จะออกมาในรูปใดก็แล้วแต่ความสามารถ ในการเจรจาต่อรองของทังสองฝ่ าย
  • 23. ผลทีได้จากการเจรจาประนอมหนี มักจะออกมาในลักษณะทีลูกหนี ต้องผ่อนชําระเป็ นเวลาทีนานขึนแต่ยอดเงินทีต้องผ่อนชําระต่อเดือนจะลดลง นันคือภาระหนี สินต่อเดือนจะลดลงแต่กว่าจะผ่อนหมดต้องใช้ระยะเวลาที นานขึน ลูกหนี ตองลองคิดให้ละเอียดรอบคอบถึงข้อสรุปจากการเจรจา ้ ประนอมหนี วาเป็ นประโยชน์ต่อตัวลูกหนี มากน้อยแค่ไหนและจะสามารถยืน ่ ระยะในการจ่ายชําระหนี จนหมดได้หรือไม่ ถ้าจะเลือกทางเลือกในการเจรจา ประนอมหนี หลังจากทีลูกหนี ผ่อนชําระเจ้าหนี แล้วเงินทีเหลือในแต่ละเดือน จะเพียงพอกับค่ากินค่าอยูและค่าใช้จายต่าง ๆ ภายในครอบครัวทีต้อง ่ ่ รับผิดชอบหรือไม่ ถ้าไม่พอแล้วต้องไปก่อหนี สินใหม่เพิมอีกก็ไม่มีประโยชน์ที จะทําการเจรจาประนอมหนี เพราะปั ญหาหนี สินไม่ได้รบการแก้ไขให้จบแต่ ั กลับจะยิงหนักขึนอีก
  • 24. โรคและแมลง 1. หนอนชอนใบ
  • 28. คู่แข่งขันมากราย วิธีแก้ปัญหา จัดการท่องเทียวเชิงเกษตร พืชพรรณผลผลิตจากฟาร์มจากสวน เกษตรทังหลายนัน นับเป็ นความสําเร็จของเกษตรกรทีเฝ้ าบํารุงรักษาจนเก็บ ผลจําหน่ ายได้ แต่เป็ นความน่ าสนใจอยากรูอยากเห็นของนักท่องเทียวต่าง ้ บ้านต่างเมืองว่า เกษตรกรทังหลายทําได้อย่างไร มีกลวิธีเทคนิ คอะไรบ้าง อยากเข้าไปเทียวชมกันถึงสวน ถึงฟาร์ม ถึงแหล่ง เพือเกิดความรูใหม่เพิมขึน ้ ได้รบประสบการณ์ใหม่ ๆ จากทีไม่เคยรูมาก่อน ั ้
  • 29. แนวทางบริหารจัดการของเจ้าของสวน 1. เตรียมสถานทีเทียวชมควรเป็ นเส้นทางวงรอบ 2. หากมีมุมสาธิตได้ ควรจัดเจ้าหน้าทีเตรียมการสาธิตให้ชม 3. มัคคุเทศก์นําชมสวน สามารถอธิบายได้ดีเท่ากับหรือมากกว่า เจ้าของสวน
  • 30. 4. จัดมุมสถานทีพักผ่อน จัดมุมบริการอาหารและเครืองดืมจําหน่ าย นี จาหน่ ายผลิตภัณฑ์สินค้าของทีระลึกด้วย ทังของในสวนและของเพือน ํ บ้านใกล้เคียง รวมไปถึงบ้านพักและสถานทีตังค่ายพักแรม 5. จัดเตรียมอุปกรณ์ทีทิงขยะ แยกเปี ยกและแห้ง 6. มีบริการห้องสุขาทีสะอาด (อาจมีกล่องรับเงินบริการ เพือให้ผทีทําหน้าที ู้ ดูแล ได้รบผลประโยชน์) ั
  • 31. กิจกรรมในสวน 1. เข้าชมสวนมังคุด ตังแค้มป์ พักแรมไฟ กิจกรรมออกค่ายต่างๆ 2. อาหารและชิมผลไม้ได้ไม่อน โดยอยูในราคา 120 บาท ต่อคน ั ่ 3. การให้ความรูเ้ กียวกับการปลูก ดูแลรักษา การเก็บเกียวผลผลิต และการ สาธิตการทําปุยหมักจากธรรมชาติ เพียงท่านละ 100 บาท ๋ 4. การจําหน่ ายผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตร - มังคุดสด - ของทีระลึกต่างๆ - การแปรรูปมังคุด - การจําหน่ ายเมล็ดพันธุ์
  • 32. จะได้อะไรจากการเปิ ดสวนเป็ นแหล่งท่องเทียว - สามารถจําหน่ ายต้นอ่อนและเมล็ดพันธุ ์ - สามารถขายผลผลิตทีเก็บได้ส่งให้กบนักท่องเทียวโดยตรง ั - ผลผลิตทีจําหน่ ายสดไม่ทนแปรรูปเป็ นผลผลิตอีกรูปแบบหนึ ง ั - ทําให้เพือนบ้านสามารถขายสินค้า ทังจากสวนเกษตร และสินค้า จําพวกอาหาร เครืองดืมได้เพิมขึน
  • 33. พ่อค้าคนกลาง ปั ญหาเกียวกับการมีพอค้าคนกลาง ่ 1. พ่อค้าคนกลางมักจะมีฐานะการต่อรองราคาสูงกว่าเกษตรกรมากทํา ให้มีอานาจในการกดราคารับซือให้ตาลงได้งาย ํ ํ ่ 2. ความสามารถในการเก็งกําไร ในช่วงทีมีการคาดหมายว่าราคาสินค้า เกษตรชนิ ดใดจะมีราคาดีมาก ทําให้ตลาดเกิดความปั นป่ วน ไร้เสถียรภาพ 3. มักการกําหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรเอาเปรียบเกษตรกรมากและ สินค้าเกษตรทีรับซือจากเกษตรกรในแต่ละครังมักจะตังมาตรฐานและ คุณภาพในการรับซือทีไม่แน่ นอน 4. ดอกเบียเงินกูทีเกษตรกรจ่ายให้แก่ผรบซือพืชผลหรือพ่อค้าคนกลาง ้ ู้ ั มักจะสูงกว่าอัตราดอกเบียจากแหล่งเงินกูอืนๆ เช่น สหกรณ์การเกษตร ้ ธนาคารเพือการเกษตรและสหกรณ์ (ธกส.) หรือธนาคารพาณิชย์อืนๆ
  • 34. การรวมกลุ่มเกษตรกร เกษตรกรคนหนึ งจะเป็ น สมาชิกได้เพียง 1 กลุ่ม และ ในครอบครัวหนึ งเป็ นสมาชิกได้ 1 คน ในหนึ งตําบลจะจัดตังกลุ่มเกษตรกร ทีมีผประกอบอาชีพเกษตรกรรมประเภทเดียวกันได้เพียง 1 กลุ่ม ู้ ถ้ามีผประกอบอาชีพหลักหลายประเภท และมีเกษตรกรไม่น้อยกว่า 30 คน ู้ จะตังกลุ่มตามอาชีพหลักได้ประเภทละ 1 กลุ่ม เกษตรกรมีการทดลองรวมกลุ่มดําเนิ นงานในลักษณะคล้ายกลุ่มเกษตรกร เป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 6 เดือน
  • 35. สิงทีได้จากการรวมกลุ่ม เพิมอํานาจการต่อรองราคากับพ่อค้าคนกลาง เพือเรียนรูระบบบริหารจัดการธุรกิจได้ดวยตนเอง ้ ้ เพือให้สามารถพึงตัวเองได้ในอนาคตและลดขันตอนจาก นายทุนในชุมชน การแลกเปลียนความรูและประสบการณ์ รวมไปถึงการ ้ ช่วยกันยกระดับสินค้า