SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 66
Descargar para leer sin conexión
มนุษยกับความยั่งยืนของสิ่งแวดลอม
ซึ งในธรรมชาติทวไปจะมีค่า ดีโอ
                 ั
ประมาณ 5-7 mg/l ถ้าตํากว่า 3 mg/l ถือ
ว่าแหล่งนํานันเน่าเสี ย
คุณภาพนํา     ค่ า BOD 5 วัน
                   (มิลลิกรัม/ลิตร)
นําบริ สุทธิ               0
นําสะอาดมาก                1
นําสะอาด                   2
นําสะอาดพอประมาณ           3
นําไม่สะอาด                5
นําสกปรก                  10
มลสารทีปนเปื อนในอากาศ
    มลสารทีปนเปื อนในบรรยากาศมีทมาและแหล่ งกําเนิดหลายประเภท
                                ี
ด้ วยกัน ทีสําคัญได้ แก่
1. อนุภาคแขวนลอยในอากาศ            5. สารประกอบไฮโดรคาร์ บอน
2. คาร์ บอนมอนอกไซด์               6. ตะกัว
3. คาร์ บอนไดออกไซด์               7. ปรอท
4. ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์              8. แคดเมียม
   Link เว็บไซต์ทีน่าสนใจ
   กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม [www.mnre.go.th]
   กรมควบคุมมลพิษ [www.pcd.go.th]
   สํานักจัดการคุณภาพอากาศและเสี ยง [www.aqnis.pcd.go.th]
อนุภาคแขวนลอยในอากาศ

                                     มีทังทีอยู่ในรู ปของแข็ง เช่ น ฝุ่ นละออง
                                จากดิน ทราย ฝุ่ นละอองของเถ้ าถ่ าน เขม่ า
                                ควั น จากท่ อ ไปเสี ย รถยนต์ และอนุ ภ าคของ
 อนุภาคแขวนลอยในอากาศ           ของเหลวในรู ปละอองไอในอากาศ เช่ น ละออง
                                ของสารกําจัดศัตรู พืช ไอกรด หรื อละอองไอ
                                ของสารเคมีต่าง ๆ เป็ นต้ น อนุภาคแขวนลอย
                                ในอากาศเป็ น
                   โรคหอบหื ด    สาเหตุทีทําให้ เกิด โรคภูมิแพ้ โรคหอบ
                                 หื ด โรคทางเดินหายใจ โรคปอด
ภูมิแพ้จากอนุภาค
คาร์ บอนมอนอกไซด์


                               แหล่งเกิดคาร์บอนมอนอกไซด์

       คาร์ บอนมอนอกไซด์ เป็ นก๊ าซไม่ มีสี ไม่ มีร สไม่ มีก ลิน เบากว่ า
อากาศทัวไปเล็กน้ อย เมือหายใจเข้ าไป ก๊ าซทีจะรวมกับฮีโมโกลบิน ใน
เม็ดเลือดแดงได้ มากกว่ าออกซิเจนถึง 200-250 เท่ า

   เกิดจาก การเผาไหม้ ทไม่ สมบูรณ์ ของสารประกอบคาร์ บอน
                       ี
คาร์ บอนมอนอกไซด์
    อาการ
    เมือรับก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์เข้าไปมาก
    ปวดศีรษะ สายตาพร่ ามัว ความจําเสื อม
    หายใจเร็ ว เจ็บหน้าอก ถ้าได้รับในปริ มาณ
    มากทําให้หมดสติ ถ้าร้อยละของคาร์บอกซี
    ฮีโมโกลบินอิมตัวในเลือด 60-70 ทําให้
    ตายหากไม่ได้รับการรักษาทันที


                  การเป็ นลมเนื องจาก
                  รับคาร์ บอนมอนอกไซด์มาก
คาร์ บอนไดออกไซด์




เกิ ด จากการเผาไหม้ ที ไม่ ส มบู ร ณ์ ข องธาตุ
 คาร์บอน หรื อสารอินทรี ย ์ การเผาไหม้เชือเพลิง
 จากยานพาหนะ การเผาขยะ การเผาป่ า
คาร์ บอนไดออกไซด์


อาการเมื อคนสู ด ดมเข้า ไปอาจทํา ให้เกิ ด
 อาการมึนงง ปวดศีรษะ คลืนไส้ ตาลาย

เป็ นสาเหตุ สํ า คั ญ ของปรากฏการณ์
เรื อนกระจก จนเกิดภาวะโลกร้อน
ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์

เกิดจากการเผาไหม้เชือเพลิงทีมีธาตุ
  กํา มะถัน ผสมอยู่ ได้แ ก่ ถ่ า นหิ น
  ลิ ก ไนต์ นํ ามั น ดี เ ซล นํ ามั น เตา
  นํามันปิ โตรเลียม ฟื น ถ่านไม้ การ
  ถลุงแร่ ทําให้กามะถันทีเจือปน อยู่
                   ํ
  ในสิ น แร่ รั วไหลออกมาระหว่า ง
  กระบวนการถลุง
ลักษณะไม่มีสี แต่มีกลินฉุน

                                            ถลุงแร่ สาเหตุซลเฟอร์ไดออกไซด์
                                                           ั
ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์


ผลกระทบ ทําให้เกิดฝนกรด มีฤทธิ ในการกัดกร่ อน ทําให้พืชมีใบสี
 เหลื องไม่สามารถสังเคราะห์ แสงได้ ในสัตว์จะมี การระคายเคือง
 บริ เวณผิว หนัง นัยน์ ตา และระบบทางเดิ นหายใจ หากได้รับใน
 ปริ มาณมากๆ อาจทําให้ปอดอักเสบ หลอดลมตีบตันจนอาจหายใจ
 ไม่ออก หรื ออาจถึงขันเป็ นมะเร็ งปอด และอาจทําให้เสี ยชีวตได้
                                                          ิ
ฝนกรด (acid rain)

                     การผุกร่ อนจากฝนกรด

    ฝนกรด (acid rain) หมายถึ ง ฝนที มี ส ภาพเป็ นกรดมากกว่า ธรรมดา
ทังนี เนื อจากฝนกรดมีกรดกํามะถัน และกรดไนทริ กรวมอยู่ดวย กรดดังกล่าว
                                                           ้
เกิดจากออก ไซด์ของกํามะถัน และออกไซด์ของไนโตรเจนทีมีการสะสมอยู่
ในบรรยากาศเป็ นจํานวนมาก จึงจัดเป็ นการตกสะสมของกรดในสภาพเปี ยก
(wet deposition) ในประเทศในเขตหนาว และเขตอบอุ่นจะพบการสะสมของ
SO2 และ NO2 ในหิ มะ หมอก นําค้างแข็ง โดยอยู่ในรู ปของแก๊ส หรื ออนุ ภาค
ขนาดเล็กทีแห้ง จึงจัดเป็ นการสะสมของกรดในสภาพทีแห้ง (dry deposition)
การตกสะสมของกรด ในสภาพเปี ยกและแห้งจะลงสู่ แหล่งนําและดิน ทําให้นา   ํ
และดินมีสภาพเป็ นกรด ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ งมีชีวตทีอาศัย
                                                  ิ
สารประกอบไฮโดรคาร์ บอน
เกิ ด จาก จากการเผาไหม้ข องนํามัน เชื อเพลิ ง การเผาไหม้ถ่ า น
 หิ น การระเหยของนํามัน ปิ โตรเลี ย ม การระเหยของนํ ามัน
 เชือเพลิงทีเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ออกมาทางท่อไปเสี ยและเกิดขึนตาม
 ธร ร ม ชาติ เ ช่ น แก๊ สมี เ ท น เ กิ ด จ ากการเ น่ าเ ปื อ ย ข อ ง
 สารอินทรี ย ์ ซากพืช ซากสัตว์ และพบได้ในแก๊สธรรมชาติทีเป็ น
 เชือเพลิง




                        ต้นเหตุสารไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์ บอน
อาการ สูดสารพิษชนิดนีเข้าไป ทําให้มีอาการวิงเวียน
 ศีรษะ เป็ นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ เป็ นมะเร็ งปอด




           ต้นเหตุสารไฮโดรคาร์บอน
ตะกัว ( lead )

                                       ่
ลักษณะ เป็ นโลหะสี เทาเงิน สารตะกัวอยูในรู ปสารประกอบ
  อนิน- ทรี ย ์ เช่น ไนเตรตคลอเรต ซึงเป็ นสารเติมผสมในนํามัน
  เบนซิน
เกิด จาก ขึ นเองตามธรรมชาติ ใ นเปลื อ กโลก เมื อนํามัน เผาไหม้ใ น
  รถยนต์ สารตะกัวจะออกมากับไอเสี ย สามารถแพร่ กระจายไปได้ไกล
                             ่
  หลายกิโลเมตร ปนเปื อนอยูในอากาศ
ตะกัว ( lead )

อาการ เมือสู ดดมเข้ าไปจะสะสมอยู่ในปอดและกระแสเลือด
ทําลายระบบประสาท มีพิษต่ อระบบทางเดินอาหาร ทําให้
การย่ อยอาหารผิดปกติ เบืออาหาร ปวดท้ องรุ นแรง ทําลาย
การทํางานของไขกระดูกทําให้ เม็ดเลือดแดงอายุสัน เป็ นโรค
โลหิ ต จาง นอกจากนี ยั ง เป็ นสาเหตุ ทํ า ให้ เ กิ ด โรคมะเร็ ง
ปอด โรคหัวใจ โรคหอบหืดอีกด้ วย
ปรอท ( mercury )

     ปรอทเป็ นโลหะทีมีคุ ณ สมบั ติเ ด่ น คือ
     เป็ นของเหลว ไม่ เกาะข้ างแก้ วจึ ง
     นํา มาใช้ ป ระโยชน์ ใ นการทํา เครื องมือ
     และอุ ป กรณ์ ทางวิ ท ยาศาสตร์ เช่ น
     เทอร์ โมมิเตอร์ บารอมิเตอร์ นอกจากนี
     ยังมีประโยชน์ ในการทําอุปกรณ์ ไฟฟา              ้
     หลอดไฟฟ า ยารั ก ษาโรค สารกํ า จั ด
                    ้
     ศั ต รู พืช สี วัต ถุ ร ะเบิ ด อุ ป กรณ์ ทีใช้ ใ น
     การถ่ ายภาพและใช้ ในด้ านทันตกรรม
ปรอท ( mercury )
      พิษเมือสู ดหายใจเข้ า ไป จะเกิดอาการ ปอด
       อัก เสบ ทํ า ลายตั บ ไต และระบบประสาท
       ส่ วนกลาง ได้ แก่ สมอง ไอปรอททีปนเปื อน
       อยู่ในอากาศ เมือเข้ าไปพร้ อมกับลมหายใจ
       จะเกิดอาการหนาวสัน
       ค่ า มาตรฐานความปลอดภั ย กํ า หนดให้
       ตลอดระยะเวลาการทํ า งานตามปกติ ข อง
       ลู ก จ้ า ง (8 ชั วโมง/วั น ) ให้ มี ส ารปรอทใน
       บรรยากาศการทํ า งานได้ ไม่ เกิ น 0.05
       มิลลิกรัมต่ อลูกบาศก์ เมตรของอากาศ
การป้ องกันการใช้ สารปรอท
- ติดตังเครื องดูดอากาศเฉพาะทีบริ เวณทีใช้ปรอท
- ในการใช้สารปรอท ควรใช้ปริ มาณน้อยให้มีพนผิวสัมผัสอาการน้อยทีสุ ด
                                               ื
  และหลีกเลียงการใช้อุณหภูมิสูง เพราะจะทําให้มีไอปรอทเพิมขึน
- พืนผนังห้องทีมีการเก็บการใช้สารปรอท จะต้องไม่มีรอย พืนผนังควรเป็ นผนัง
  ควรเป็ นพืน กระเบือง หรื อซีเมนต์ทีเคลือบผิวเรี ยบ
- ตรวจวัดปริ มาณสารปรอทในบรรยากาศการทํางานอย่างสมําเสมอ
   เพือป้ องกันไม่ให้มีปริ มาณเกินค่ามาตรฐานความปลอดภัย
โรคมินามาตะ (minamata)
                   สาเหตุ มาจากพิษของปรอท
                    อาการ ป่ วยเริ มด้วยมือและหน้าเกิ ดอาการบวม และเจ็บปวด
                     สายตามักพร่ าเดินเซ พูดไม่ชด มีอาการเจ็บชา อัมพาต ปวด
                                                 ั
                     ศีรษะ อ่อนเพลีย ความจําเสื อม บางคนเกิดอาการเสี ยสติ




(ทีมารู ป : http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=3&ID=10 )
แคดเมียม ( cadmium )

   แคดเมียม เป็ นโลหะหนักทีเกิ ด
   จากอุตสาหกรรม ทํายางรถยนต์
   พลาสติก สี แบตเตอรี ฟิ วส์ หรื อ
   การหลอม พ่ น และฉาบโลหะ
   ต่า งๆ แคดเมี ย มที พบในอากาศ
   จะอยู่ใ นรู ป ของฝุ่ นหรื อ ไอจาก
   ยานพาหนะ
แคดเมียม ( cadmium )
      การสะสมแคดเมียมในร่ างกาย ปริ มาณสู งจะ
      ทําให้คนหรื อสัตว์ เป็ นหมัน หรื อมะเร็ งต่อม
      ลูกหมากและมะเร็ งกระเพาะปั สสาวะได้ ทํา
      ให้ความดันโลหิ ตสู ง ก่อความเสี ยหายต่อไต
      และตับ เมือสู ดหายใจเข้าไปทําให้เกิ ดปอด
      อักเสบ มาตรฐานความปลอดภัย กําหนดไว้
      ว่ า ไม่ ค วรมี แ คดเมี ย มเจื อ ปนอยู่ เ กิ น กว่ า
      10 ไมโครกรัมต่อลิตร
โรคอิไต - อิไต (itai – itai)

สาเหตุ มาจากพิษของแคดเมียม
อาการผิดปกติ เช่น สายตาผิดปกติ ปวดกระดู ก
น่อง กระดูกซี โครงและสันหลัง กรวยไตผิดปกติ
ท่อไตไม่ทางาน มี โปรตี นในปั สสาวะ เป็ นโรค
          ํ
กระดูกอ่อน มีอาการเหมือนคนกระดูกหัก
• วนอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย คือ
  วนอุทยานนําตกกระเปาะ จังหวัดชุมพร ประกาศจัดตัง
  เมือปี พ.ศ.2501
นําตกกะเปาะ
5.3 สวนพฤกษศาสตร์ (Botanical Garden) หมายถึงสถานทีทีราชการได้
รวบรวมพันธุ์ไม้ไว้ทุกชนิดทังในและนอกประเทศ ทีมีคุณค่าทางด้านเศรษฐกิจ
ทางด้านความสวยงาม และทีหายากมาปลูกไว้โดยแยกเป็ นหมวดหมู่ และตระกูล
เพือการศึกษาวิจยและการเผยแพร่ การขยายพันธุ์ ให้เป็ นประโยชน์แก่ประชาชนและแก่
               ั
ประเทศชาติสืบไป สวนพฤกษศาสตร์ ทีสําคัญและคนทัวไปรู ้จกเป็ นอย่างดี คือ
                                                         ั
สวนพฤกษศาสตร์พแค จังหวัดสระบุรี สวนพฤกษศาสตร์เขาช่อง จังหวัดตรัง เป็ นต้น
                   ุ
5.6 พืนทีอนุรักษ์ ธรรมชาติ (Natural Conservation Area)
หมายถึงพืนทีธรรมชาติทีประกอบด้วย เกาะ แก่ง ภูเขา หนอง บึง
ทะเลสาบ ชายหาด ซากดึกดําบรรพ์ และธรณี สัณฐานทีควรค่าแก่การ
อนุรักษ์เพือประโยชน์ต่อสังคมและเศรษฐกิจ ซึงประกาศตามมติ ค.ร.ม.
พ.ศ.2532
            5.7 พืนทีสงวนชีวาลัย (Biosphere Reserve) หมายถึง พืนที
 อนุรักษ์สงคมพืชและสัตว์ในสภาวะของระบบนิเวศทีเป็ นธรรมชาติ เพือ
          ั
 รักษาความหลากหลายทาง พันธุกรรมและเพือใช้เป็ นแหล่งศึกษาวิจย     ั
 ทางด้านวิทยาศาสตร์ เช่น ป่ าสะแกราช อําเภอนําเขียว จังหวัดราชสี มา
แรดชวา            เก้งหม้อ           นกเจ้าฟ้ าหญิงสิรินธร
           กระซู่




ละมัง
                                          กวางผา                                         เลียงผา
                         นกกระเรี ยน
พะยูนหรื อหมูนา
              ํ                                          กูปรี หรื อโคไพร
                    นกแต้วแล้วท้องดํา


 สมเสร็จ
                                                                                         สมัน



                             แมวลายหิ นอ่อน                 ควายป่ า
http://chm-thai.onep.go.th/webalien/species.html
ทรัพยากรธรรมชาติ

Más contenido relacionado

Similar a ทรัพยากรธรรมชาติ

โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม Aungkana Na Na
 
ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ fainaja
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2fainaja
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2fainaja
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)Aungkana Na Na
 
ฝนกรด
ฝนกรดฝนกรด
ฝนกรดdnavaroj
 
รูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซนรูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซนdnavaroj
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกdnavaroj
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อนsudsanguan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2Thitiporn Klainil
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2klainil
 
มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..Kyjung Seekwang
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์oraneehussem
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชdnavaroj
 
การลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนการลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนjzuzu2536
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมpatcharapun boonyuen
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมSutisa Tantikulwijit
 

Similar a ทรัพยากรธรรมชาติ (20)

โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม
 
ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
 
ฝนกรด
ฝนกรดฝนกรด
ฝนกรด
 
รูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซนรูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซน
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อน
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
ภาวะเรือนกระจก
ภาวะเรือนกระจกภาวะเรือนกระจก
ภาวะเรือนกระจก
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
การลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนการลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อน
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียม
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียม
 

Más de Oui Nuchanart

การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...Oui Nuchanart
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64Oui Nuchanart
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60Oui Nuchanart
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสOui Nuchanart
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าOui Nuchanart
 

Más de Oui Nuchanart (20)

การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
 
Plant oui
Plant ouiPlant oui
Plant oui
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
Monera oui
Monera ouiMonera oui
Monera oui
 
Fungi oui
Fungi ouiFungi oui
Fungi oui
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
Stem oui
Stem ouiStem oui
Stem oui
 
Root oui
Root ouiRoot oui
Root oui
 
Leaf oui
Leaf ouiLeaf oui
Leaf oui
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้า
 
Cam
CamCam
Cam
 
C4
C4C4
C4
 
C3
C3C3
C3
 
Photosyntasis oui
Photosyntasis ouiPhotosyntasis oui
Photosyntasis oui
 
Gene
GeneGene
Gene
 
วิจัย59
วิจัย59วิจัย59
วิจัย59
 

ทรัพยากรธรรมชาติ

  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13. ซึ งในธรรมชาติทวไปจะมีค่า ดีโอ ั ประมาณ 5-7 mg/l ถ้าตํากว่า 3 mg/l ถือ ว่าแหล่งนํานันเน่าเสี ย
  • 14.
  • 15. คุณภาพนํา ค่ า BOD 5 วัน (มิลลิกรัม/ลิตร) นําบริ สุทธิ 0 นําสะอาดมาก 1 นําสะอาด 2 นําสะอาดพอประมาณ 3 นําไม่สะอาด 5 นําสกปรก 10
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26. มลสารทีปนเปื อนในอากาศ มลสารทีปนเปื อนในบรรยากาศมีทมาและแหล่ งกําเนิดหลายประเภท ี ด้ วยกัน ทีสําคัญได้ แก่ 1. อนุภาคแขวนลอยในอากาศ 5. สารประกอบไฮโดรคาร์ บอน 2. คาร์ บอนมอนอกไซด์ 6. ตะกัว 3. คาร์ บอนไดออกไซด์ 7. ปรอท 4. ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ 8. แคดเมียม Link เว็บไซต์ทีน่าสนใจ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม [www.mnre.go.th] กรมควบคุมมลพิษ [www.pcd.go.th] สํานักจัดการคุณภาพอากาศและเสี ยง [www.aqnis.pcd.go.th]
  • 27. อนุภาคแขวนลอยในอากาศ มีทังทีอยู่ในรู ปของแข็ง เช่ น ฝุ่ นละออง จากดิน ทราย ฝุ่ นละอองของเถ้ าถ่ าน เขม่ า ควั น จากท่ อ ไปเสี ย รถยนต์ และอนุ ภ าคของ อนุภาคแขวนลอยในอากาศ ของเหลวในรู ปละอองไอในอากาศ เช่ น ละออง ของสารกําจัดศัตรู พืช ไอกรด หรื อละอองไอ ของสารเคมีต่าง ๆ เป็ นต้ น อนุภาคแขวนลอย ในอากาศเป็ น โรคหอบหื ด สาเหตุทีทําให้ เกิด โรคภูมิแพ้ โรคหอบ หื ด โรคทางเดินหายใจ โรคปอด ภูมิแพ้จากอนุภาค
  • 28. คาร์ บอนมอนอกไซด์ แหล่งเกิดคาร์บอนมอนอกไซด์ คาร์ บอนมอนอกไซด์ เป็ นก๊ าซไม่ มีสี ไม่ มีร สไม่ มีก ลิน เบากว่ า อากาศทัวไปเล็กน้ อย เมือหายใจเข้ าไป ก๊ าซทีจะรวมกับฮีโมโกลบิน ใน เม็ดเลือดแดงได้ มากกว่ าออกซิเจนถึง 200-250 เท่ า เกิดจาก การเผาไหม้ ทไม่ สมบูรณ์ ของสารประกอบคาร์ บอน ี
  • 29. คาร์ บอนมอนอกไซด์ อาการ เมือรับก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์เข้าไปมาก ปวดศีรษะ สายตาพร่ ามัว ความจําเสื อม หายใจเร็ ว เจ็บหน้าอก ถ้าได้รับในปริ มาณ มากทําให้หมดสติ ถ้าร้อยละของคาร์บอกซี ฮีโมโกลบินอิมตัวในเลือด 60-70 ทําให้ ตายหากไม่ได้รับการรักษาทันที การเป็ นลมเนื องจาก รับคาร์ บอนมอนอกไซด์มาก
  • 30. คาร์ บอนไดออกไซด์ เกิ ด จากการเผาไหม้ ที ไม่ ส มบู ร ณ์ ข องธาตุ คาร์บอน หรื อสารอินทรี ย ์ การเผาไหม้เชือเพลิง จากยานพาหนะ การเผาขยะ การเผาป่ า
  • 31. คาร์ บอนไดออกไซด์ อาการเมื อคนสู ด ดมเข้า ไปอาจทํา ให้เกิ ด อาการมึนงง ปวดศีรษะ คลืนไส้ ตาลาย เป็ นสาเหตุ สํ า คั ญ ของปรากฏการณ์ เรื อนกระจก จนเกิดภาวะโลกร้อน
  • 32. ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ เกิดจากการเผาไหม้เชือเพลิงทีมีธาตุ กํา มะถัน ผสมอยู่ ได้แ ก่ ถ่ า นหิ น ลิ ก ไนต์ นํ ามั น ดี เ ซล นํ ามั น เตา นํามันปิ โตรเลียม ฟื น ถ่านไม้ การ ถลุงแร่ ทําให้กามะถันทีเจือปน อยู่ ํ ในสิ น แร่ รั วไหลออกมาระหว่า ง กระบวนการถลุง ลักษณะไม่มีสี แต่มีกลินฉุน ถลุงแร่ สาเหตุซลเฟอร์ไดออกไซด์ ั
  • 33. ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ ผลกระทบ ทําให้เกิดฝนกรด มีฤทธิ ในการกัดกร่ อน ทําให้พืชมีใบสี เหลื องไม่สามารถสังเคราะห์ แสงได้ ในสัตว์จะมี การระคายเคือง บริ เวณผิว หนัง นัยน์ ตา และระบบทางเดิ นหายใจ หากได้รับใน ปริ มาณมากๆ อาจทําให้ปอดอักเสบ หลอดลมตีบตันจนอาจหายใจ ไม่ออก หรื ออาจถึงขันเป็ นมะเร็ งปอด และอาจทําให้เสี ยชีวตได้ ิ
  • 34. ฝนกรด (acid rain) การผุกร่ อนจากฝนกรด ฝนกรด (acid rain) หมายถึ ง ฝนที มี ส ภาพเป็ นกรดมากกว่า ธรรมดา ทังนี เนื อจากฝนกรดมีกรดกํามะถัน และกรดไนทริ กรวมอยู่ดวย กรดดังกล่าว ้ เกิดจากออก ไซด์ของกํามะถัน และออกไซด์ของไนโตรเจนทีมีการสะสมอยู่ ในบรรยากาศเป็ นจํานวนมาก จึงจัดเป็ นการตกสะสมของกรดในสภาพเปี ยก (wet deposition) ในประเทศในเขตหนาว และเขตอบอุ่นจะพบการสะสมของ SO2 และ NO2 ในหิ มะ หมอก นําค้างแข็ง โดยอยู่ในรู ปของแก๊ส หรื ออนุ ภาค ขนาดเล็กทีแห้ง จึงจัดเป็ นการสะสมของกรดในสภาพทีแห้ง (dry deposition) การตกสะสมของกรด ในสภาพเปี ยกและแห้งจะลงสู่ แหล่งนําและดิน ทําให้นา ํ และดินมีสภาพเป็ นกรด ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ งมีชีวตทีอาศัย ิ
  • 35. สารประกอบไฮโดรคาร์ บอน เกิ ด จาก จากการเผาไหม้ข องนํามัน เชื อเพลิ ง การเผาไหม้ถ่ า น หิ น การระเหยของนํามัน ปิ โตรเลี ย ม การระเหยของนํ ามัน เชือเพลิงทีเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ออกมาทางท่อไปเสี ยและเกิดขึนตาม ธร ร ม ชาติ เ ช่ น แก๊ สมี เ ท น เ กิ ด จ ากการเ น่ าเ ปื อ ย ข อ ง สารอินทรี ย ์ ซากพืช ซากสัตว์ และพบได้ในแก๊สธรรมชาติทีเป็ น เชือเพลิง ต้นเหตุสารไฮโดรคาร์บอน
  • 36. สารประกอบไฮโดรคาร์ บอน อาการ สูดสารพิษชนิดนีเข้าไป ทําให้มีอาการวิงเวียน ศีรษะ เป็ นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ เป็ นมะเร็ งปอด ต้นเหตุสารไฮโดรคาร์บอน
  • 37. ตะกัว ( lead ) ่ ลักษณะ เป็ นโลหะสี เทาเงิน สารตะกัวอยูในรู ปสารประกอบ อนิน- ทรี ย ์ เช่น ไนเตรตคลอเรต ซึงเป็ นสารเติมผสมในนํามัน เบนซิน เกิด จาก ขึ นเองตามธรรมชาติ ใ นเปลื อ กโลก เมื อนํามัน เผาไหม้ใ น รถยนต์ สารตะกัวจะออกมากับไอเสี ย สามารถแพร่ กระจายไปได้ไกล ่ หลายกิโลเมตร ปนเปื อนอยูในอากาศ
  • 38. ตะกัว ( lead ) อาการ เมือสู ดดมเข้ าไปจะสะสมอยู่ในปอดและกระแสเลือด ทําลายระบบประสาท มีพิษต่ อระบบทางเดินอาหาร ทําให้ การย่ อยอาหารผิดปกติ เบืออาหาร ปวดท้ องรุ นแรง ทําลาย การทํางานของไขกระดูกทําให้ เม็ดเลือดแดงอายุสัน เป็ นโรค โลหิ ต จาง นอกจากนี ยั ง เป็ นสาเหตุ ทํ า ให้ เ กิ ด โรคมะเร็ ง ปอด โรคหัวใจ โรคหอบหืดอีกด้ วย
  • 39. ปรอท ( mercury ) ปรอทเป็ นโลหะทีมีคุ ณ สมบั ติเ ด่ น คือ เป็ นของเหลว ไม่ เกาะข้ างแก้ วจึ ง นํา มาใช้ ป ระโยชน์ ใ นการทํา เครื องมือ และอุ ป กรณ์ ทางวิ ท ยาศาสตร์ เช่ น เทอร์ โมมิเตอร์ บารอมิเตอร์ นอกจากนี ยังมีประโยชน์ ในการทําอุปกรณ์ ไฟฟา ้ หลอดไฟฟ า ยารั ก ษาโรค สารกํ า จั ด ้ ศั ต รู พืช สี วัต ถุ ร ะเบิ ด อุ ป กรณ์ ทีใช้ ใ น การถ่ ายภาพและใช้ ในด้ านทันตกรรม
  • 40. ปรอท ( mercury ) พิษเมือสู ดหายใจเข้ า ไป จะเกิดอาการ ปอด อัก เสบ ทํ า ลายตั บ ไต และระบบประสาท ส่ วนกลาง ได้ แก่ สมอง ไอปรอททีปนเปื อน อยู่ในอากาศ เมือเข้ าไปพร้ อมกับลมหายใจ จะเกิดอาการหนาวสัน ค่ า มาตรฐานความปลอดภั ย กํ า หนดให้ ตลอดระยะเวลาการทํ า งานตามปกติ ข อง ลู ก จ้ า ง (8 ชั วโมง/วั น ) ให้ มี ส ารปรอทใน บรรยากาศการทํ า งานได้ ไม่ เกิ น 0.05 มิลลิกรัมต่ อลูกบาศก์ เมตรของอากาศ
  • 41. การป้ องกันการใช้ สารปรอท - ติดตังเครื องดูดอากาศเฉพาะทีบริ เวณทีใช้ปรอท - ในการใช้สารปรอท ควรใช้ปริ มาณน้อยให้มีพนผิวสัมผัสอาการน้อยทีสุ ด ื และหลีกเลียงการใช้อุณหภูมิสูง เพราะจะทําให้มีไอปรอทเพิมขึน - พืนผนังห้องทีมีการเก็บการใช้สารปรอท จะต้องไม่มีรอย พืนผนังควรเป็ นผนัง ควรเป็ นพืน กระเบือง หรื อซีเมนต์ทีเคลือบผิวเรี ยบ - ตรวจวัดปริ มาณสารปรอทในบรรยากาศการทํางานอย่างสมําเสมอ เพือป้ องกันไม่ให้มีปริ มาณเกินค่ามาตรฐานความปลอดภัย
  • 42. โรคมินามาตะ (minamata) สาเหตุ มาจากพิษของปรอท อาการ ป่ วยเริ มด้วยมือและหน้าเกิ ดอาการบวม และเจ็บปวด สายตามักพร่ าเดินเซ พูดไม่ชด มีอาการเจ็บชา อัมพาต ปวด ั ศีรษะ อ่อนเพลีย ความจําเสื อม บางคนเกิดอาการเสี ยสติ (ทีมารู ป : http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=3&ID=10 )
  • 43. แคดเมียม ( cadmium ) แคดเมียม เป็ นโลหะหนักทีเกิ ด จากอุตสาหกรรม ทํายางรถยนต์ พลาสติก สี แบตเตอรี ฟิ วส์ หรื อ การหลอม พ่ น และฉาบโลหะ ต่า งๆ แคดเมี ย มที พบในอากาศ จะอยู่ใ นรู ป ของฝุ่ นหรื อ ไอจาก ยานพาหนะ
  • 44. แคดเมียม ( cadmium ) การสะสมแคดเมียมในร่ างกาย ปริ มาณสู งจะ ทําให้คนหรื อสัตว์ เป็ นหมัน หรื อมะเร็ งต่อม ลูกหมากและมะเร็ งกระเพาะปั สสาวะได้ ทํา ให้ความดันโลหิ ตสู ง ก่อความเสี ยหายต่อไต และตับ เมือสู ดหายใจเข้าไปทําให้เกิ ดปอด อักเสบ มาตรฐานความปลอดภัย กําหนดไว้ ว่ า ไม่ ค วรมี แ คดเมี ย มเจื อ ปนอยู่ เ กิ น กว่ า 10 ไมโครกรัมต่อลิตร
  • 45. โรคอิไต - อิไต (itai – itai) สาเหตุ มาจากพิษของแคดเมียม อาการผิดปกติ เช่น สายตาผิดปกติ ปวดกระดู ก น่อง กระดูกซี โครงและสันหลัง กรวยไตผิดปกติ ท่อไตไม่ทางาน มี โปรตี นในปั สสาวะ เป็ นโรค ํ กระดูกอ่อน มีอาการเหมือนคนกระดูกหัก
  • 46.
  • 47.
  • 48.
  • 49.
  • 50.
  • 51.
  • 52.
  • 53. • วนอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย คือ วนอุทยานนําตกกระเปาะ จังหวัดชุมพร ประกาศจัดตัง เมือปี พ.ศ.2501
  • 55. 5.3 สวนพฤกษศาสตร์ (Botanical Garden) หมายถึงสถานทีทีราชการได้ รวบรวมพันธุ์ไม้ไว้ทุกชนิดทังในและนอกประเทศ ทีมีคุณค่าทางด้านเศรษฐกิจ ทางด้านความสวยงาม และทีหายากมาปลูกไว้โดยแยกเป็ นหมวดหมู่ และตระกูล เพือการศึกษาวิจยและการเผยแพร่ การขยายพันธุ์ ให้เป็ นประโยชน์แก่ประชาชนและแก่ ั ประเทศชาติสืบไป สวนพฤกษศาสตร์ ทีสําคัญและคนทัวไปรู ้จกเป็ นอย่างดี คือ ั สวนพฤกษศาสตร์พแค จังหวัดสระบุรี สวนพฤกษศาสตร์เขาช่อง จังหวัดตรัง เป็ นต้น ุ
  • 56.
  • 57.
  • 58. 5.6 พืนทีอนุรักษ์ ธรรมชาติ (Natural Conservation Area) หมายถึงพืนทีธรรมชาติทีประกอบด้วย เกาะ แก่ง ภูเขา หนอง บึง ทะเลสาบ ชายหาด ซากดึกดําบรรพ์ และธรณี สัณฐานทีควรค่าแก่การ อนุรักษ์เพือประโยชน์ต่อสังคมและเศรษฐกิจ ซึงประกาศตามมติ ค.ร.ม. พ.ศ.2532 5.7 พืนทีสงวนชีวาลัย (Biosphere Reserve) หมายถึง พืนที อนุรักษ์สงคมพืชและสัตว์ในสภาวะของระบบนิเวศทีเป็ นธรรมชาติ เพือ ั รักษาความหลากหลายทาง พันธุกรรมและเพือใช้เป็ นแหล่งศึกษาวิจย ั ทางด้านวิทยาศาสตร์ เช่น ป่ าสะแกราช อําเภอนําเขียว จังหวัดราชสี มา
  • 59.
  • 60.
  • 61. แรดชวา เก้งหม้อ นกเจ้าฟ้ าหญิงสิรินธร กระซู่ ละมัง กวางผา เลียงผา นกกระเรี ยน พะยูนหรื อหมูนา ํ กูปรี หรื อโคไพร นกแต้วแล้วท้องดํา สมเสร็จ สมัน แมวลายหิ นอ่อน ควายป่ า
  • 62.
  • 63.
  • 64.