SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 59
การใช้ประโยชน์
ใบมะกรูดที่ใช้ปรุงอาหารในอินโดนีเซีย ลาว กัมพูชาและไทย การใช้มะกรูดสระผม
น่าจะรู้จักกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ วิธีการสระ บ้างก็ใช้ผลดิบผ่าแล้วบีบน้าสระโดยตรง
บ้างก็นาไปเผา หรือต้มก่อนสระ มะกรูดยังมีใช้ในพระราชพิธีสาคัญ เช่น พระราชพิธี
โสกันต์ ซึ่งระบุไว้ในพระราชพิธีสิบสองเดือนไว้ ว่าจะต้องมีผลมะกรูดและใบส้มป่อย
ประกอบในพิธีด้วย เข้าใจว่าน่าจะใช้เพื่อการสระผมนั่นเอง และก็สามารถนาไปล้างพื้น
ได้ด้วย ซึ่งเป็นสมุนไพรชนิดหนึ่งเช่นกัน น้ามะกรูดมีรสเปรี้ยว กลิ่นฉุนคล้ายใบ แต่ใช้
น้อยกว่าน้ามะนาว มะกรูดมีส่วนเปลือกที่หนา ส่วนเปลือกนิยมนาผิวมาประกอบ
อาหารบางชนิดด้วย มีอาหารบางชนิดที่นิยมใช้น้ามะกรูดเช่นกัน ในมะกรูดมีน้ามัน
หอมระเหยอยู่มาก มีกลิ่นฉุน ทั้งในใบ และผล บางครั้งสามารถนาไปใช้ไล่แมลงบาง
ชนิดได้
สรรพคุณ
- ใช้เป็นยาหรือส่วนผสมของยาต่าง ๆ คือ น้าในผลแก้อาการท้องอืด ช่วยให้เจริญ
อาหาร น้ามะกรูดใช้ดองยา เพื่อใช้ฟอกเลือด และบารุงโลหิตสตรี เนื้อของผลใช้เป็นยา
แก้อาการปวดศีรษะ ใบมะกรูดใช้เป็นยาขับลมในลาไส้ แก้จุกเสียด ผลมะกรูดที่คว้าไส้
ออกนามหาหิงส์ใส่แทนใช้เป็นยาขับลมแก้ปวดท้องในเด็กอ่อน
- ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องหอมและเครื่องสาอางค์ต่าง ๆ
- กรด Citric ช่วยขจัดคราบสบู่ (ด่าง) ที่หลงเหลืออยู่ ทาให้ผมหวีง่าย น้ามันจากผิว
มะกรูดช่วยให้ผมดกเป็นเงางาม
- ใช้ปรุงแต่งกลิ่นรสอาหาร ในดับกลิ่นคาวของอาหาร ใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องแกง
ต่าง ๆ (รุ่งรัตน์, 2535)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
กล้วยน้าว้า เป็นกล้วยพันธุ์หนึ่ง พัฒนามาจากลูกผสมระหว่างกล้วย
ป่ากับกล้วยตานี บริโภคกันอย่างแพร่หลาย ปลูกง่าย รสชาติดี สาหรับกล้วย
น้าว้าแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ตามสีของเนื้อ คือ น้าว้าแดง น้าว้าขาว และน้าว้า
เหลือง คนไทยรับประทานกล้วยน้าว้าทั้งผลสด ต้ม ปิ้ง และนามาประกอบ
อาหาร นอกจากนี้ยังมีกล้วยน้าว้าดา ซึ่งเปลือกมีสีครั่งปนดา แต่เนื้อมีสีขาว
รสชาติอร่อยคล้ายกล้วยน้าว้าขาว สาหรับกล้วยตีบเหมาะที่จะรับประทาน
ผลสด เพราะเมื่อนาไปย่าง หรือต้มจะมีรสฝาด กล้วยน้าว้ามีชื่อพื้นเมืองอื่น
เช่น กล้วยน้าว้าเหลือง กล้วยใต้หรือ กล้วยอ่อง เดิมจัดเป็นชนิด Musa
sapientum
การใช้ประโยชน์และสรรพคุณ
กล้วยน้าว้าเมื่อเทียบกับกล้วยหอมและกล้วยไข่ กล้วยน้าว้าจะให้พลังงานมาก
ที่สุด กล้วยน้าว้าห่ามและสุกมีธาตุเหล็กในปริมาณสูง ช่วยสร้างเม็ดเลือดแดง ป้องกัน
โรคโลหิตจาง มีแคลเซียม ฟอสฟอรัส และวิตามินซีช่วยบารุงกระดูก ฟัน และเหงือก
ให้แข็งแรง ช่วยให้ผิวพรรณดี มีเบต้าแคโรทีน ไนอาซีนและใยอาหาร ช่วยให้ระบบ
ขับถ่ายคล่องขึ้น กินกล้วยน้าว้าสุก จะช่วยระบายท้องและสามารถรักษาโรคเลือดออก
ตามไรฟันในเด็กเล็กได้ช่วยลดอาการเจ็บคอ เจ็บหน้าอกที่มีอาการไอแห้งร่วมด้วย
โดยกินวันละ 4-6 ลูก แบ่งกินกี่ครั้ง ก็ได้กินกล้วยก่อนแปรงฟันทุกวันจะทาให้ไม่มี
กลิ่นปาก และผิวพรรณดี เห็นผลได้ใน 1 สัปดาห์ กล้วยน้าว้าดิบและห่ามมีสารแทน
นิน เพคตินมีฤทธิ์ฝาดสมาน รักษา อาการท้องเสียที่ไม่รุนแรงได้โดยกินครั้งละครึ่งผล
หรือ 1 ผล อาการท้องเสียจะทุเลาลง นอกจากนี้จากการศึกษาวิจัยยังพบว่า มีผลในการ
รักษาโรคกระเพาะได้อีกด้วย
ตัวหนังสือมากไปไหมจ๊ะ ฮาๆๆ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
มะม่วงเป็นไม้ผลขนาดใหญ่ปลูกได้ทุกภาคของประเทศไทย ปลูกได้
ในดินทั่วไป ยกเว้นดินเค็มและดินที่มีน้าขัง ถ้าปลูกในดินร่วนซุยมี
อินทรีย์วัตถุมาก และมีการระบายน้าดีก็จะยิ่งให้ผลผลิตดี นอกจากนี้มะม่วง
ยังมีความต้านทานต่อสภาพแห้งแล้งได้ดี จะเริ่มให้ผลหลังจากการปลูกด้วย
กิ่งทาบประมาณ 3 ปี สามารถให้ผลผลิตมากกว่า 15 ปี และผลผลิตจะ
สูงขึ้นเฉลี่ยปีที่ 8 ประมาณ 50-100 กก./ต้น โดยเฉลี่ยอายุจากดอกบาน
เก็บผลแก่อยู่ระหว่าง 90-115 วัน น้าหนักผลมะม่วงเฉลี่ยอยู่ในระหว่าง
260 กรัม ฤดูกาล ผลผลิตอยู่ระหว่างปลายเดือนมีนาคม-มิถุนายน
การใช้ประโยชน์
- เนื้อไม้นามาทาเฟอร์นิเจอร์
- ใช้ยอดอ่อน ผลอ่อน มาประกอบอาหารแทนผัก
สรรพคุณ - ผลมะม่วงดิบมีวิตามินซีสูง แก้เลือดออกตามไรฟัน เป็นต้น
ชื่อสามัญ ลูกใต้ใบ
ชื่ออังกฤษ Children under the leaves.
ชื่อวิทยาศาสตร์ Ph yllanthus niruri
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นพืชล้มลุก ต้นเล็ก ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตัวคล้ายใบประกอบ ทา
ให้บางครั้งเกิดความสับสนว่าเป็นใบประกอบ ออกดอกตามข้อ หนึ่งข้อมี
หนึ่งใบ โคนก้านใบติดกับลาต้น สีม่วงแดง ดอกสีเขียว ดอกออกตามซอก
ก้านใบย่อยและห้อยลง ผลกลมเรียบ เมื่อแก่แตกเป็นสามพู
การใช้ประโยชน์
เอาต้นลูกใต้ใบแห้งมาตัดเป็นท่อนสั้นๆใส่ลงไปในหม้อต้มยา รวม
กับใบเตยแห้ง แล้ว ใส่น้าสะอาดลงไปพอท่วมตัวยา ต้ม เคี่ยว ไปให้เดือด
ประมาณ 15 นาที เพื่อให้ตัวยาละลายออก มามากๆ รินเอายามาดื่มได้
สรรพคุณ
- ลูกใต้ใบมีฤทธิ์แก้โรคเบาหวาน
- ขับปัสสาวะ เป็นยาบารุงธาตุ ขับประจาเดือน
- ประโยชน์ทางยาและอาจจะมีฤทธิ์ต้านไวรัสเอดส์และไวรัสตับอักเสบบี
- ลดความดันโลหิต ลดความเป็นพิษต่อตับ
-ในบราซิลและเปรูใช้เป็นยารักษาโรคนิ่วในไต
- สามารถยับยั้งการเกิดก้อนนิ่วในหนูที่กินน้าคั้นของพืชนี้ได้
ชื่อทั่วไป สะเดา
ชื่ออังกฤษSiamese neem tree, Nim , Margosa, Quinine
ชื่อวิทยาศาสตร์Azadirachta indica A. Juss. var.
siamensis Valeton
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไม้ต้น สูง 5-10 เมตร เปลือกต้นแตกเป็นร่องลึกตามยาว ยอดอ่อนสี
น้าตาลแดง ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ออกเรียงสลับรูปใบหอก กว้าง
3-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. โคนใบมนไม่เท่ากัน ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อย แผ่นใบ
เรียบ สีเขียวเป็นมัน ดอก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่งขณะแตกใบอ่อน ดอกสีขาว
นวล กลีบเลี้ยงมี 5 แฉก โคนติดกัน กลีบดอกโคนติดกัน ปลายแยกเป็น 5
แฉก ผล รูปทรงรี ขนาด 0.8 - 1 ซม. ผิวเรียบ ผลอ่อนสีเขียว สุกเป็นสีเหลือง
ส้ม เมล็ดเดี่ยว รูปรี
การใช้ประโยชน์
ส่วนที่ใช้: ดอกช่อดอก ขนอ่อน ยอด เปลือก ก้านใบ กระพี้ ยาง แก่น
ราก ใบ ผล ต้น เปลือกราก น้ามันจากเมล็ด
สรรพคุณ
-ดอก ยอดอ่อน แก้พิษโลหิต กาเดา แก้ริดสีดวงในลาคอ คันดุจมีตัวไต่อยู่
บารุงธาตุ ขับลม ใช้เป็นอาหารผักได้ดี
-ขนอ่อน ถ่ายพยาธิ แก้ริดสีดวง แก้ปัสสาวะพิการ
-เปลือกต้น แก้ไข้เจริญอาหาร แก้ท้องเดิน บิดมูกเลือด
-ก้านใบ แก้ไข้ทายารักษาไข้มาลาเรีย
-กระพี้ แก้ถุงน้าดีอักเสบ
-ยาง ดับพิษร้อน
-แก่น แก้อาเจียน ขับเสมหะ
-ราก แก้โรคผิวหนัง แก้เสมหะ ซึ่งเกาะแน่นอยู่ในทรวงอก
-ใบ, ผล ใช้เป็นยาฆ่าแมลง บารุงธาตุ
-ผล มีสารรสขม ใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ และยาระบาย แก้โรคหัวใจเดินผิดปกติ
-เปลือกราก เป็นยาฝาดสมาน แก้ไข้ทาให้อาเจียน แก้โรคผิวหนัง
-น้ามันจากเมล็ด - ใช้รักษาโรคผิวหนัง และยาฆ่าแมลง
ชื่อทั่วไป โกงกางใบเล็ก
ชื่อวิทยาศาสตร์Rhizophora apiculata Blume
ชื่ออังกฤษ (R. apiculata Bl.)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
โกงกางใบเล็กเป็นไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง 25-35 ม. ระบบรากเป็นระบบรากแก้วมี
รากเสริมออกมาเหนือโคนต้น 3-8 ม. รากที่โคนต้นหรือรากค้ายันลาต้นแตก
แขนงระเกะระกะไม่เป็นระเบียบ ทามุมเกือบตั้งฉากกับลาต้นและหักเกือบเป็น
มุมฉากลงดินเพื่อพยุงลาต้น เรือนยอดรูปกรวยคว่าแคบๆ
ลาต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 30-50 ซม. เปลือกสีเทาคล้าหรือเทาอมชมพู แตกเป็น
ร่องตื้นๆ ตามยาวทั่วไปและอาจมีร่องสั้นๆ แตกตามขวางคั่นระหว่างร่องยาว
อย่างไม่เป็นระเบียบ เมื่อทุบเปลือกทิ้งไว้สักครู่จะพบว่าเปลือกในจะมีสีแสดงถึง
แดงเลือดหมู
ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงตรงข้ามสลับทิศทางตั้งฉาก ใบคู่ล่างๆ จะร่วงไปเหลือแต่คู่ใบ
2-4 คู่ เป็นกลุ่มที่ปลายกิ่ง รูปรี กว้าง 4-8 ซม. ยาว 7-18 ซม.
ติ่งแหลมเล็กยาว แข็ง สีดา โคนรูปลิ่ม เส้นกลางใบด้านล่างสีแดง
เรื่อๆ หรือชมพูอมแดง เส้นแขนงใบปรากฏรางๆ แผ่นใบหนา ก้านใบยาว
1.5-3.5 ซม. มักมีสีแดงเรื่อๆ หูใบแคบ ปลายแหลมยาวประกบกันเป็นคู่
ระหว่างคู่ใบ เห็นได้ชัดที่ปลายกิ่ง ยาว 4-9 ซม. สีชมพู ร่วงง่าย ใบเล็กกว่า
โกงกางใบใหญ่
ดอกสมบูรณ์เพศ ช่อดอกสั้นมาก ออกตามง่ามใบที่ใบร่วงไปแล้ว ก้านช่อ
ดอกยาว 0.6-2 ซม. ตรงปลายก้านช่อมีดอกที่ไม่มีก้านหรือมีก้านสั้น 1 คู่
ดอกตูมรูปไข่ ยาว 1.2-1.6 ซม. ใบประดับที่ฐานดอกติดกันคล้ายรูปถ้วย
กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปไข่ กว้าง 6-8 มม. ยาว 0.7-1.2 ซม. กลีบหนา ปลาย
แหลม ต่อมาจะโค้งลงเกือบแนบก้านดอก กลีบดอก 4 กลีบ ร่วงง่าย รูปใบ
หอก กว้าง 1-2 มม. ยาว 0.7-1.2 ซม. สีเหลืองอมเขียวหรือเหลืองอ่อน ขอบ
กลีบไม่มีขน เกสรเพศผู้12 อัน ก้านชูอับเรณูสั้นมากหรือไม่ปรากฏชัด
ผลมีรูปไข่กลับยาว 2-3 ซม. สีน้าตาลคล้า ผิวค่อนข้างขรุขระ เมล็ด
งอกได้ในขณะที่ผลยังติดอยู่กับต้น ลาต้นใต้ใบเลี้ยงรูปทรงกระบอก เรียง
โค้งเล็กน้อย ยาว 30-40 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.2 ซม. มีขนาดโตขึ้นที่
ส่วนปลาย ผิวเป็นมัน สีเขียวหรือเขียวอมม่วง ค่อนข้างเรียบหรือมีตุ่ม
ขรุขระกระจัดกระจาย เมื่อร่วงหล่นลงสู่พื้นจะปักลงในดิน
การใช้ประโยชน์
-เปลือกให้น้าฝาดสีน้าตาลใช้ย้อมผ้า อวน
-ลาต้นใช้ทาเสาเข็มในที่น้าทะเลขึ้นถึง เผ่าถ่าน
-เนื่องจากเปลือกมีสารแทนนินและฟีนอล เป็นสารที่ใช้ทาสี, หมึกและยา
จึงมีการนาไปสกัด
สรรพคุณ
-น้าจากเปลือกใช้ชะล้างแผล ห้ามเลือด แก้ท้องร่วง แก้บิด
ชื่อทั่วไป หว้า
ชื่อวิทยาศาสตร์ Syzygium cumini (L.) Skeels
ชื่ออังกฤษ Wa
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ลักษณะ ลาต้น ไม้ยืนต้นสูง 10-35 เมตร เปลือกต้นค่อนข้างเรียบ สี
น้าตาล ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปไข่หรือรูปรี กว้าง 3-7 เซนติเมตร ยาว 8-14
เซนติเมตร มีจุดน้ามันที่บริเวณขอบใบดอกช่อ สีขาวหรือสีเหลืองอ่อน ออกที่ซอก
ใบหรือปลายยอด ฐานรองดอกเป็นรูปกรวย กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ
เกสรตัวผู้มีจานวนมาก ออกดอกและติดผลราวเดือนธันวาคม-มิถุนายน ผลเป็นผล
สด รูปรีแกมรูปไข่ ฉ่าน้า มีสีม่วงดา ผิวเรียบมัน มีขนาด 1 เซนติเมตร ผลแก่ ราว
เดือนพฤษภาคม เมล็ด มี 1 เมล็ด รูปไข่
การใช้ประโยชน์
-ผล ใบ นามารับประทานได้
สรรพคุณ
-แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ
ชื่อทั่วไป ส้มมะนาว
ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus aurantifolia Swing.
ชื่ออังกฤษ Lime
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไม่พุ่ม สูง 2-4 เมตร กิ่งอ่อนมีหนาม ใบประกอบชนิดมีใบย่อยใบ
เดียว เรียงสลับ รูปไข่ รูปวงรีหรือรูปไข่แกมขอบขนานกว้าง 3-5 ซม. ยาว 4-
8 ซม. เนื้อใบมีจุดน้ามันกระจาย ก้านใบมีครีบเล็ก ๆ ดอกเดี่ยวหรือช่อ ออก
ที่ปลายกิ่งและที่ซอกใบ กลีบดอกสีขาว กลิ่นหอม ร่วงง่าย ผลเป็นผลสด
กลมเกลี้ยง ฉ่าน้า
การใช้ประโยชน์และสรรพคุณ
ตารายาไทยใช้น้ามะนาวและผลดองแห้งเป็นยาขับเสมหะแก้ไอ แก้
โรคเลือดออกตามไรฟัน เพราะมีวิตามินซี น้ามะนาวเป็นกระสายยาสาหรับ
สมุนไพรที่ใช้ขับเสมหะเช่นดีปลี
ชื่อทั่วไป ต้นยอ
ชื่ออังกฤษ Morinda
ชื่อวิทยาศาสตร์ Morinda citrifolia L.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ต้นยอเป็นพืชพื้นเมืองในแถบโพลีเนเชียตอนใต้ แล้วแพร่กระจายไปยัง
บริเวณอื่นๆ ภาษามาเลย์เรียกเมอกาดู ในหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกเรียกนูนเป็น
ไม้ยืนต้น ต้นสี่เหลี่ยม เปลือกต้นเรียบ ใบสีเขียวเข้ม ดอกออกเป็นช่อที่ซอกใบ ฐาน
ดอกติดกันแน่นเป็นทรงกลม ผลทรงยาวรี เมื่ออ่อนสีเขียว พอสุกเปลี่ยนเป็นสีขาว
นวล เนื้อนุ่ม รสเผ็ด กลิ่นแรง มีเมล็ดจานวนมาก สีน้าตาลเข้ม
การใช้ประโยชน์
ใบสดใช้สระผม กาจัดเหา ผลยอแก่มี asperuloside แก้อาการ
คลื่นไส้อาเจียน และแอนโทรควิโนน ช่วยขับพยาธิ แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ในโพลีเน
เซีย ใช้ผลอ่อน ใบและรากใช้รักษาความผิดปกติของประจาเดือน ความระคายเคือง
ในทางเดินอาหาร เบาหวาน โรคเกี่ยวกับตับ และการติดเชื้อในระบบขับถ่าย
ปัสสาวะ
สรรพคุณ
- น้าลูกยอ ใช้ดื่มเป็นยาลดความดันโลหิต ทาให้นอนหลับ
- ป้องกันโรคภูมิแพ้ลูกยอบดประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรตและเส้นใย
สารอาหารและสารเคมีในผลยอ
ใบอ่อนนามาลวกกินกับน้าพริก แกงจืด แกงอ่อม หรือใช้รองกระทงห่อ
หมก ผัดไฟแดง ลูกยอสุกกินกับเกลือหรือกะปิ ลูกห่ามใช้ตาล้มตา ปัจจุบัน
มีการนาลูกยอไปคั้นเป็นน้าลูกยอ ใช้ดื่มเป็นยาลดความดันโลหิต ทาให้
นอนหลับ ป้องกันโรคภูมิแพ้ลูกยอบดประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรตและเส้น
ใย มีธาตุอาหารที่พบในน้าลูกยอเล็กน้อย ในลูกยอบดมี วิตามินซี ไนอะซิน
(วิตามิน B3), เหล็ก และ โพแทสเซียม วิตามินเอ, แคลเซียม และ โซเดียม
เมื่อคั้นเป็นน้าจะเหลือแต่วิตามินซี ในปริมาณครึ่งหนึ่งของส้มดิบ แต่มี
โซเดียมสูงกว่า ลูกยอมีสารเคมีหลายชนิด เช่น ลิกนัน โพลีแซคคาไรด์ ฟลา
โอนอยด์ อีริดอยด์ กรดไขมัน สโคโปเลติน และ อัลคาลอยด์
ชื่อทั่วไป มะขาม
ชื่ออังกฤษ Tamarind
ชื่อวิทยาศาสตร์ Tamarindus indica Linn
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
มะขามเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่แตกกิ่งก้านสาขา
มากไม่มีหนาม เปลือกต้นขรุขระและหนา สีน้าตาลอ่อน ใบ เป็นใบ
ประกอบ ใบเล็กออกตามกิ่งก้านใบเป็นคู่ ใบย่อยเป็นรูปขอบขนาน ปลายใบ
และโคนใบมน ประกอบ ด้วยใบย่อย 10–15 คู่ แต่ละใบย่อยมีขนาดเล็ก
กว้าง 2–5 มม. ยาว 1–2 ซม. ออกรวมกันเป็นช่อยาว 2–16 ซม. ดอก ออก
ตามปลายกิ่ง ดอกมีขนาดเล็ก กลีบดอกสีเหลืองและมีจุดประสีแดง/ม่วงแดง
อยู่กลางดอก ผล เป็นฝักยาว รูปร่างยาวหรือโค้ง ยาว 3-20 ซม. ฝักอ่อนมี
เปลือกสีเขียวอมเทา สีน้าตาลเกรียม เนื้อในติดกับเปลือก เมื่อแก่ฝัก
เปลี่ยนเป็นเปลือกแข็งกรอบหักง่าย สีน้าตาล เนื้อในกลายเป็นสีน้าตาลหุ้ม
เมล็ด เนื้อมีรสเปรี้ยว และ/หรือหวาน ซึ่งฝักหนึ่ง ๆ จะมี/หุ้มเมล็ด 3–12
เมล็ด เมล็ดแก่จะแบนเป็นมัน และมีสีน้าตาล
ใบของมะขามเป็นใบประกอบแบบขนนก (pinnately compound
leaves) ใบย่อยแต่ละใบแยกออกจากก้าน 2 ข้างของแกนกลาง คล้ายขน
นก ถ้าปลายสุดของใบจะเป็นใบย่อยเพียงใบเดียวเรียก แบบขนนกคี่ (odd
pinnate) เช่น กุหลาบ อัญชัน ก้ามปู ถ้าสุดปลายใบมี 2 ใบ เรียกแบบขน
นกคู่ (even pinnate) เช่น มะขาม
การใช้ประโยชน์
ส่วนที่ใช้เป็นยา : เนื้อในฝักแก่ (มะขามเปียก) เปลือกต้น (ทั้งสด
หรือแห้ง) เนื้อในเมล็ด
สรรพคุณ
แก้อาการท้องผูกใช้เนื้อฝักแก่หรือมะขามเปียก 10–20 ฝัก (หนักประมาณ
70–150 กรัม) จิ้มกับเกลือรับประทาน หรือใส่เกลือเติมน้าคั้นดื่มแก้อาการท้องเดิน
ใช้เปลือกต้น ทั้งสดหรือแห้งประมาณ 1–2 กามือ (15–30 กรัม) ต้มกับน้าปูนใส
หรือน้ารับประทานถ่ายพยาธิลาไส้ใช้เมล็ดคั่วกะเทาะเปลือกเอาออกเนื้อในเมล็ดแช่
น้าเกลือจนนุ่ม รับประทานครั้งละ 20–30 เมล็ด เหมาะสาหรับถ่ายพยาธิไส้เดือนแก้
ไอขับเสมหะ
ชื่อทั่วไป พริก
ชื่ออังกฤษ Chilli peppers, chili, chile หรือ chilli
ชื่อวิทยาศาสตร์ Capsicum frutescens L
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
พริกมีแหล่งกาเนิดในอเมริกาเขตร้อน ตั้งแต่ก่อนโคลัมบัสพบทวีปอเมริกา
พันธุ์พริกที่นิยมปลูกในปัจจุบันถูกนามาจากตัวอย่างที่เก็บมาเพียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เมื่อ
เทียบกับการกระจายตัวของพันธุกรรมในธรรมชาติ พริกพันธุ์ปลูกแบ่งได้เป็น 3
กลุ่ม ใหญ่ ๆ ได้แก่ Capsicum baccatum และ C. pubescens R.
and P. ซึ่งแยกออกจากกันได้อย่างชัดเจนโดยลักษณะทางพฤกษศาสตร์ และอีก
กลุ่มหนึ่งที่รวม ๆ กันอยู่ปัจจุบันยอมรับให้แยกอีก 3 ชนิด(species) ด้วยกัน
ได้แก่ C. annuum L., C. frutescens L. และ C. chinense Jacq.
1. Capsicum annuum L.
เป็นชนิดที่ปลุกมากและมีความสาคัญมากที่สุดเมื่อเทียบกับพริก
ชนิดอื่น ๆ มีแหล่งดั้งเดิมอยู่ที่อเมริกากลาง ได้แก่ ประเทศเม็กซิโกและ
ประเทศใกล้เคียง พริกชนิดนี้เห็นได้ชัดว่าแตกต่างจากชนิดอื่น ได้แก่ การที่
มีดอกเดี่ยวและผลเดี่ยว ๆ และมีกลีบดอกสีขาว จากการสารวจในประเทศ
ไทยพบว่า พริก C. annuum ที่ใช้เป็นพันธุ์ปลูกมีมาก สายพันธุ์ที่ดี
ที่สุดเมื่อเทียบกับชนิดอื่น รวบรวมได้31 สายพันธุ์ ชื่อสายพันธุ์เรียกตาม
ชื่อพื้นเมืองได้แก่ พริกชี้ฟ้า พริกชี้ฟ้าใหญ่ พริกจินดา พริกแดง พริกฟักทอง
พริกขี้หนู พริก
2. Capsicum chinense Jacq.
เป็นพริกที่มีความสาคัญในการใช้เป็นพันธุ์ปลูกมากในแถบภูเขา
แอนดีสในอเมริกาใต้การกระจายพันธุ์ของพริกชนิดนี้มีมากในบริเวณอเม
ซอน พริกในกลุ่มนี้ที่มีผลใหญ่เนื้อหนา ใช้รับประทานสด พริกที่เนื้อบางใช้
ทาพริกแห้ง ส่วนพริกผลเล็กมีกลิ่นและรสเผ็ดจัดเชื่อว่ามีรสเผ็ดที่สุดใน
พริกที่ปลูกทั้งหมด
พริกนี้ไม่นิยมในเอเชียแถบร้อน ในประเทศไทยสายพันธุ์พริกที่เก็บ
รวบรวมมีพริกชนิดนี้อยู่ 18 สายพันธุ์ มีชื่อเรียกว่า พริกขี้หนู พริกขี้หนู
แดง พริกกลาง พริกเล็บมือนาง พริกขี้หนูหอม พริกสวนและพริกใหญ่ เป็น
ต้น พริกพวกนี้มีลักษณะทางพันธุศาสตร์คล้ายกับ C. annuum และ
C. frutescens สีกลีบดอกสีเขียวอ่อน มีดอก 2 ดอกหรือมากกว่า 2
ดอกต่อข้อ เมื่อผลแก่จะมีรอยคอดที่กลีบเลี้ยงติดกับก้านของผล
3. Capsicum baccatum L.
พริกชนิดนี้มีถิ่นกาเนิดอยู่ที่ประเทศโบลิเวีย มีหลักฐานทาง
โบราณคดีของประเทศเปรูว่าพริกชนิดนี้ C. baccatum var.
pendulum ปลูกโดยคนโบราณก่อนคริสต์ศตวรรษถึง 2500 ปี การ
กระจายของพริกชนิดนี้พบในประเทศเปรู ประเทศโบลิเวีย ประเทศ
อาร์เจนตินา และประเทศบราซิลตอนใต้ต่อจากนั้นได้กระจายไปยังตอนใต้
ของประเทศสหรัฐอเมริการัฐฮาวาย และประเทศอินเดีย ในศตวรรษที่ 17
มีการกระจายของพริกชนิดนี้ไปถึงยุโรป พริกนี้ไม่เป็นที่นิยมปลูกในทวีป
เอเชียและแอฟริกา ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ C. annuum และ C.
frutescens ได้รับความนิยมอยู่แล้ว จากการรวบรวมพันธุ์พริกใน
ประเทศไทยสงสัยว่ามีพริกชนิดนี้ปลูกอยู่สายพันธุ์หนึ่ง พริกพวกนี้มีความ
แตกต่างจากพริกชนิดอื่นที่มีดอกสีขาวและมีจุดสีเหลืองที่กลีบดอกขาวใน
กลุ่มพริกนี้ยังมี C. pendulum และ C. microcarpum ที่ถูกจัด
ให้อยู่ใน C. baccatum ด้วย
4. Capsicum frutescens L.
กาเนิดพริกชนิดนี้อยู่ในอเมริกาใต้เช่นเดียวกับชนิดอื่นและพบ
หลักฐานทางโบราณคดีในประเทศเปรูก่อนคริสต์ศตวรรษถึง 1200 ปี
พบว่า มีการกระจายพันธุ์อยู่ในประเทศบราซิลตอนใต้ไปถึงตอนกลางของ
ทวีปอเมริกา หมู่เกาะ west indies ทวีปแอฟริกาและทวีปเอเชีย พันธุ์ที่
ปลูกในอเมริกาเป็นผลชนิดโต เรียกว่า Tobasco pepper ซึ่งเป็น
พันธุ์ที่รู้จักกันแพร่หลายนอกจากนี้ยังมีพันธุ์ผลโตอื่น ๆ อีก มีปลูกแถบ
ทะเลแคริบเบียน ทวีปยุโรปและทวีปเอเชีย แต่พันธุ์ที่นิยมปลูกในทวีปเอเชีย
มีผลเล็ก มีความเผ็ดมาก บางแห่งใช้พริกพวกนี้ในการสกัดสาร ในประเทศ
ไทย มีรายงานว่ามีพริกชนิดนี้ 3 สายพันธุ์ ได้แก่ พริกชี้ฟ้า พริกเกษตร และ
พริกขาว พริกชนิดนี้มีลักษณะเด่นที่มีดอกเดี่ยว แต่พริกพันธุ์ป่าของ C.
frutescens มี 2-3 ดอกในแต่ละข้อ ดอกมีสีเขียวอ่อน ผลพริกของ
พันธุ์ป่าใช้บริโภคได้และมีรสเผ็ด
5. Capsicum pubescens Ruiz & Pavon
พริกชนิดนี้เป็นพริกที่ปลุกบนพื้นที่สูงเนื่องจากทนต่อความหนาว
ได้พบว่าปลุกอยู่ในแถบเขาแอนดีสและบนที่สูงของอเมริกากลาง แต่ก็พบ
พริกชนิดนี้ในที่ราบเช่นเดียวกันกับ C. annuum , C. baccatum
และ C. chinense แหล่งกาเนิดของพริกชนิดนี้ไม่ค่อยติดผลได้ง่ายเช่น
พริกชนิดอื่นเมื่อปลูกในแถบร้อนพันธุ์ที่ใช้ปลูกมีลักษณะการกระจายน้อย
กว่าพืชชนิดอื่นที่กล่าวมาข้างต้น ผลของพริกมีเนื้อหนา มีเปอร์เซ็นต์ของน้า
สูง แต่มีรสเผ็ด ลักษณะเดิมของพริกชนิดนี้ได้แก่ กลีบดอกสีม่วง ไม่มีจุด
และเมล็ดสีดา จากการสารวจและรวบรวมพันธุ์พริกในประเทศไทยอาจมี
พริกชนิดนี้อยู่เพียงสายพันธุ์เดียว เรียกว่า พริกขาวดา
พริกมีดอกทั้งดอกเดี่ยวและดอกช่อ ช่อละ 2-3 ดอก ก้านช่อดอกตั้งตรง
(erect) หรือโน้มลง (pendant) ดอกเป็นดอกสมบูรณ์มีเกสรตัวผู้
(stamen) แต่การผสมข้ามพันธุ์เกิดได้ในเปอร์เซ็นต์ที่สูง
การใช้ประโยชน์และสรรพคุณ
พริกมีวิตามินซี สูง เป็นแหล่งของกรด ascorbic ซึ่งสารเหล่านี้
ช่วยขยายเส้นโลหิตในลาไส้และกระเพาะอาหารเพื่อให้ดูดซึมอาหารดีขึ้น
ช่วยร่างกายขับถ่าย ของเสียและนาธาตุอาหารไปยังเนื้อเยื่อของร่างกาย
(tissue) สาหรับพริกขี้หนูสดและพริกชี้ฟ้าของไทย มีปริมาณวิตามิน ซี
87.0 - 90 มิลลิกรัม / 100 g นอกจากนี้พริกยังมีสารเบต้า - แคโรทีนหรือวิ
ตามินเอ สูง (พริกขี้หนูสด 140.77 RE )
พริกยังมีสารสาคัญอีก 2 ชนิด ได้แก่ Capsaicin และ
Oleoresinโดยเฉพาะสาร Capsaicin ที่ นามาใช้ในอุตสาหกรรม
อาหาร และผลิตภัณฑ์รักษาโรค ในอเมริกามีผลิตภัณฑ์จาหน่ายในชื่อ
Cayenne สาหรับฆ่าเชื้อแบคทีเรียในกระเพาะอาหาร สาร
Capsaicin ยังมีคุณสมบัติทาให้เกิดรสเผ็ด ลดความเจ็บปวด
ของกล้ามเนื้อ หัวไหล่ แขน บั้นเอว และส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และมี
ผลิตภัณฑ์จาหน่ายทั้งชนิดเป็นโลชั่นและครีม ( Thaxtra - P
Capsaicin) แต่การใช้ในปริมาณที่มากเกินไป อาจมีผลกระทบต่อ
อาการหยุดชะงักการทางานของกล้ามเนื้อได้เช่นกัน เพื่อความปลอดภัย
USFDA ได้กาหนดให้ใช้สาร capsaicin ได้ที่ความเข้มข้น 0.75 %
สาหรับเป็นยารักษาโรค
ชื่อทั่วไป ตาลึง
ชื่ออังกฤษ Ivy Gourd
ชื่อวิทยาศาสตร์ Coccinia grandis (L.) Voigt
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ลาต้นเป็น เถาไม้เลื้อยเนื้อแข็ง ใบเป็น ใบเดี่ยว มีลักษณะเป็น 3
แฉก หรือ 5 แฉก กว้างและยาวประมาณ 4-8 ซม. โคนใบมีลักษณะเป็นรูป
หัวใจ มีมือเกาะยื่นออกมาจากที่ข้อ ดอกเป็น ดอกเดี่ยวหรือดอกคู่ มีลักษณะ
เป็นรูประฆัง กลีบดอกสีขาว แยกเพศอยู่คนละต้น ดอกออกตรงที่ซอกใบ
ลักษณะของผลเป็นวงรีทรงยาวสีเขียวอ่อน เมื่อยามแก่จัดจะเป็นสีแดง เป็น
ที่ชื่นชอบของ นกนานาชนิด
การใช้ประโยชน์
สามารถนาใบตาลึงมาต้มกับน้าแกงใส่กับหมูสับ นาใบตาลึงมาผัด
ผักรวม หรือ นาไปประกอบอาหารอย่างอื่นก็ได้เหมือนกัน
สรรพคุณ
- ใบใช้ในการแก้ไข้ตัวร้อน ตาแดง ตาเจ็บ
- เถานาน้าต้มจากเถาตาลึงมาหยอดตาแก้ตาแดง ตาฟาง
- ดอกตาลึงช่วยทาให้หายจากอาการคันได้
- ใช้แก้อาการอาเจียน ตาฝ้า
- น้ายางจากต้นและใบช่วยลดน้าตาลในเลือด
ชื่อทั่วไป ฟักทอง
ชื่ออังกฤษ Pumpkin
ชื่อวิทยาศาสตร์ Cucurbita moschata Decne.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นพืชล้มลุก มีเถายาวเลื้อยปกคลุมดิน ลาต้นมีลักษณะกลมหรือ
เป็นเหลี่ยมมน ผิวเป็นร่องตามความยาว มีขนอ่อน ๆ มีหนวดสาหรับยึด
เกาะยึดบริเวณข้อ ใบเป็นใบเดี่ยว มีขนาดใหญ่ ออกเรียงสลับกัน โคนใบเว้า
คล้ายรูปหัวใจ ขอบใบหยักเป็นเหลี่ยม 5 เหลี่ยม มีขนทั้ง 2 ด้านของตัวใบ
ดอกเป็นดอกเดี่ยวสีเหลืองมีขนาดใหญ่ ลักษณะคล้ายระฆังหรือกระดิ่งออก
บริเวณง่ามใบผลมีขนาดใหญ่ มีลักษณะเป็นพูเล็ก ๆ โดยรอบเปลือกนอก
ขรุขระและแข็ง มีสีเขียวและจะเปลี่ยนเป็นสีเขียวอ่อนและ สีเหลืองเข้ม
และสีเหลืองตามลาดับ เนื้อภายในมีสีเหลืองอมเขียว สีเหลือง และสีส้ม
เมล็ดมีจานวนมากซึ่งอยู่ตรงกลางผลระหว่างเนื้อฟู ๆ มีรูปร่างคล้ายไข่ แบน
มีขอบนูนอยู่โดยรอบ
การใช้ประโยชน์และสรรพคุณ
เนื้อฟักทองประกอบด้วยแป้ง โปรตีน ไขมัน ฟอสฟอรัส
แคลเซียม เหล็ก และ สารเบต้า - แคโรทีน ซึ่งเป็นสารที่ร่างกายนาไปสร้าง
วิตามิน เอ เมล็ดมีฟอสฟอรัสในปริมาณสูง รวมทั้งแป้ง โปรตีน และน้า
ประมาณร้อยละ 40 ส่วนเมล็ดแห้งมีสารคิวเคอร์บิทีน
(Cucurbitine) เป็นสารสาคัญ ซึ่งมีฤทธิ์ฆ่าพยาธิได้ผลดี นอกจากนั้น
ฟักทองสามารถกระตุ้นการหลั่งอินซูลิน ซึ่งช่วยป้องกันโรคเบาหวาน ความ
ดันโลหิต ควบคุมระดับน้าตาลในเลือด บารุงนัยน์ตา ตับและไต เมล็ดใช้
เป็นยาขับพยาธิตัวตืด ป้องกันการเกิดนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ และช่วยดับ
พิษปอดบวม รากช่วยแก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย ยางช่วยแก้พิษผื่นคัน เริม
และงูสวัด
ชื่อทั่วไป ชบา
ชื่ออังกฤษ Hibiscus
ชื่อวิทยาศาสตร์ Hibiscus spp. and hybrid
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ชบาเป็นไม้พุ่มขนาดใหญ่ สูงประมาณ 2 - 4 เมตร แตกกิ่งก้าน
เป็นพุ่มแน่น เปลือกสีเทาปนน้าตาล ใบเดี่ยว ออกเวียนสลับ รูปไข่ ปลายใบ
แหลม โคนใบสอบ ขอบใบจักฟันเลื่อย ดอกออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง
รูปแตร มีทั้งกลีบดอกชั้นเดียวและกลีบดอกซ้อน ดอกออกตลอดปี ปัจจุบัน
ได้มีการผสมพันธุ์ใหม่มากมาย ทาให้ดอกมีมากหลากหลายสีเป็นที่ชื่นชอบ
ของคนชอบดอกชบา มีสี ขาว ชมพู ส้ม แดง เหลือง และพันธุ์ใบด่าง
ลักษณะผลแห้งแตก รูปกลมถึงยาว แต่มักไม่ค่อยพบผล
การใช้ประโยชน์และสรรพคุณ
ในคัมภีร์อายุรเวท พูดถึงสรรพคุณของดอกชบาว่า ช่วยฟอกโลหิต บารุง
จิตใจให้แช่มชื่น บารุงผิวพรรณ นอกจากนี้ยังช่วยรักษาและบรรเทาโรค
เกี่ยวกับไต และโดยเฉพาะโรคเกี่ยวกับระบบสืบพันธุ์ของผู้หญิง เช่นเสีย
เลือดประจาเดือนมากเกินไป ประจาเดือนมาไม่สม่าเสมอ รวมทั้งปัญหาเรื่อง
ระดูขาวไม่เพียงแต่ดอกชบาเท่านั้นที่ใช้เป็นยาดีของอินเดีย ส่วนอื่นๆของ
ชบายังใช้เป็นยารักษาโรคได้ด้วย อย่างเช่น เปลือกต้นชบาใช้รักษาโรค
ผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรา ใบชบาใช้แก้แผลไฟไหม้น้าร้อนลวก บารุงผม
ประจาเดือนมาไม่สม่าเสมอ มีระดูขาว - นาดอกชบาสด 4 ดอกมาตาให้แหลก
แล้วกินตอนท้องว่างในตอนเช้าติดต่อกัน7 วัน นาดอกชบามาตากให้แห้งใน
ที่ร่ม เมื่อแห้งสนิทดีแล้ว เอามาบดเป็นผง กินครั้งละ1 ช้อนชาตอนเช้า
ติดต่อกันนาน 7 วัน
ประจาเดือนไม่มา
ใช้ดอกชบา 3 ดอกบดให้แหลก แล้วผสมกับน้ามะนาวสัก 2 ช้อน
โต๊ะ หรือผสมกับนม 1 แก้ว แล้วดื่มตอนท้องว่างตอนเช้า จะช่วยปรับเรื่อง
ประจาเดือนได้เอาเฉพาะกลีบดอกชบาผสมกับน้าตาลอ้อยหรือน้าตาลปี๊บ
อย่างละเท่าๆ กันใส่ในโถแก้วมีฝาปิด แล้วเอาโถแก้วออกตากแดดติดต่อกัน
สัก 21 วัน น้าตาลจะละลายผสมกับดอกชบา พอครบกาหนดแล้วเอามากิน
ครั้งละ 2 ช้อนชา วันละ 2 ครั้ง นานสองถึงสามสัปดาห์ ยาสูตรนี้ถือว่า
เป็นยาบารุงประจาเดือน
ดับร้อนและแก้ไข้
ใช้ดอกชบา 4 ดอกแช่ในน้าต้มสุก 2 แก้ว แล้วดื่มต่างน้า จะช่วย
ดับร้อนผ่อนกระหายและแก้ไข้ได้ดี
รักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรา เช่น
ฮ่องกงฟุต - ใช้เปลือกต้น 50 กรัม แช่ในแอลกอฮอล์ 150 ซีซี
นานหนึ่งวัน แล้วกรองเอาแต่น้ายาไว้ทาบริเวณที่เป็นฮ่องกงฟุต
รักษาแผลไฟไหม้น้าร้อนลวก
ใช้ใบชบาหรือฐานดอกก็ได้มาตาให้แหลก แล้วเอามาพอกบริเวณที่
ถูกไฟไหม้น้าร้อนลวก น้าเมือกจากใบจะช่วยรักษาแผลได้เป็นอย่างดี
บารุงผม
ใช้ใบชบาหนึ่งกามือมาล้างให้สะอาด ตาให้แหลก เติมน้าเล็กน้อย
แล้วคั้นเอาแต่น้า กรองเอากากทิ้ง แล้วใช้น้าเมือกจากใบชบาสระผม ช่วย
ชาระล้างสิ่งสกปรก และบารุงเส้นผมให้ดกดาเป็นเงางาม
ชื่อทั่วไป กระถิ่นไทย
ชื่ออังกฤษ Leucaena leucocephala
ชื่อวิทยาศาสตร์ Leucaena leucocephala de wit
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
กระถินเป็นไม้ยืนต้น สูงมากกว่า 10 เมตรใบเป็นใบประกอบ ก้านใบยาว
15-30 ซม. แตกออกเป็นก้านย่อย 3-10 คู่ ก้านยาวกว่า 10 ซม. ใบมี
ขนาดเล็กคล้ายใบมะขาม จานวน 5-20 คู่ ใบรูปขนานปลายแหลม ยาว
6-21 มม. กว้าง 1.5-5มม. ดอกเป็นช่อขนาดเล็ก กลมฟู สีขาวมีกลิ่น
หอมเล็กน้อย ฝักแบน ยาว 12-18 ซม. กว้างประมาณ 2 ซม. มีเมล็ด
ภายในเรียบ 15-30 เมล็ด
การใช้ประโยชน์
ส่วนที่เป็นผัก/ฤดูกาล ยอดอ่อน ใบอ่อน ฝักอ่อน และเมล็ดอ่อน ออกตลอดปี แต่นิยม
รับประทานยอดกระถินในฤดูฝน เพราะรสชาติมัน กรอบอร่อย
สรรพคุณ
กระถิ่นรับประทานแก้ท้องร่วง สมานแผล ห้ามเลือด ฝักของกระถินเป็นยา
ฝาดสมาน และเมล็ดเป็นยาถ่ายพยาธิได้เปลือกของกระถินมีรสฝาด เป็นยาฝาด
สมาน รากใช้ปรุงเป็นยาอายุวัฒนะ ขับลม ขับระดูขาว
ผลการศึกษา
สามารถสารวจพบพืชชนิดอื่นๆ จานวน 86 ชนิด เมื่อทาการจาแนกตาม
ลักษณะวิสัยของต้นไม้จาแนกเป็นพืชอื่นๆ 86 ชนิด และสมุนไพร 14 ชนิดดังรูป
หมายเหตุ
เราไม่สามารถทราบได้ว่าพืชชนิดอื่นๆ มีกี่ชนิด
86%
14%
สรุปพืชสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
พืชนิดอื่น ๆ พืชสมุนไพร

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกพัน พัน
 
2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอม2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอมJaturaphun
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้Theyok Tanya
 
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณsekzazo
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวJitrapron Tongon
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 

La actualidad más candente (20)

โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
 
2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอม2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอม
 
Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้
 
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิว
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
 
Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2
 
Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 

Destacado

โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
10 Insightful Quotes On Designing A Better Customer Experience
10 Insightful Quotes On Designing A Better Customer Experience10 Insightful Quotes On Designing A Better Customer Experience
10 Insightful Quotes On Designing A Better Customer ExperienceYuan Wang
 
How to Build a Dynamic Social Media Plan
How to Build a Dynamic Social Media PlanHow to Build a Dynamic Social Media Plan
How to Build a Dynamic Social Media PlanPost Planner
 
Learn BEM: CSS Naming Convention
Learn BEM: CSS Naming ConventionLearn BEM: CSS Naming Convention
Learn BEM: CSS Naming ConventionIn a Rocket
 
SEO: Getting Personal
SEO: Getting PersonalSEO: Getting Personal
SEO: Getting PersonalKirsty Hulse
 
Lightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika Aldaba
Lightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika AldabaLightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika Aldaba
Lightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika Aldabaux singapore
 

Destacado (8)

สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุสำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
10 Insightful Quotes On Designing A Better Customer Experience
10 Insightful Quotes On Designing A Better Customer Experience10 Insightful Quotes On Designing A Better Customer Experience
10 Insightful Quotes On Designing A Better Customer Experience
 
How to Build a Dynamic Social Media Plan
How to Build a Dynamic Social Media PlanHow to Build a Dynamic Social Media Plan
How to Build a Dynamic Social Media Plan
 
Learn BEM: CSS Naming Convention
Learn BEM: CSS Naming ConventionLearn BEM: CSS Naming Convention
Learn BEM: CSS Naming Convention
 
SEO: Getting Personal
SEO: Getting PersonalSEO: Getting Personal
SEO: Getting Personal
 
Lightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika Aldaba
Lightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika AldabaLightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika Aldaba
Lightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika Aldaba
 
Succession “Losers”: What Happens to Executives Passed Over for the CEO Job?
Succession “Losers”: What Happens to Executives Passed Over for the CEO Job? Succession “Losers”: What Happens to Executives Passed Over for the CEO Job?
Succession “Losers”: What Happens to Executives Passed Over for the CEO Job?
 

Similar a สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ

กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงVaree Supa
 
สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01toonkp_shadow
 
งานSh
งานShงานSh
งานShxavi2536
 
T1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจT1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจkhuwawa
 
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจkhuwawa
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องphairoa
 
วินหรรมบาน
วินหรรมบานวินหรรมบาน
วินหรรมบานAN'z NP Soparpipat
 
กุหลาบ
กุหลาบกุหลาบ
กุหลาบnangna
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Daranpop Doungdetch
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7chunkidtid
 
ลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรaromdjoy
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพรguestccf562
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยguestd908c1
 

Similar a สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ (20)

กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดง
 
สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01
 
Patcharee
PatchareePatcharee
Patcharee
 
งานSh
งานShงานSh
งานSh
 
T1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจT1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจ
 
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจ
 
Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้อง
 
วินหรรมบาน
วินหรรมบานวินหรรมบาน
วินหรรมบาน
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
กลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดา
กลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดากลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดา
กลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดา
 
กุหลาบ
กุหลาบกุหลาบ
กุหลาบ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
ลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพร
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 
สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 

สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5. การใช้ประโยชน์ ใบมะกรูดที่ใช้ปรุงอาหารในอินโดนีเซีย ลาว กัมพูชาและไทย การใช้มะกรูดสระผม น่าจะรู้จักกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ วิธีการสระ บ้างก็ใช้ผลดิบผ่าแล้วบีบน้าสระโดยตรง บ้างก็นาไปเผา หรือต้มก่อนสระ มะกรูดยังมีใช้ในพระราชพิธีสาคัญ เช่น พระราชพิธี โสกันต์ ซึ่งระบุไว้ในพระราชพิธีสิบสองเดือนไว้ ว่าจะต้องมีผลมะกรูดและใบส้มป่อย ประกอบในพิธีด้วย เข้าใจว่าน่าจะใช้เพื่อการสระผมนั่นเอง และก็สามารถนาไปล้างพื้น ได้ด้วย ซึ่งเป็นสมุนไพรชนิดหนึ่งเช่นกัน น้ามะกรูดมีรสเปรี้ยว กลิ่นฉุนคล้ายใบ แต่ใช้ น้อยกว่าน้ามะนาว มะกรูดมีส่วนเปลือกที่หนา ส่วนเปลือกนิยมนาผิวมาประกอบ อาหารบางชนิดด้วย มีอาหารบางชนิดที่นิยมใช้น้ามะกรูดเช่นกัน ในมะกรูดมีน้ามัน หอมระเหยอยู่มาก มีกลิ่นฉุน ทั้งในใบ และผล บางครั้งสามารถนาไปใช้ไล่แมลงบาง ชนิดได้
  • 6. สรรพคุณ - ใช้เป็นยาหรือส่วนผสมของยาต่าง ๆ คือ น้าในผลแก้อาการท้องอืด ช่วยให้เจริญ อาหาร น้ามะกรูดใช้ดองยา เพื่อใช้ฟอกเลือด และบารุงโลหิตสตรี เนื้อของผลใช้เป็นยา แก้อาการปวดศีรษะ ใบมะกรูดใช้เป็นยาขับลมในลาไส้ แก้จุกเสียด ผลมะกรูดที่คว้าไส้ ออกนามหาหิงส์ใส่แทนใช้เป็นยาขับลมแก้ปวดท้องในเด็กอ่อน - ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องหอมและเครื่องสาอางค์ต่าง ๆ - กรด Citric ช่วยขจัดคราบสบู่ (ด่าง) ที่หลงเหลืออยู่ ทาให้ผมหวีง่าย น้ามันจากผิว มะกรูดช่วยให้ผมดกเป็นเงางาม - ใช้ปรุงแต่งกลิ่นรสอาหาร ในดับกลิ่นคาวของอาหาร ใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องแกง ต่าง ๆ (รุ่งรัตน์, 2535)
  • 7.
  • 8. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ กล้วยน้าว้า เป็นกล้วยพันธุ์หนึ่ง พัฒนามาจากลูกผสมระหว่างกล้วย ป่ากับกล้วยตานี บริโภคกันอย่างแพร่หลาย ปลูกง่าย รสชาติดี สาหรับกล้วย น้าว้าแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ตามสีของเนื้อ คือ น้าว้าแดง น้าว้าขาว และน้าว้า เหลือง คนไทยรับประทานกล้วยน้าว้าทั้งผลสด ต้ม ปิ้ง และนามาประกอบ อาหาร นอกจากนี้ยังมีกล้วยน้าว้าดา ซึ่งเปลือกมีสีครั่งปนดา แต่เนื้อมีสีขาว รสชาติอร่อยคล้ายกล้วยน้าว้าขาว สาหรับกล้วยตีบเหมาะที่จะรับประทาน ผลสด เพราะเมื่อนาไปย่าง หรือต้มจะมีรสฝาด กล้วยน้าว้ามีชื่อพื้นเมืองอื่น เช่น กล้วยน้าว้าเหลือง กล้วยใต้หรือ กล้วยอ่อง เดิมจัดเป็นชนิด Musa sapientum
  • 9. การใช้ประโยชน์และสรรพคุณ กล้วยน้าว้าเมื่อเทียบกับกล้วยหอมและกล้วยไข่ กล้วยน้าว้าจะให้พลังงานมาก ที่สุด กล้วยน้าว้าห่ามและสุกมีธาตุเหล็กในปริมาณสูง ช่วยสร้างเม็ดเลือดแดง ป้องกัน โรคโลหิตจาง มีแคลเซียม ฟอสฟอรัส และวิตามินซีช่วยบารุงกระดูก ฟัน และเหงือก ให้แข็งแรง ช่วยให้ผิวพรรณดี มีเบต้าแคโรทีน ไนอาซีนและใยอาหาร ช่วยให้ระบบ ขับถ่ายคล่องขึ้น กินกล้วยน้าว้าสุก จะช่วยระบายท้องและสามารถรักษาโรคเลือดออก ตามไรฟันในเด็กเล็กได้ช่วยลดอาการเจ็บคอ เจ็บหน้าอกที่มีอาการไอแห้งร่วมด้วย โดยกินวันละ 4-6 ลูก แบ่งกินกี่ครั้ง ก็ได้กินกล้วยก่อนแปรงฟันทุกวันจะทาให้ไม่มี กลิ่นปาก และผิวพรรณดี เห็นผลได้ใน 1 สัปดาห์ กล้วยน้าว้าดิบและห่ามมีสารแทน นิน เพคตินมีฤทธิ์ฝาดสมาน รักษา อาการท้องเสียที่ไม่รุนแรงได้โดยกินครั้งละครึ่งผล หรือ 1 ผล อาการท้องเสียจะทุเลาลง นอกจากนี้จากการศึกษาวิจัยยังพบว่า มีผลในการ รักษาโรคกระเพาะได้อีกด้วย ตัวหนังสือมากไปไหมจ๊ะ ฮาๆๆ
  • 10.
  • 11. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ มะม่วงเป็นไม้ผลขนาดใหญ่ปลูกได้ทุกภาคของประเทศไทย ปลูกได้ ในดินทั่วไป ยกเว้นดินเค็มและดินที่มีน้าขัง ถ้าปลูกในดินร่วนซุยมี อินทรีย์วัตถุมาก และมีการระบายน้าดีก็จะยิ่งให้ผลผลิตดี นอกจากนี้มะม่วง ยังมีความต้านทานต่อสภาพแห้งแล้งได้ดี จะเริ่มให้ผลหลังจากการปลูกด้วย กิ่งทาบประมาณ 3 ปี สามารถให้ผลผลิตมากกว่า 15 ปี และผลผลิตจะ สูงขึ้นเฉลี่ยปีที่ 8 ประมาณ 50-100 กก./ต้น โดยเฉลี่ยอายุจากดอกบาน เก็บผลแก่อยู่ระหว่าง 90-115 วัน น้าหนักผลมะม่วงเฉลี่ยอยู่ในระหว่าง 260 กรัม ฤดูกาล ผลผลิตอยู่ระหว่างปลายเดือนมีนาคม-มิถุนายน การใช้ประโยชน์ - เนื้อไม้นามาทาเฟอร์นิเจอร์ - ใช้ยอดอ่อน ผลอ่อน มาประกอบอาหารแทนผัก สรรพคุณ - ผลมะม่วงดิบมีวิตามินซีสูง แก้เลือดออกตามไรฟัน เป็นต้น
  • 12. ชื่อสามัญ ลูกใต้ใบ ชื่ออังกฤษ Children under the leaves. ชื่อวิทยาศาสตร์ Ph yllanthus niruri
  • 13. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นพืชล้มลุก ต้นเล็ก ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตัวคล้ายใบประกอบ ทา ให้บางครั้งเกิดความสับสนว่าเป็นใบประกอบ ออกดอกตามข้อ หนึ่งข้อมี หนึ่งใบ โคนก้านใบติดกับลาต้น สีม่วงแดง ดอกสีเขียว ดอกออกตามซอก ก้านใบย่อยและห้อยลง ผลกลมเรียบ เมื่อแก่แตกเป็นสามพู การใช้ประโยชน์ เอาต้นลูกใต้ใบแห้งมาตัดเป็นท่อนสั้นๆใส่ลงไปในหม้อต้มยา รวม กับใบเตยแห้ง แล้ว ใส่น้าสะอาดลงไปพอท่วมตัวยา ต้ม เคี่ยว ไปให้เดือด ประมาณ 15 นาที เพื่อให้ตัวยาละลายออก มามากๆ รินเอายามาดื่มได้
  • 14. สรรพคุณ - ลูกใต้ใบมีฤทธิ์แก้โรคเบาหวาน - ขับปัสสาวะ เป็นยาบารุงธาตุ ขับประจาเดือน - ประโยชน์ทางยาและอาจจะมีฤทธิ์ต้านไวรัสเอดส์และไวรัสตับอักเสบบี - ลดความดันโลหิต ลดความเป็นพิษต่อตับ -ในบราซิลและเปรูใช้เป็นยารักษาโรคนิ่วในไต - สามารถยับยั้งการเกิดก้อนนิ่วในหนูที่กินน้าคั้นของพืชนี้ได้
  • 15. ชื่อทั่วไป สะเดา ชื่ออังกฤษSiamese neem tree, Nim , Margosa, Quinine ชื่อวิทยาศาสตร์Azadirachta indica A. Juss. var. siamensis Valeton
  • 16. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้ต้น สูง 5-10 เมตร เปลือกต้นแตกเป็นร่องลึกตามยาว ยอดอ่อนสี น้าตาลแดง ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ออกเรียงสลับรูปใบหอก กว้าง 3-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. โคนใบมนไม่เท่ากัน ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อย แผ่นใบ เรียบ สีเขียวเป็นมัน ดอก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่งขณะแตกใบอ่อน ดอกสีขาว นวล กลีบเลี้ยงมี 5 แฉก โคนติดกัน กลีบดอกโคนติดกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก ผล รูปทรงรี ขนาด 0.8 - 1 ซม. ผิวเรียบ ผลอ่อนสีเขียว สุกเป็นสีเหลือง ส้ม เมล็ดเดี่ยว รูปรี การใช้ประโยชน์ ส่วนที่ใช้: ดอกช่อดอก ขนอ่อน ยอด เปลือก ก้านใบ กระพี้ ยาง แก่น ราก ใบ ผล ต้น เปลือกราก น้ามันจากเมล็ด
  • 17. สรรพคุณ -ดอก ยอดอ่อน แก้พิษโลหิต กาเดา แก้ริดสีดวงในลาคอ คันดุจมีตัวไต่อยู่ บารุงธาตุ ขับลม ใช้เป็นอาหารผักได้ดี -ขนอ่อน ถ่ายพยาธิ แก้ริดสีดวง แก้ปัสสาวะพิการ -เปลือกต้น แก้ไข้เจริญอาหาร แก้ท้องเดิน บิดมูกเลือด -ก้านใบ แก้ไข้ทายารักษาไข้มาลาเรีย -กระพี้ แก้ถุงน้าดีอักเสบ -ยาง ดับพิษร้อน -แก่น แก้อาเจียน ขับเสมหะ -ราก แก้โรคผิวหนัง แก้เสมหะ ซึ่งเกาะแน่นอยู่ในทรวงอก -ใบ, ผล ใช้เป็นยาฆ่าแมลง บารุงธาตุ -ผล มีสารรสขม ใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ และยาระบาย แก้โรคหัวใจเดินผิดปกติ -เปลือกราก เป็นยาฝาดสมาน แก้ไข้ทาให้อาเจียน แก้โรคผิวหนัง -น้ามันจากเมล็ด - ใช้รักษาโรคผิวหนัง และยาฆ่าแมลง
  • 19. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ โกงกางใบเล็กเป็นไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง 25-35 ม. ระบบรากเป็นระบบรากแก้วมี รากเสริมออกมาเหนือโคนต้น 3-8 ม. รากที่โคนต้นหรือรากค้ายันลาต้นแตก แขนงระเกะระกะไม่เป็นระเบียบ ทามุมเกือบตั้งฉากกับลาต้นและหักเกือบเป็น มุมฉากลงดินเพื่อพยุงลาต้น เรือนยอดรูปกรวยคว่าแคบๆ ลาต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 30-50 ซม. เปลือกสีเทาคล้าหรือเทาอมชมพู แตกเป็น ร่องตื้นๆ ตามยาวทั่วไปและอาจมีร่องสั้นๆ แตกตามขวางคั่นระหว่างร่องยาว อย่างไม่เป็นระเบียบ เมื่อทุบเปลือกทิ้งไว้สักครู่จะพบว่าเปลือกในจะมีสีแสดงถึง แดงเลือดหมู ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงตรงข้ามสลับทิศทางตั้งฉาก ใบคู่ล่างๆ จะร่วงไปเหลือแต่คู่ใบ 2-4 คู่ เป็นกลุ่มที่ปลายกิ่ง รูปรี กว้าง 4-8 ซม. ยาว 7-18 ซม.
  • 20. ติ่งแหลมเล็กยาว แข็ง สีดา โคนรูปลิ่ม เส้นกลางใบด้านล่างสีแดง เรื่อๆ หรือชมพูอมแดง เส้นแขนงใบปรากฏรางๆ แผ่นใบหนา ก้านใบยาว 1.5-3.5 ซม. มักมีสีแดงเรื่อๆ หูใบแคบ ปลายแหลมยาวประกบกันเป็นคู่ ระหว่างคู่ใบ เห็นได้ชัดที่ปลายกิ่ง ยาว 4-9 ซม. สีชมพู ร่วงง่าย ใบเล็กกว่า โกงกางใบใหญ่ ดอกสมบูรณ์เพศ ช่อดอกสั้นมาก ออกตามง่ามใบที่ใบร่วงไปแล้ว ก้านช่อ ดอกยาว 0.6-2 ซม. ตรงปลายก้านช่อมีดอกที่ไม่มีก้านหรือมีก้านสั้น 1 คู่ ดอกตูมรูปไข่ ยาว 1.2-1.6 ซม. ใบประดับที่ฐานดอกติดกันคล้ายรูปถ้วย กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปไข่ กว้าง 6-8 มม. ยาว 0.7-1.2 ซม. กลีบหนา ปลาย แหลม ต่อมาจะโค้งลงเกือบแนบก้านดอก กลีบดอก 4 กลีบ ร่วงง่าย รูปใบ หอก กว้าง 1-2 มม. ยาว 0.7-1.2 ซม. สีเหลืองอมเขียวหรือเหลืองอ่อน ขอบ กลีบไม่มีขน เกสรเพศผู้12 อัน ก้านชูอับเรณูสั้นมากหรือไม่ปรากฏชัด
  • 21. ผลมีรูปไข่กลับยาว 2-3 ซม. สีน้าตาลคล้า ผิวค่อนข้างขรุขระ เมล็ด งอกได้ในขณะที่ผลยังติดอยู่กับต้น ลาต้นใต้ใบเลี้ยงรูปทรงกระบอก เรียง โค้งเล็กน้อย ยาว 30-40 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.2 ซม. มีขนาดโตขึ้นที่ ส่วนปลาย ผิวเป็นมัน สีเขียวหรือเขียวอมม่วง ค่อนข้างเรียบหรือมีตุ่ม ขรุขระกระจัดกระจาย เมื่อร่วงหล่นลงสู่พื้นจะปักลงในดิน การใช้ประโยชน์ -เปลือกให้น้าฝาดสีน้าตาลใช้ย้อมผ้า อวน -ลาต้นใช้ทาเสาเข็มในที่น้าทะเลขึ้นถึง เผ่าถ่าน -เนื่องจากเปลือกมีสารแทนนินและฟีนอล เป็นสารที่ใช้ทาสี, หมึกและยา จึงมีการนาไปสกัด สรรพคุณ -น้าจากเปลือกใช้ชะล้างแผล ห้ามเลือด แก้ท้องร่วง แก้บิด
  • 23. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ลักษณะ ลาต้น ไม้ยืนต้นสูง 10-35 เมตร เปลือกต้นค่อนข้างเรียบ สี น้าตาล ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปไข่หรือรูปรี กว้าง 3-7 เซนติเมตร ยาว 8-14 เซนติเมตร มีจุดน้ามันที่บริเวณขอบใบดอกช่อ สีขาวหรือสีเหลืองอ่อน ออกที่ซอก ใบหรือปลายยอด ฐานรองดอกเป็นรูปกรวย กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ เกสรตัวผู้มีจานวนมาก ออกดอกและติดผลราวเดือนธันวาคม-มิถุนายน ผลเป็นผล สด รูปรีแกมรูปไข่ ฉ่าน้า มีสีม่วงดา ผิวเรียบมัน มีขนาด 1 เซนติเมตร ผลแก่ ราว เดือนพฤษภาคม เมล็ด มี 1 เมล็ด รูปไข่ การใช้ประโยชน์ -ผล ใบ นามารับประทานได้ สรรพคุณ -แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ
  • 25. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม่พุ่ม สูง 2-4 เมตร กิ่งอ่อนมีหนาม ใบประกอบชนิดมีใบย่อยใบ เดียว เรียงสลับ รูปไข่ รูปวงรีหรือรูปไข่แกมขอบขนานกว้าง 3-5 ซม. ยาว 4- 8 ซม. เนื้อใบมีจุดน้ามันกระจาย ก้านใบมีครีบเล็ก ๆ ดอกเดี่ยวหรือช่อ ออก ที่ปลายกิ่งและที่ซอกใบ กลีบดอกสีขาว กลิ่นหอม ร่วงง่าย ผลเป็นผลสด กลมเกลี้ยง ฉ่าน้า การใช้ประโยชน์และสรรพคุณ ตารายาไทยใช้น้ามะนาวและผลดองแห้งเป็นยาขับเสมหะแก้ไอ แก้ โรคเลือดออกตามไรฟัน เพราะมีวิตามินซี น้ามะนาวเป็นกระสายยาสาหรับ สมุนไพรที่ใช้ขับเสมหะเช่นดีปลี
  • 27. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้นยอเป็นพืชพื้นเมืองในแถบโพลีเนเชียตอนใต้ แล้วแพร่กระจายไปยัง บริเวณอื่นๆ ภาษามาเลย์เรียกเมอกาดู ในหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกเรียกนูนเป็น ไม้ยืนต้น ต้นสี่เหลี่ยม เปลือกต้นเรียบ ใบสีเขียวเข้ม ดอกออกเป็นช่อที่ซอกใบ ฐาน ดอกติดกันแน่นเป็นทรงกลม ผลทรงยาวรี เมื่ออ่อนสีเขียว พอสุกเปลี่ยนเป็นสีขาว นวล เนื้อนุ่ม รสเผ็ด กลิ่นแรง มีเมล็ดจานวนมาก สีน้าตาลเข้ม การใช้ประโยชน์ ใบสดใช้สระผม กาจัดเหา ผลยอแก่มี asperuloside แก้อาการ คลื่นไส้อาเจียน และแอนโทรควิโนน ช่วยขับพยาธิ แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ในโพลีเน เซีย ใช้ผลอ่อน ใบและรากใช้รักษาความผิดปกติของประจาเดือน ความระคายเคือง ในทางเดินอาหาร เบาหวาน โรคเกี่ยวกับตับ และการติดเชื้อในระบบขับถ่าย ปัสสาวะ
  • 28. สรรพคุณ - น้าลูกยอ ใช้ดื่มเป็นยาลดความดันโลหิต ทาให้นอนหลับ - ป้องกันโรคภูมิแพ้ลูกยอบดประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรตและเส้นใย สารอาหารและสารเคมีในผลยอ ใบอ่อนนามาลวกกินกับน้าพริก แกงจืด แกงอ่อม หรือใช้รองกระทงห่อ หมก ผัดไฟแดง ลูกยอสุกกินกับเกลือหรือกะปิ ลูกห่ามใช้ตาล้มตา ปัจจุบัน มีการนาลูกยอไปคั้นเป็นน้าลูกยอ ใช้ดื่มเป็นยาลดความดันโลหิต ทาให้ นอนหลับ ป้องกันโรคภูมิแพ้ลูกยอบดประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรตและเส้น ใย มีธาตุอาหารที่พบในน้าลูกยอเล็กน้อย ในลูกยอบดมี วิตามินซี ไนอะซิน (วิตามิน B3), เหล็ก และ โพแทสเซียม วิตามินเอ, แคลเซียม และ โซเดียม เมื่อคั้นเป็นน้าจะเหลือแต่วิตามินซี ในปริมาณครึ่งหนึ่งของส้มดิบ แต่มี โซเดียมสูงกว่า ลูกยอมีสารเคมีหลายชนิด เช่น ลิกนัน โพลีแซคคาไรด์ ฟลา โอนอยด์ อีริดอยด์ กรดไขมัน สโคโปเลติน และ อัลคาลอยด์
  • 30. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ มะขามเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่แตกกิ่งก้านสาขา มากไม่มีหนาม เปลือกต้นขรุขระและหนา สีน้าตาลอ่อน ใบ เป็นใบ ประกอบ ใบเล็กออกตามกิ่งก้านใบเป็นคู่ ใบย่อยเป็นรูปขอบขนาน ปลายใบ และโคนใบมน ประกอบ ด้วยใบย่อย 10–15 คู่ แต่ละใบย่อยมีขนาดเล็ก กว้าง 2–5 มม. ยาว 1–2 ซม. ออกรวมกันเป็นช่อยาว 2–16 ซม. ดอก ออก ตามปลายกิ่ง ดอกมีขนาดเล็ก กลีบดอกสีเหลืองและมีจุดประสีแดง/ม่วงแดง อยู่กลางดอก ผล เป็นฝักยาว รูปร่างยาวหรือโค้ง ยาว 3-20 ซม. ฝักอ่อนมี เปลือกสีเขียวอมเทา สีน้าตาลเกรียม เนื้อในติดกับเปลือก เมื่อแก่ฝัก เปลี่ยนเป็นเปลือกแข็งกรอบหักง่าย สีน้าตาล เนื้อในกลายเป็นสีน้าตาลหุ้ม เมล็ด เนื้อมีรสเปรี้ยว และ/หรือหวาน ซึ่งฝักหนึ่ง ๆ จะมี/หุ้มเมล็ด 3–12 เมล็ด เมล็ดแก่จะแบนเป็นมัน และมีสีน้าตาล
  • 31. ใบของมะขามเป็นใบประกอบแบบขนนก (pinnately compound leaves) ใบย่อยแต่ละใบแยกออกจากก้าน 2 ข้างของแกนกลาง คล้ายขน นก ถ้าปลายสุดของใบจะเป็นใบย่อยเพียงใบเดียวเรียก แบบขนนกคี่ (odd pinnate) เช่น กุหลาบ อัญชัน ก้ามปู ถ้าสุดปลายใบมี 2 ใบ เรียกแบบขน นกคู่ (even pinnate) เช่น มะขาม การใช้ประโยชน์ ส่วนที่ใช้เป็นยา : เนื้อในฝักแก่ (มะขามเปียก) เปลือกต้น (ทั้งสด หรือแห้ง) เนื้อในเมล็ด
  • 32. สรรพคุณ แก้อาการท้องผูกใช้เนื้อฝักแก่หรือมะขามเปียก 10–20 ฝัก (หนักประมาณ 70–150 กรัม) จิ้มกับเกลือรับประทาน หรือใส่เกลือเติมน้าคั้นดื่มแก้อาการท้องเดิน ใช้เปลือกต้น ทั้งสดหรือแห้งประมาณ 1–2 กามือ (15–30 กรัม) ต้มกับน้าปูนใส หรือน้ารับประทานถ่ายพยาธิลาไส้ใช้เมล็ดคั่วกะเทาะเปลือกเอาออกเนื้อในเมล็ดแช่ น้าเกลือจนนุ่ม รับประทานครั้งละ 20–30 เมล็ด เหมาะสาหรับถ่ายพยาธิไส้เดือนแก้ ไอขับเสมหะ
  • 33. ชื่อทั่วไป พริก ชื่ออังกฤษ Chilli peppers, chili, chile หรือ chilli ชื่อวิทยาศาสตร์ Capsicum frutescens L
  • 34. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ พริกมีแหล่งกาเนิดในอเมริกาเขตร้อน ตั้งแต่ก่อนโคลัมบัสพบทวีปอเมริกา พันธุ์พริกที่นิยมปลูกในปัจจุบันถูกนามาจากตัวอย่างที่เก็บมาเพียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เมื่อ เทียบกับการกระจายตัวของพันธุกรรมในธรรมชาติ พริกพันธุ์ปลูกแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม ใหญ่ ๆ ได้แก่ Capsicum baccatum และ C. pubescens R. and P. ซึ่งแยกออกจากกันได้อย่างชัดเจนโดยลักษณะทางพฤกษศาสตร์ และอีก กลุ่มหนึ่งที่รวม ๆ กันอยู่ปัจจุบันยอมรับให้แยกอีก 3 ชนิด(species) ด้วยกัน ได้แก่ C. annuum L., C. frutescens L. และ C. chinense Jacq.
  • 35. 1. Capsicum annuum L. เป็นชนิดที่ปลุกมากและมีความสาคัญมากที่สุดเมื่อเทียบกับพริก ชนิดอื่น ๆ มีแหล่งดั้งเดิมอยู่ที่อเมริกากลาง ได้แก่ ประเทศเม็กซิโกและ ประเทศใกล้เคียง พริกชนิดนี้เห็นได้ชัดว่าแตกต่างจากชนิดอื่น ได้แก่ การที่ มีดอกเดี่ยวและผลเดี่ยว ๆ และมีกลีบดอกสีขาว จากการสารวจในประเทศ ไทยพบว่า พริก C. annuum ที่ใช้เป็นพันธุ์ปลูกมีมาก สายพันธุ์ที่ดี ที่สุดเมื่อเทียบกับชนิดอื่น รวบรวมได้31 สายพันธุ์ ชื่อสายพันธุ์เรียกตาม ชื่อพื้นเมืองได้แก่ พริกชี้ฟ้า พริกชี้ฟ้าใหญ่ พริกจินดา พริกแดง พริกฟักทอง พริกขี้หนู พริก
  • 36. 2. Capsicum chinense Jacq. เป็นพริกที่มีความสาคัญในการใช้เป็นพันธุ์ปลูกมากในแถบภูเขา แอนดีสในอเมริกาใต้การกระจายพันธุ์ของพริกชนิดนี้มีมากในบริเวณอเม ซอน พริกในกลุ่มนี้ที่มีผลใหญ่เนื้อหนา ใช้รับประทานสด พริกที่เนื้อบางใช้ ทาพริกแห้ง ส่วนพริกผลเล็กมีกลิ่นและรสเผ็ดจัดเชื่อว่ามีรสเผ็ดที่สุดใน พริกที่ปลูกทั้งหมด พริกนี้ไม่นิยมในเอเชียแถบร้อน ในประเทศไทยสายพันธุ์พริกที่เก็บ รวบรวมมีพริกชนิดนี้อยู่ 18 สายพันธุ์ มีชื่อเรียกว่า พริกขี้หนู พริกขี้หนู แดง พริกกลาง พริกเล็บมือนาง พริกขี้หนูหอม พริกสวนและพริกใหญ่ เป็น ต้น พริกพวกนี้มีลักษณะทางพันธุศาสตร์คล้ายกับ C. annuum และ C. frutescens สีกลีบดอกสีเขียวอ่อน มีดอก 2 ดอกหรือมากกว่า 2 ดอกต่อข้อ เมื่อผลแก่จะมีรอยคอดที่กลีบเลี้ยงติดกับก้านของผล
  • 37. 3. Capsicum baccatum L. พริกชนิดนี้มีถิ่นกาเนิดอยู่ที่ประเทศโบลิเวีย มีหลักฐานทาง โบราณคดีของประเทศเปรูว่าพริกชนิดนี้ C. baccatum var. pendulum ปลูกโดยคนโบราณก่อนคริสต์ศตวรรษถึง 2500 ปี การ กระจายของพริกชนิดนี้พบในประเทศเปรู ประเทศโบลิเวีย ประเทศ อาร์เจนตินา และประเทศบราซิลตอนใต้ต่อจากนั้นได้กระจายไปยังตอนใต้ ของประเทศสหรัฐอเมริการัฐฮาวาย และประเทศอินเดีย ในศตวรรษที่ 17 มีการกระจายของพริกชนิดนี้ไปถึงยุโรป พริกนี้ไม่เป็นที่นิยมปลูกในทวีป เอเชียและแอฟริกา ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ C. annuum และ C. frutescens ได้รับความนิยมอยู่แล้ว จากการรวบรวมพันธุ์พริกใน ประเทศไทยสงสัยว่ามีพริกชนิดนี้ปลูกอยู่สายพันธุ์หนึ่ง พริกพวกนี้มีความ แตกต่างจากพริกชนิดอื่นที่มีดอกสีขาวและมีจุดสีเหลืองที่กลีบดอกขาวใน กลุ่มพริกนี้ยังมี C. pendulum และ C. microcarpum ที่ถูกจัด ให้อยู่ใน C. baccatum ด้วย
  • 38. 4. Capsicum frutescens L. กาเนิดพริกชนิดนี้อยู่ในอเมริกาใต้เช่นเดียวกับชนิดอื่นและพบ หลักฐานทางโบราณคดีในประเทศเปรูก่อนคริสต์ศตวรรษถึง 1200 ปี พบว่า มีการกระจายพันธุ์อยู่ในประเทศบราซิลตอนใต้ไปถึงตอนกลางของ ทวีปอเมริกา หมู่เกาะ west indies ทวีปแอฟริกาและทวีปเอเชีย พันธุ์ที่ ปลูกในอเมริกาเป็นผลชนิดโต เรียกว่า Tobasco pepper ซึ่งเป็น พันธุ์ที่รู้จักกันแพร่หลายนอกจากนี้ยังมีพันธุ์ผลโตอื่น ๆ อีก มีปลูกแถบ ทะเลแคริบเบียน ทวีปยุโรปและทวีปเอเชีย แต่พันธุ์ที่นิยมปลูกในทวีปเอเชีย มีผลเล็ก มีความเผ็ดมาก บางแห่งใช้พริกพวกนี้ในการสกัดสาร ในประเทศ ไทย มีรายงานว่ามีพริกชนิดนี้ 3 สายพันธุ์ ได้แก่ พริกชี้ฟ้า พริกเกษตร และ พริกขาว พริกชนิดนี้มีลักษณะเด่นที่มีดอกเดี่ยว แต่พริกพันธุ์ป่าของ C. frutescens มี 2-3 ดอกในแต่ละข้อ ดอกมีสีเขียวอ่อน ผลพริกของ พันธุ์ป่าใช้บริโภคได้และมีรสเผ็ด
  • 39. 5. Capsicum pubescens Ruiz & Pavon พริกชนิดนี้เป็นพริกที่ปลุกบนพื้นที่สูงเนื่องจากทนต่อความหนาว ได้พบว่าปลุกอยู่ในแถบเขาแอนดีสและบนที่สูงของอเมริกากลาง แต่ก็พบ พริกชนิดนี้ในที่ราบเช่นเดียวกันกับ C. annuum , C. baccatum และ C. chinense แหล่งกาเนิดของพริกชนิดนี้ไม่ค่อยติดผลได้ง่ายเช่น พริกชนิดอื่นเมื่อปลูกในแถบร้อนพันธุ์ที่ใช้ปลูกมีลักษณะการกระจายน้อย กว่าพืชชนิดอื่นที่กล่าวมาข้างต้น ผลของพริกมีเนื้อหนา มีเปอร์เซ็นต์ของน้า สูง แต่มีรสเผ็ด ลักษณะเดิมของพริกชนิดนี้ได้แก่ กลีบดอกสีม่วง ไม่มีจุด และเมล็ดสีดา จากการสารวจและรวบรวมพันธุ์พริกในประเทศไทยอาจมี พริกชนิดนี้อยู่เพียงสายพันธุ์เดียว เรียกว่า พริกขาวดา พริกมีดอกทั้งดอกเดี่ยวและดอกช่อ ช่อละ 2-3 ดอก ก้านช่อดอกตั้งตรง (erect) หรือโน้มลง (pendant) ดอกเป็นดอกสมบูรณ์มีเกสรตัวผู้ (stamen) แต่การผสมข้ามพันธุ์เกิดได้ในเปอร์เซ็นต์ที่สูง
  • 40. การใช้ประโยชน์และสรรพคุณ พริกมีวิตามินซี สูง เป็นแหล่งของกรด ascorbic ซึ่งสารเหล่านี้ ช่วยขยายเส้นโลหิตในลาไส้และกระเพาะอาหารเพื่อให้ดูดซึมอาหารดีขึ้น ช่วยร่างกายขับถ่าย ของเสียและนาธาตุอาหารไปยังเนื้อเยื่อของร่างกาย (tissue) สาหรับพริกขี้หนูสดและพริกชี้ฟ้าของไทย มีปริมาณวิตามิน ซี 87.0 - 90 มิลลิกรัม / 100 g นอกจากนี้พริกยังมีสารเบต้า - แคโรทีนหรือวิ ตามินเอ สูง (พริกขี้หนูสด 140.77 RE ) พริกยังมีสารสาคัญอีก 2 ชนิด ได้แก่ Capsaicin และ Oleoresinโดยเฉพาะสาร Capsaicin ที่ นามาใช้ในอุตสาหกรรม อาหาร และผลิตภัณฑ์รักษาโรค ในอเมริกามีผลิตภัณฑ์จาหน่ายในชื่อ Cayenne สาหรับฆ่าเชื้อแบคทีเรียในกระเพาะอาหาร สาร Capsaicin ยังมีคุณสมบัติทาให้เกิดรสเผ็ด ลดความเจ็บปวด
  • 41. ของกล้ามเนื้อ หัวไหล่ แขน บั้นเอว และส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และมี ผลิตภัณฑ์จาหน่ายทั้งชนิดเป็นโลชั่นและครีม ( Thaxtra - P Capsaicin) แต่การใช้ในปริมาณที่มากเกินไป อาจมีผลกระทบต่อ อาการหยุดชะงักการทางานของกล้ามเนื้อได้เช่นกัน เพื่อความปลอดภัย USFDA ได้กาหนดให้ใช้สาร capsaicin ได้ที่ความเข้มข้น 0.75 % สาหรับเป็นยารักษาโรค
  • 42. ชื่อทั่วไป ตาลึง ชื่ออังกฤษ Ivy Gourd ชื่อวิทยาศาสตร์ Coccinia grandis (L.) Voigt
  • 43. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ลาต้นเป็น เถาไม้เลื้อยเนื้อแข็ง ใบเป็น ใบเดี่ยว มีลักษณะเป็น 3 แฉก หรือ 5 แฉก กว้างและยาวประมาณ 4-8 ซม. โคนใบมีลักษณะเป็นรูป หัวใจ มีมือเกาะยื่นออกมาจากที่ข้อ ดอกเป็น ดอกเดี่ยวหรือดอกคู่ มีลักษณะ เป็นรูประฆัง กลีบดอกสีขาว แยกเพศอยู่คนละต้น ดอกออกตรงที่ซอกใบ ลักษณะของผลเป็นวงรีทรงยาวสีเขียวอ่อน เมื่อยามแก่จัดจะเป็นสีแดง เป็น ที่ชื่นชอบของ นกนานาชนิด การใช้ประโยชน์ สามารถนาใบตาลึงมาต้มกับน้าแกงใส่กับหมูสับ นาใบตาลึงมาผัด ผักรวม หรือ นาไปประกอบอาหารอย่างอื่นก็ได้เหมือนกัน
  • 44. สรรพคุณ - ใบใช้ในการแก้ไข้ตัวร้อน ตาแดง ตาเจ็บ - เถานาน้าต้มจากเถาตาลึงมาหยอดตาแก้ตาแดง ตาฟาง - ดอกตาลึงช่วยทาให้หายจากอาการคันได้ - ใช้แก้อาการอาเจียน ตาฝ้า - น้ายางจากต้นและใบช่วยลดน้าตาลในเลือด
  • 46. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นพืชล้มลุก มีเถายาวเลื้อยปกคลุมดิน ลาต้นมีลักษณะกลมหรือ เป็นเหลี่ยมมน ผิวเป็นร่องตามความยาว มีขนอ่อน ๆ มีหนวดสาหรับยึด เกาะยึดบริเวณข้อ ใบเป็นใบเดี่ยว มีขนาดใหญ่ ออกเรียงสลับกัน โคนใบเว้า คล้ายรูปหัวใจ ขอบใบหยักเป็นเหลี่ยม 5 เหลี่ยม มีขนทั้ง 2 ด้านของตัวใบ ดอกเป็นดอกเดี่ยวสีเหลืองมีขนาดใหญ่ ลักษณะคล้ายระฆังหรือกระดิ่งออก บริเวณง่ามใบผลมีขนาดใหญ่ มีลักษณะเป็นพูเล็ก ๆ โดยรอบเปลือกนอก ขรุขระและแข็ง มีสีเขียวและจะเปลี่ยนเป็นสีเขียวอ่อนและ สีเหลืองเข้ม และสีเหลืองตามลาดับ เนื้อภายในมีสีเหลืองอมเขียว สีเหลือง และสีส้ม เมล็ดมีจานวนมากซึ่งอยู่ตรงกลางผลระหว่างเนื้อฟู ๆ มีรูปร่างคล้ายไข่ แบน มีขอบนูนอยู่โดยรอบ
  • 47. การใช้ประโยชน์และสรรพคุณ เนื้อฟักทองประกอบด้วยแป้ง โปรตีน ไขมัน ฟอสฟอรัส แคลเซียม เหล็ก และ สารเบต้า - แคโรทีน ซึ่งเป็นสารที่ร่างกายนาไปสร้าง วิตามิน เอ เมล็ดมีฟอสฟอรัสในปริมาณสูง รวมทั้งแป้ง โปรตีน และน้า ประมาณร้อยละ 40 ส่วนเมล็ดแห้งมีสารคิวเคอร์บิทีน (Cucurbitine) เป็นสารสาคัญ ซึ่งมีฤทธิ์ฆ่าพยาธิได้ผลดี นอกจากนั้น ฟักทองสามารถกระตุ้นการหลั่งอินซูลิน ซึ่งช่วยป้องกันโรคเบาหวาน ความ ดันโลหิต ควบคุมระดับน้าตาลในเลือด บารุงนัยน์ตา ตับและไต เมล็ดใช้ เป็นยาขับพยาธิตัวตืด ป้องกันการเกิดนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ และช่วยดับ พิษปอดบวม รากช่วยแก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย ยางช่วยแก้พิษผื่นคัน เริม และงูสวัด
  • 49. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ชบาเป็นไม้พุ่มขนาดใหญ่ สูงประมาณ 2 - 4 เมตร แตกกิ่งก้าน เป็นพุ่มแน่น เปลือกสีเทาปนน้าตาล ใบเดี่ยว ออกเวียนสลับ รูปไข่ ปลายใบ แหลม โคนใบสอบ ขอบใบจักฟันเลื่อย ดอกออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง รูปแตร มีทั้งกลีบดอกชั้นเดียวและกลีบดอกซ้อน ดอกออกตลอดปี ปัจจุบัน ได้มีการผสมพันธุ์ใหม่มากมาย ทาให้ดอกมีมากหลากหลายสีเป็นที่ชื่นชอบ ของคนชอบดอกชบา มีสี ขาว ชมพู ส้ม แดง เหลือง และพันธุ์ใบด่าง ลักษณะผลแห้งแตก รูปกลมถึงยาว แต่มักไม่ค่อยพบผล
  • 50. การใช้ประโยชน์และสรรพคุณ ในคัมภีร์อายุรเวท พูดถึงสรรพคุณของดอกชบาว่า ช่วยฟอกโลหิต บารุง จิตใจให้แช่มชื่น บารุงผิวพรรณ นอกจากนี้ยังช่วยรักษาและบรรเทาโรค เกี่ยวกับไต และโดยเฉพาะโรคเกี่ยวกับระบบสืบพันธุ์ของผู้หญิง เช่นเสีย เลือดประจาเดือนมากเกินไป ประจาเดือนมาไม่สม่าเสมอ รวมทั้งปัญหาเรื่อง ระดูขาวไม่เพียงแต่ดอกชบาเท่านั้นที่ใช้เป็นยาดีของอินเดีย ส่วนอื่นๆของ ชบายังใช้เป็นยารักษาโรคได้ด้วย อย่างเช่น เปลือกต้นชบาใช้รักษาโรค ผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรา ใบชบาใช้แก้แผลไฟไหม้น้าร้อนลวก บารุงผม ประจาเดือนมาไม่สม่าเสมอ มีระดูขาว - นาดอกชบาสด 4 ดอกมาตาให้แหลก แล้วกินตอนท้องว่างในตอนเช้าติดต่อกัน7 วัน นาดอกชบามาตากให้แห้งใน ที่ร่ม เมื่อแห้งสนิทดีแล้ว เอามาบดเป็นผง กินครั้งละ1 ช้อนชาตอนเช้า ติดต่อกันนาน 7 วัน
  • 51. ประจาเดือนไม่มา ใช้ดอกชบา 3 ดอกบดให้แหลก แล้วผสมกับน้ามะนาวสัก 2 ช้อน โต๊ะ หรือผสมกับนม 1 แก้ว แล้วดื่มตอนท้องว่างตอนเช้า จะช่วยปรับเรื่อง ประจาเดือนได้เอาเฉพาะกลีบดอกชบาผสมกับน้าตาลอ้อยหรือน้าตาลปี๊บ อย่างละเท่าๆ กันใส่ในโถแก้วมีฝาปิด แล้วเอาโถแก้วออกตากแดดติดต่อกัน สัก 21 วัน น้าตาลจะละลายผสมกับดอกชบา พอครบกาหนดแล้วเอามากิน ครั้งละ 2 ช้อนชา วันละ 2 ครั้ง นานสองถึงสามสัปดาห์ ยาสูตรนี้ถือว่า เป็นยาบารุงประจาเดือน ดับร้อนและแก้ไข้ ใช้ดอกชบา 4 ดอกแช่ในน้าต้มสุก 2 แก้ว แล้วดื่มต่างน้า จะช่วย ดับร้อนผ่อนกระหายและแก้ไข้ได้ดี รักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรา เช่น ฮ่องกงฟุต - ใช้เปลือกต้น 50 กรัม แช่ในแอลกอฮอล์ 150 ซีซี นานหนึ่งวัน แล้วกรองเอาแต่น้ายาไว้ทาบริเวณที่เป็นฮ่องกงฟุต
  • 52. รักษาแผลไฟไหม้น้าร้อนลวก ใช้ใบชบาหรือฐานดอกก็ได้มาตาให้แหลก แล้วเอามาพอกบริเวณที่ ถูกไฟไหม้น้าร้อนลวก น้าเมือกจากใบจะช่วยรักษาแผลได้เป็นอย่างดี บารุงผม ใช้ใบชบาหนึ่งกามือมาล้างให้สะอาด ตาให้แหลก เติมน้าเล็กน้อย แล้วคั้นเอาแต่น้า กรองเอากากทิ้ง แล้วใช้น้าเมือกจากใบชบาสระผม ช่วย ชาระล้างสิ่งสกปรก และบารุงเส้นผมให้ดกดาเป็นเงางาม
  • 53. ชื่อทั่วไป กระถิ่นไทย ชื่ออังกฤษ Leucaena leucocephala ชื่อวิทยาศาสตร์ Leucaena leucocephala de wit
  • 54. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ กระถินเป็นไม้ยืนต้น สูงมากกว่า 10 เมตรใบเป็นใบประกอบ ก้านใบยาว 15-30 ซม. แตกออกเป็นก้านย่อย 3-10 คู่ ก้านยาวกว่า 10 ซม. ใบมี ขนาดเล็กคล้ายใบมะขาม จานวน 5-20 คู่ ใบรูปขนานปลายแหลม ยาว 6-21 มม. กว้าง 1.5-5มม. ดอกเป็นช่อขนาดเล็ก กลมฟู สีขาวมีกลิ่น หอมเล็กน้อย ฝักแบน ยาว 12-18 ซม. กว้างประมาณ 2 ซม. มีเมล็ด ภายในเรียบ 15-30 เมล็ด
  • 55. การใช้ประโยชน์ ส่วนที่เป็นผัก/ฤดูกาล ยอดอ่อน ใบอ่อน ฝักอ่อน และเมล็ดอ่อน ออกตลอดปี แต่นิยม รับประทานยอดกระถินในฤดูฝน เพราะรสชาติมัน กรอบอร่อย สรรพคุณ กระถิ่นรับประทานแก้ท้องร่วง สมานแผล ห้ามเลือด ฝักของกระถินเป็นยา ฝาดสมาน และเมล็ดเป็นยาถ่ายพยาธิได้เปลือกของกระถินมีรสฝาด เป็นยาฝาด สมาน รากใช้ปรุงเป็นยาอายุวัฒนะ ขับลม ขับระดูขาว
  • 56.
  • 57.
  • 58. ผลการศึกษา สามารถสารวจพบพืชชนิดอื่นๆ จานวน 86 ชนิด เมื่อทาการจาแนกตาม ลักษณะวิสัยของต้นไม้จาแนกเป็นพืชอื่นๆ 86 ชนิด และสมุนไพร 14 ชนิดดังรูป หมายเหตุ เราไม่สามารถทราบได้ว่าพืชชนิดอื่นๆ มีกี่ชนิด