SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 39
Descargar para leer sin conexión
แผนการจัดการเรียนรู
                                 เพือเสริมสรางคุณลักษณะอยูอยางพอเพียง
                                    ่                      
                                       วิชาคณิตศาสตร รหัสวิชา ค32301
                            กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
หนวยที่ 1 ชื่อหนวย กรณททสอง แผนที่ 3 เรื่อง การดําเนินการของจํานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑที่สอง
                                          ี่
        ครั้งที่ ..... วันที.่ .............. เดือน ............................พ.ศ. ............ …………..เวลา 1 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ค 1.1 : เขาใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและใชจานวนในชีวิตประจําวัน
                                                                  ํ
มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ ศูนย และจํานวนตรรกยะ
2. ผลการเรียนรู
บวก ลบ คูณ และหาร จํานวนจริงซึงเกี่ยวกับกรณฑทสองทีกําหนดให
                               ่              ี่ ่
3.สาระสําคัญ
         เมื่อ a เปนจํานวนจริงใด ๆ และ แทนคาสัมบูรณของ a
          การบวกและการคูณจํานวนจริงมีสมบัติการสลับที่ สมบัตการเปลี่ยนหมู และการแจกแจง
                                                             ิ
                 สมบัตการสลับทีสําหรับการบวก
                       ิ            ่
                         สมบัตการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวก
                              ิ
                สมบัติการสลับที่สําหรับการคูณ
                         สมบัตการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวก
                                ิ           
                         สมบัตการแจกแจง
                                  ิ
4. จุดประสงคการเรียนรู
ดานความรู (K)
            1. นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการบวก ลบ คูณและหารจํานวนจริงเกี่ยวกับกรณฑทสองได
                                                                                   ี่
            2. นักเรียนสามารถอธิบายการแยกตัวประกอบของจํานวนจริงได
ดานกระบวนการ (P)
             1. นักเรียนสามารถบวก ลบ คูณและหารจํานวนจริงเกี่ยวกับกรณฑที่สองได
             2. นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบของจํานวนจริงได
ดานคุณลักษณะ (A)
           1. นักเรียนมีการทํางานอยางเปนระบบ
           2. นักเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง
          3. นักเรียนมีความตรงตอเวลา
       4. นักเรียนมีความกระตือรือรนสนใจในการเรียน

5. สาระการเรียนรู
      - การดําเนินการของจํานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑที่สอง
           การบวกและคูณจํานวนในรูป a เมื่อ a  0 มีสมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนกลุม
และสมบัติการแจกแจงดังนี้
           สมบัตการสลับทีสําหรับการบวก
                 ิ         ่
              a+ b                =             b+ a
           สมบัตการเปลี่ยนกลุมสําหรับการบวก
                   ิ
           ( a + b )+ c           =             a +( b + c )
           สมบัตการสลับทีสําหรับการคูณ
                     ิ       ่
              a b                =             b a
           สมบัตการเปลี่ยนกลุมสําหรับการคูณ
                       ิ
           ( a  b ) c           =             a ( b  c )
           สมบัตการแจกแจงิ
              a ( b + c )        =           ( a  b )+( a  c ) และ
           ( b + c ) a           =           ( b  a )+( c  a )

6.สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
         1.ความสามารถในการสือสาร
                             ่
          2.ความสามารถในการคิด
          3.ความสามรถในการแกปญหา
                               
7.ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค
       1. มีวินัย
       2. ใฝเรียนรู
       3. อยูอยางพอเพียง
8. ชิ้นงาน/ภาระงาน
           1. ใบกิจกรรม
           2. แบบฝกปฏิบัติกจกรรม
                            ิ
           3. สมุดบันทึกแบบฝกหัด
9. กิจกรรมการเรียนรู
    1. ครูสนทนากับนักเรียนวาสมบัติ        a b  ab
                              a       a
 เมื่อ   a  0 , b  0 และ               เมื่อ   a  0, b  0   เมื่อใชรวมกับสมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยน
                              b       b
หมู และสมบัติการแจกแจง ทําใหการดําเนินการของจํานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑที่สองทําไดสะดวกขึ้น และทํา
ใหมีวิธีการทีหลากหลายการแกปญหาแตละขอ ควรเลือกใชวิธีการแตกตางกันในการแกปญหาเดียวกันได
                ่
ดังตัวอยาง จงหาผลลัพธ 2  ( 2  12 )
วิธีที่ 1      เนื่องจาก 2  ( 2  12 ) = ( 2  2 )  ( 2  12 )
                                                      = 2  24
                                                      = 22 6
วิธีที่ 2      เนื่องจาก 2  ( 2  12 ) = ( 2  2 )  ( 2  12 )
                                                                  = 2  ( 2  2 3)
                                                      = 22 6
               ดังนั้น 2  ( 2  12 ) = 2  2 6
               ตอบ 2  2 6
     2. นักเรียนศึกษาใบความรูที่ 1 เรือง“การคูณและการหาร” ในการคิดเกี่ยวกับลําดับขั้นตอนในการทํางาน
                                         ่
และการคิดหาคําตอบดวยโดยใชสมบัติการสลับทีการคูณ และการเปลี่ยนหมูการคูณ ครูถามใหนักเรียนได
                                                   ่
อภิปรายและเปรียบเทียบทั้งคําตอบที่ไดและวิธีคิดของแตละคน
        3. ครูใหนักเรียนแบงเปนกลุม กลุมละ 7 คน พรอมกับแจกใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง “หาผลคูณไดอยางไร”
                                             
ใหนักเรียนทุกคน แลวใหนักเรียนในแตละกลุมคิดวิเคราะหหาคําตอบรวมกันเพื่อทําความเขาใจปญหา และ
วางแผนกําหนดแนวคิดในการหาคําตอบของปญหา กอนลงมือแสดงวิธีทําเพื่อหาคําตอบของปญหาขณะที่
นักเรียนคิดหาคําตอบรวมกันครูสามารถเขาไปใหคําแนะนําและชวยเสนอประเด็นในการหาคําตอบ รวมถึงแจก
ประเด็นคําถามเพื่อกระตุนใหเกิดการคิดหาคําตอบรวมกันใหกับนักเรียนบางกลุมเทาที่จําเปน
                                                                              
         4. ครูใหนักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนที่มจิตอาสาออกมารายงานเกี่ยวกับแนวคิด/วิธีทํา ในการแกปญหา
                                                 ี
ตาม ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง“หาผลคูณไดอยางไร” ใหนําเสนอผลการแกปญหาหนาชั้นเรียนโดยครูสุมมา 2 กลุม
กลุมละ 1 คน ออกมานําเสนอคนละประเด็นและกําหนดเวลา 5 นาทีในการใชเวลาใหเพียงพอและทันเวลาที่
กําหนด เพื่อใหเกิดภูมิคุมกันในการทํางานแตละครั้ง โดยไมซ้ํากับกลุมเดิม และนักเรียนที่เหลือสังเกตแนวคิดของ
เพื่อน ตลอดจนใหกลุมทีมีแนวคิดที่แตกตางออกมานําเสนอสวนที่แตกตางจากกลุมแรก ๆ ครูและนักเรียน
                             ่
รวมกันสรุปอักครัง ครูตรวจผลงานกลุม
                     ้                     
5. ครูแจกใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง“หาผลลัพธไดอยางไร” ซึ่งปรับขยายจากปญหาตามใบกิจกรรมที่ 1 “หา
      ผลคูณไดอยางไร” ใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเปนรายบุคคลในการกําหนดแนวคิด/วิธีทําในการแกปญหา โดยให
      ทําในเวลาทีเ่ หลืออยู แลวครูตรวจแกไขผลงานของนักเรียนในตอนทายชั่วโมง
           10. สื่อ/แหลงเรียนรู
            10.1 สื่อ
                    1. ใบความรูที่ 1 เรื่อง “การคูณและการหาร”
                    2. ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง“หาผลคูณไดอยางไร”
                    3. ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง“หาผลลัพธไดอยางไร”
            10.2 แหลงเรียนรู
                     1.หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรที่ตูชั้นวางหนังสือคูมือคณิตศาสตรเพิ่มเติมม.3

      11. การวัดและประเมินผล
     รายการประเมิน              วิธีประเมิน                    เครื่องมือ               เกณฑการประเมินผล
ใบกิจกรรม               การสังเกต                       แบบสังเกตพฤติกรรม          นักเรียนแสดงวิธีการหา
                        ตรวจใบกิจกรรม                                              คําตอบไดถูกตอง ครบถวน
                                                                                   สมบูรณ
                                                                                   ทําถูกตองไมนอยกวารอยละ
                                                                                   80 ขึ้นไป ผานเกณฑ

คุณลักษณะอันพึงประสงค     การสังเกตพฤติกรรม            แบบสังเกตพฤติกรรม          นักเรียนไดคะแนนไมนอยกวา
                                                                                   รอยละ 80 ขึ้นไป ผานเกณฑ
เกณฑการประเมินผล

                                                       คําอธิบายระดับคุณภาพ
       รายการประเมิน
                                           ดี                 ปานกลาง                   ปรับปรุง
ใบกิจกรรม
          1.ความสมบูรณครบถวน การแสดงวิธีการหา        แสดงวิธีการหาคําตอบได    แสดงวิธีการหาคําตอบ
                               คําตอบไดถูกตอง        ถูกตองแตยังไมครบถวน   ยังไมถูกตอง
                               ครบถวนสมบูรณ          ทําถูกตองไมนอยกวา
         2.ความถูกตอง         ทําถูกตองไมนอยกวา   รอยละ 50                 ทําถูกตองนอยกวา
                               รอยละ 80               สงงานไมทันเวลา          รอยละ 50
         3.ความตรงตอเวลา      สงงานทันเวลา           ทํางานดวยตนเองเปน       ไมสงงาน
       4.ความซื่อสัตย ความ    ทํางานดวยตนเอง         บางสวน                   ไมไดทําดวยตนเอง
       เรียบรอย
คุณลักษณะอันประสงค            ไดคะแนนไมนอยกวา     ไดคะแนนไมนอยกวาละ ไดคะแนนนอยกวา
1. การมีสวนรวมในการวางแผน รอยละ 80                  50                    รอยละ 50
2. การปฏิบัติตนตาม บทบาท
หนาที่
3. การใหความ รวมมือในการ
      ทํางาน
4. การแสดงความคิดเห็น
5. การยอมรับความคิดเห็นของ
ผูอื่น
6. การเขารวมกิจกรรมอยาง
สม่ําเสมอ
7. ความรับผิดชอบ งานทีไดรับ
                           ่
มอบหมาย
12 . บันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู
                     12.1 ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู
                           12.1.1 ดานความรู
...............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
                           12.1.2 ดานทักษะกระบวนการ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
                           12.1.3 ดานคุณลักษณะอังพึงประสงค
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
              12.2 สภาพปญหา/อุปสรรค
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
                   12.3 แนวทางการพัฒนา
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................

                                                                                                                    (ลงชื่อ)

(...........................................................)
                                                                                                                                                          ครูผูสอน
                                                                                                                ............./............................./............
บันทึกการนิเทศจากดานบริหาร

ความเห็นของหัวหนากลุมสาระการเรียนรู
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
                                                                     ลงชื่อ
                                                                               (..................................................... )
                                                                                                      หัวหนากลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
                                                                                                                

ความเห็นของรองผูอํานวยการดานบริหารงานวิชาการ
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
                                                                     ลงชื่อ
                                                                                      (นางกฤตวรรณ เรืองทุม )
                                                                              ปฏิบัติหนาที่ รองผูอํานวยการดานบริหารงานวิชาการ


ความเห็นของผูอํานวยการโรงเรียน
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
                                                                     ลงชื่อ
                                                                                          (นายชูเดช อําพันทอง)


                                                                              ผูอํานวยการโรงเรียนสําโรงทาบวิทยาคม
แนวทางการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
                1. ผูสอนนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
           หลักพอเพียง           พอประมาณ                      มีเหตุผล             มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี
ประเด็น
          เนื้อหา         วิเคราะหเนื้อหาสาระที่           -มุงใหผเู รียนมีทักษะ    มีการวางแผนการจัด
                          สอดคลองกับเนื้อหาและ             กระบวนการคิดวิเคราะห       กิจกรรมการเรียนรูอยางเปน
                          หลักสูตรและมาตรฐานการ             สรางสรรคแกปญหาในการ ระบบ รอบคอบ
                          เรียนรูของกลุมสาระการเรียนรู   ปฏิบัติกิจกรรมเรืองกรณฑที่
                                                            สอง
           เวลา           -ครูใชเวลาในการจัดกิจกรรมได     - การจัดสรรเวลาที่ดสงผล
                                                                               ี          - มีการจัดสรรเวลาเพิม   ่
                          เหมาะสมกับเนื้อหาและ              ใหการดําเนินกิจกรรม          สําหรับนักเรียนที่ไมสามารถ
                          กิจกรรม เรียงลําดับกิจกรรม        เปนไปอยางราบรื่น            ปฏิบัติกิจกรรมไดตาม
                          ตามความสําคัญและความยาก           ตามลําดับเวลา                 ขั้นตอนหรือไมทันเพือน่
                          งายของแตละกิจกรรม
    วิธีการจัดกิจกรรม     -กิจกรรมการเรียนรูมีความ
                                                       - เมื่อผูเรียนไดปฏิบัติ         - ในกรณีที่กิจกรรมไม
                          เหมาะสมกับระดับของผูเ รียน   กิจกรรมที่เหมาะสมกับ              เปนไปตามที่กําหนด ครูควร
                          เวลา และบริบทของโรงเรียน      ระดับของผูเ รียน ความ            มีการเตรียมกิจกรรมสํารอง
                          - มีการจัดลําดับความสําคัญ    สนใจ ผูเ รียนจะเกิดความ          และตัดทอนกิจกรรมในกรณี
                          ของกิจกรรม โดยเนนกิจกรรม     กระตือรือรนในการรวม             ที่กิจกรรมใชเวลานาน
                          ใหนักเรียนไดฝกปฏิบัติ      กิจกรรม สามารถสรางองค           เกินไปหรือไมนาสนใจ
                          - ครูจัดกิจกรรมตรงตามผล       ความรูไดงายขึ้น
                          การเรียนรู                   - การจัดตามลําดับ
                                                        ความสําคัญของกิจกรรม
                                                        โดยเนนขั้นที่ผเู รียนไดลงมือ
                                                        ปฏิบัติ ทําใหผเู รียนเกิดการ
                                                        เรียนดวยตนเอง
      แหลงเรียนรู       ครูมีการจัดเตรียมสื่อและแหลง - แหลงเรียนรูที่เหมาะสมทํา
                                                                                         - ครูควรตรวจสอบดูวา
                          เรียนรูเรื่องกรณฑทสองได
                                              ี่        ใหผูเรียนบรรลุผลตามผล           แหลงเรียนรูตางๆนั้น
                          เหมาะสมกับกิจกรรม วัยความ การเรียนรู                           ครบถวนพรอมใช
                          สามรถและความสนใจของ           - กระตุนใหผเู รียนมีความ       ประกอบการจัดการเรียนรู
                          นักเรียน                      กระตือรือรนอยากเรียน             - มีการวางแผนเตรียมแหลง
                                                                                          เรียนรูเพื่อดําเนินกิจกรรมไว
ลวงหนา
      สื่อ-อุปกรณ           - อุปกรณเพียงพอตอกลุมของ -เมื่ออุปกรณเพียงพอ               -มีการจัดเตรียมอุปกรณ
                             นักเรียน                         นักเรียนสนใจที่จะเรียนรู     สํารองไวกรณีฉุกเฉิน
                             -อุปกรณมีความชัดเจนและ          - ความชัดเจนของกิจกรรม - นักเรียนสามารถใช
                             เหมาะกับกิจกรรม                  อุปกรณ กระตุนใหผเู รียน อุปกรณไดถูกตองและ
                                                              เกิดการเรียนรู               เหมาะสมกับกิจกรรมลดการ
                                                                                            อธิบาย
การวัดและประเมินผล           -มีการเลือกใชวิธีการวัดและ      - การประเมินทีหลากหลาย -มีการประเมินความรูของ
                                                                              ่
                             ประเมินผลไดเหมาะสมกับวัย คลอบคลุมมาตรฐานและผล นักเรียนกอน
                             ของผูเรียน กิจกรรมและผล         การเรียนรู                   -มีการศึกษาสรางเครื่องและ
                             การเรียนรู                                                    ประเมินผลที่เหมาะสมตาม
                                                                                            มาตรฐานและผลการเรียนรู
ความรูที่ครูจําเปนตองมี   มาตรฐานการเรียนรู/ สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู/วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
                                                                              
                             จิตวิทยาวัยรุน การจัดเตรียมสื่อและเทคโนโลยี แหลงเรียนรู เนื้อหาเรื่องกรณฑทีสอง
    คุณธรรมของครู            - ความเมตตากรุณา ความเที่ยงตรง ความยุติธรรม ความอดทน ความเพียรพยายาม
2. ผลที่เกิดกับผูเรียนสอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากการจัดการเรียนรู
                 2.1 ผูเรียนไดเรียนรูหลักคิดและฝกปฏิบัติตามหลักของ 3 หวง 2 เงื่อนไข ดังนี้
                                       
                               พอประมาณ                       มีเหตุผล                      มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี
                      - ผูเรียนมีความพอประมาณ            - การจัดสรรแบงเวลาที่ -มีการวางแผนการจัดสรรเวลา
                กับการจัดสรรปฏิบัติกจกรรมให เหมาะสมจะทําใหการปฏิบัติ ใหความสําคัญกับการปฏิบัติ
                                           ิ
                ดําเนินไปตามลําดับขั้นตอน           กิจกรรมในขั้นตอนตางๆ           กิจกรรมตางๆอยางเทาเทียมกัน
                ผูเรียนในแตละกลุมมีการแบง       ดําเนินไปไดดวยดี การแบง มีการเตรียมการแกปญหาในกรณี
                หนาที่การทํางานไดพอประมาณ งานกันทําตามความสามารถ ที่เพื่อนที่รบผิดชอบงานในสวน ั
                กับความสามารถของแตละคน             ของแตละคนเปนการทําให         นั้นไมมาหรือทํางานไมสําเร็จ
                -ผูเรียนมีการจัดสรรเวลาในการ งานเสร็จตรงตามกําหนดเวลา - นักเรียนนําความรูวิชา
หลักพอเพียง
                ปฏิบัติภาระงานที่ไดรับอบหมาย การจัดสรรเวลาที่ดีทําใหงานที่ คณิตศาสตรเพิ่มเติม ใชในการ
                นอกหองเรียนพรอมทังนําเสนอ ทํามีโอกาสประสบ
                                         ้                                          แกปญหาในกรณีที่ภาระงานที่
                ไดอยางเหมาะสมกับ                  ความสําเร็จและไดผลงานที่ ไดรับมอบหมายมีขอผิดพลาด
                ความสามารถและระดับชั้นของ นาพอใจ                                   และสามารถแกไขไดถูกตอง
                ผูเรียน                                                            ทันเวลาทีกําหนด
                                                                                               ่
                - ผูเรียนมีพื้นฐานความรูทางวิชา
                คณิตศาสตรที่เหมาะสมกับเนือหา ้
                เกี่ยวกับกรณฑทสอง  ี่
                        เรื่อง    1. ผูเรียนมีความรอบรูเรื่อง กรณฑทสอง
                                                                      ี่
      ความรู
                                   2. ผูเรียนนําความรูที่ไดรับไปประยุกตใชในการแกปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ
     คุณธรรม            คุณธรรม ความอดทน ความเพียรพยายาม ความเสียสละ ความมีวินัยในตนเอง มีน้ําใจ
2.2 ผูเรียนไดเรียนรูการใชชีวิตที่สมดุล และพรอมรับการเปลี่ยนแปลงใน 4 มิติตามหลักปรัชญาของ
   เศรษฐกิจพอเพียง

         ดาน                          สมดุล และพรอมรับการเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ
องคประกอบ              วัตถุ                 สังคม               สิ่งแวดลอม             วัฒนธรรม
    ความรู   1. ไดความรูแก          1.การแลกเปลี่ยน       1. มีความรอบรูในการ 1. การเรียนรูที่
              สมการกําลังสองโดย         ความรู ความคิดเห็น   ใชแหลงเรียนรูใน   เหมาะสมสอดคลอง
              วิธีทําเปนกําลังสอง      ภายในกลุมและ         ทองถิ่น             กับวิถีชีวิตของคนใน
              สมบูรณ                   ภายในหองเรียน                             ชุมชน
              2. ใชเวลาอยางคุมคา
              และเหมาะสมตอการ
              ปฏิบัติงาน
    ทักษะ       1.มีทักษะการเลือกใช    1. มีทักษะในการ                 -            การรับฟงความคิดเห็น
                วัสดุ อุปกรณ ในการ     ทํางาน                                       ของผูอื่น
                อยางประหยัดและ         2. การแบงหนาที่
                คุมคา                 ภายในกลุม
   คานิยม      1.การเลือกใชวัสดุ      1.การทํางานกลุม การ 1.ใชทรัพยากรและ
                                                                                    1.การปลูกฝงการการ
                อุปกรณ ทีประหยัด
                          ่             รูบทบาทหนาที่ของ สิ่งแวดลอมอยาง          ใชแหลงเรียนรูใน
                ในการปฏิบัตงาน
                            ิ           สมาชิกในกลุม       ประหยัด                  ทองถิ่นหรือชุมชน
แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

ชื่อกลุม........................................................ชื่อผูประเมิน............................................................
ใบกิจกรรมที.่ ................................เรื่อง........................................................................................
คําชี้แจง ใหผูประเมินใสตัวเลขลงในชองตามความเปนจริง
                    3 หมายถึง ดีมาก                              2 หมายถึง พอใช                        1 หมายถึง ควรปรับปรุง
ชื่อสมาชิก                                                                                                                                      รวม รอย
                                     1……………                         2……………                  3……………                         4…………….                  ละ
รายการ                                3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
1. การมีสวนรวมใน
     การวางแผน
2. การปฏิบัติตนตาม
     บทบาทหนาที่
3. การใหความ
    รวมมือในการ
     ทํางาน
4. การแสดงความ
     คิดเห็น
5. การยอมรับความ
     คิดเห็นของผูอื่น
6. การเขารวม
     กิจกรรมอยาง
     สม่ําเสมอ
7. ความรับผิดชอบ
    งานที่ไดรับ
    มอบหมาย
            รวม
          รอยละ

เกณฑการประเมิน
                                                                                                             ลงชื่อ..........................................ผูประเมิน
รอยละ 80 ขึ้นไป           ระดับ ดีมาก
รอยละ 70-79                 ระดับ ดี                                                 วันที่ประเมิน...............................................
รอยละ 60-69                 ระดับ พอใช
ต่ํากวารอยละ 60          ระดับ ควรปรับปรุง
แบบประเมินแฟมผลงาน

ชื่อแฟม................................................................................................................................................
ชื่อนักเรียน...........................................................................................................................................

                                                       ไมถึง               ถึงเกณฑ            เหนือ               คะแนน ขอเสนอแนะ
                 เกณฑ                                 เกณฑที่             ที่                 เกณฑที่            รวม
             รายการประเมิน                             คาดหวัง              คาดหวัง             คาดหวัง
                                                           (1)                  (2)                (3)
การจัดการ
- การสรางสรรค
- การประเมินตนเอง
- ความสมบูรณของรายการและ
นําเสนอ
ความประทับใจ
- การวางรูปแบบ
- ศิลป
-ความคิดสรางสรรค
หลักฐานแสดงความเขาใจ
- ความรูในเนื้อหาวิชา
- การสะทอนขอมูลยอนกลับ
- แนวคิดการประยุกตใช


                                                                                   รวม........................................คะแนน

เกณฑการใหคะแนน
ระดับ ดี           (22-27 คะแนน)
ระดับ พอใช      (16-21 คะแนน)                                                                           ลงชื่อ..........................................ผูประเมิน
ระดับ ปรับปรุง (9-15 คะแนน)                                                                                วันที่........เดือน.........................พ.ศ.
..........
ใบความรูที่ 1
“การคูณและการหาร”

            สมบัติการสลับที่สาหรับการคูณ
                             ํ
               a b  b a
            สมบัติการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวก
             ( a  b) c  a  ( b  c)
            สมบัติการแจกแจง
               a  ( b  c)  ( a  b)  ( a  c)


ตัวอยางที่ 1 จงหาผลคูณ           2  10
วิธีทํา      เนื่องจาก 2     10      =      2  10
                                      =      20
                                      =    2 5
            ดังนั้น    2  10         =2 5
            ตอบ       2 5


ตัวอยางที่ 2 จงหาผลคูณ           12  2 3
วิธีทํา
วิธีที่ 1 เนื่องจาก 12  2    3       =      2 23  2 3
                                      =      22  3  2 3
                                      =      22  3  2 3

                                      = 2 2             2
                                                       3
                                      = 43
                                      = 12
            ดังนั้น   12  2 3        = 12

วิธีที่ 2 เนื่องจาก   12  2 3        = 12           43
                                      = 12           12
                                      = 12
               12  2 3               = 12
                        ตอบ           = 12
2 242
ตัวอยางที่ 3 จงหาผลลัพธ
                                    18
                       2 242                     242
วิธีทํา   เนื่องจาก                    =    2
                         18                      18
                                            121
                                        =   2
                                             9
                                      = 2  11
                                             3
                    2 242          22
          ดังนั้น             =        หรือ 7 1
                      18            3          3
                    22              1
          ตอบ          หรือ       7
                    3               3

                                            4
ตัวอยางที่ 4 จงหาผลลัพธ         5 3
                                            27
                                  4                          4
วิธีทํา   เนื่องจาก   5 3                  =    5 3
                                   27                     3 3 3
                                             20 3
                                        =
                                                32  3
                                             20 3
                                        =
                                      3 3
                                =  20
                                       3
                          4
          ดังนั้น   5 3      =  20 หรือ                6
                                                              2
                           27       3                         3
                      20
          ตอบ           หรือ  6 2
                       3          3
ใบกิจกรรมที่ 1
“หาผลคูณไดอยางไร”

จงหาผลลัพธ
1.             50  5
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
2. 75  2 5
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
3. 2 125  3 5
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
4. 7  (2 7  5 5 )
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
5. 2 3  ( 12  3 72 )
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
ใบกิจกรรมที่ 2
“หาผลลัพธไดอยางไร”
         3 162
1.
              18
..................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

           3 18000
2.
                  20
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
                                 5
3.        6 175 
                             3 98
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
                                           3 2
4.         12 8  ( 18 ) 
                                              72
..................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
              4y
5.                3y
              3
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
ใบเฉลยกิจกรรม
เฉลยใบกิจกรรมที่ 1
“หาผลคูณไดอยางไร”

จงหาผลลัพธ
1.    50     5        =         5 5 2  5
                      =     5 2  5
                      =    5 10
2.    75  2 5        =      5 5 3  2 5
                      =    5 32 5
                      =    5 2  3  5
                      =    10 15
3.   2 125  3 5      =    2 5 5 5  3 5
                      =    10 5  3 5
                      =    30  5              = 150
4.    7  (2 7  5 5 ) =               
                                 7  2 7  ( 7  5 5)
                      =    (2  7)  5 35
                      =    14  5 35
5.   2 3  ( 12  3 72 ) = (2 3  12 )  (2 3  3 72 )
                      = (2 3  2  2  3 )  (2 3  3 6  6  2 )
                      = (2 3  2 3 )  (2 3  18 2 )
                      = 12  36 6
เฉลยใบกิจกรรมที่ 2
“หาผลลัพธไดอยางไร”

     3 162                          162    81
1.                      =       3       3     3 9  3 3  9
        18                           18    9
      3 18000                       18000
2.                      =       3          3 900  3 30  30  90
          20                          20


                  5                                   5
3.    6 175               =    6 557 
                 3 98                           3 27 7
                                            5
                        =        30 7 
                                21 2
                    =  150 7  1
                                 21 2
                    =  25 14
                           7
                       3 2
4.    12 8  ( 18 )        = 12(2 2 )  (3 2 )  3 2
                        72                          6 2
                              = 24 2  (3 2 )  1
                                                  2
                              =  72

       4y                                   4y  3y
5.         3y                         =
       3                                       3
                                       =    2y
แผนการจัดการเรียนรู
                               เพือเสริมสรางคุณลักษณะอยูอยางพอเพียง
                                  ่                      
                                    วิชาคณิตศาสตร รหัสวิชาค23201
                          กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
หนวยที่ 1 ชื่อหนวย กรณทที่สอง แผนที่ 4 เรื่องการดําเนินการของจํานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑที่สอง
ครังที่ ..... วันที.่ .............. เดือน ............................พ.ศ. ............ …………..เวลา 1 ชั่วโมง
   ้

1. มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ค 1.1 : เขาใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและใชจานวนในชีวิตประจําวัน
                                                                  ํ
มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ ศูนย และจํานวนตรรกยะ
2. ผลการเรียนรู
บวก ลบ คูณ และหาร จํานวนจริงซึงเกี่ยวกับกรณฑทสองทีกําหนดให
                               ่              ี่ ่
3.สาระสําคัญ
          เมื่อ a เปนจํานวนจริงใด ๆ และ แทนคาสัมบูรณของ a
           การบวกและการคูณจํานวนจริงมีสมบัติการสลับที่ สมบัตการเปลี่ยนหมู และการแจกแจง
                                                             ิ
                 สมบัตการสลับทีสําหรับการบวก
                       ิ            ่
                         สมบัตการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวก
                              ิ
                สมบัติการสลับที่สําหรับการคูณ
                         สมบัตการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวก
                                ิ           
                         สมบัตการแจกแจง
                                  ิ
4. จุดประสงคการเรียนรู
ดานความรู (K)
            1. นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการบวก ลบ คูณและหารจํานวนจริงเกี่ยวกับกรณฑทสองได
                                                                                   ี่
            2. นักเรียนสามารถอธิบายการแยกตัวประกอบของจํานวนจริงได
ดานกระบวนการ (P)
             1. นักเรียนสามารถบวก ลบ คูณและหารจํานวนจริงเกี่ยวกับกรณฑที่สองได
             2. นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบของจํานวนจริงได
ดานคุณลักษณะ (A)
            1. นักเรียนมีการทํางานอยางเปนระบบ
            2. นักเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง
       3. นักเรียนมีความตรงตอเวลา
       4. นักเรียนมีความกระตือรือรนสนใจในการเรียน
5. สาระการเรียนรู
      - การดําเนินการของจํานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑที่สอง
           การบวกและคูณจํานวนในรูป a เมื่อ a  0 มีสมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนกลุม
และสมบัติการแจกแจงดังนี้
           สมบัตการสลับทีสําหรับการบวก
                 ิ         ่
              a+ b                =             b+ a
           สมบัตการเปลี่ยนกลุมสําหรับการบวก
                   ิ
           ( a + b )+ c           =             a +( b + c )
           สมบัตการสลับทีสําหรับการคูณ
                     ิ       ่
              a b                =             b a
           สมบัตการเปลี่ยนกลุมสําหรับการคูณ
                       ิ       
           ( a  b ) c           =             a ( b  c )
           สมบัตการแจกแจงิ
              a ( b + c )        =           ( a  b )+( a  c ) และ
           ( b + c ) a           =           ( b  a )+( c  a )

6.สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
         1.ความสามารถในการสือสาร
                             ่
          2.ความสามารถในการคิด
          3.ความสามรถในการแกปญหา
                               
7.ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค
       1. มีวินัย
       2. ใฝเรียนรู
       3. อยูอยางพอเพียง

8. ภาระงาน/ชิ้นงาน
       8.1 ใบกิจกรรมที่ 1 “หาผลคูณไดอยางไร”
       8.2 ใบกิจกรรมที่ 2 “หาผลลัพธไดอยางไร”

9. กิจกรรมการเรียนรู
          1. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับสมบัตการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนหมู และการแจกแจง
                                                     ิ
ของกรณฑที่สองบนกระดานดังนี้
สมบัตการสลับทีสําหรับการบวก
                ิ        ่
              a b b a
           สมบัตการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวก
                ิ
            ( a  b)  c  a  ( b  c)
           สมบัตการสลับทีสําหรับการคูณ
                ิ        ่
              a b  b a
           สมบัตการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวก
                ิ
            ( a  b) c  a  ( b  c)
           สมบัตการแจกแจง
                ิ
              a  ( b  c)  ( a  b)  ( a  c)
             2.นักเรียนศึกษาใบความรูที่ 2 เรื่อง “กรณฑทสองกับคาประมาณ” และครูอธิบายเพิ่มเติมในใบ
                                                         ี่
ความรูวาในกรณีที่ผลลัพธที่ไดจากการดําเนินการเปนเศษสวนที่ตัวสวนอยูในรูปกรณฑทสอง เรามักทําตัวสวนนั้น
                                                                                    ี่
ใหเปนจํานวนเต็มดวยการคูณทั้งตัวเศษและตัวสวนดวยกรณฑนั้นกอน
              3. ครูแบงนักเรียนเปนกลุม กลุมละ 7 คน พรอมกับแจกใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง“กรณฑที่สอง
                                         
กับคาประมาณ” ใหนักเรียนทุกคน แลวใหนักเรียนในแตละกลุมคิดหาวิธีการรวมกันเพื่อทําความเขาใจปญหา
และวางแผนกําหนดแนวคิดในการหาคําตอบของปญหา กอนลงมือแสดงวิธีทําเพื่อหาคําตอบของปญหาขณะที่
นักเรียนทํากิจกรรมรวมกันครูสามารถเขาไปใหคําแนะนําและชวยเสนอประเด็นในการหาคําตอบรวมถึงแจก
ประเด็นคําถามเพื่อกระตุนใหเกิดวิธีการคิดใหกับนักเรียนบางกลุมเทาที่จําเปน
                                                               
              4. ครุใหนกเรียนแตละกลุมสงตัวแทนทีมีจิตอาสาออกมารายงานเกี่ยวกับแนวคิด/วิธีทํา ในการ
                         ั
แกปญหาตาม ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง“กรณฑที่สองกับคาประมาณ” ใหนําเสนอผลการแกปญหาหนาชั้นเรียนโดย
                                                                                       
ครูสุมมา 2 กลุม กลุมละ 1 คน ออกมานําเสนอคนละประเด็นและกําหนดเวลา 5 นาทีในการใชเวลาให
เพียงพอและทันเวลาที่กําหนดเพื่อใหเกิดภูมิคุมกันในการทํางานแตละครัง โดยไมซ้ํากับกลุมเดิม และนักเรียนที่
                                                                       ้
เหลือสังเกตแนวคิดของเพื่อน ตลอดจนใหกลุมทีมีแนวคิดที่แตกตางออกมานําเสนอสวนที่แตกตางจากกลุมแรก
                                                   ่
ๆ ครูและนักเรียนรวมกันสรุปอักครั้ง และนักเรียนที่เหลือสังเกตแนวคิดของเพื่อน ตลอดจนใหกลุมที่มีแนวคิด
ที่แตกตางออกมานําเสนอสวนที่แตกตางจากกลุมแรก ๆ ครูและนักเรียนรวมกันสรุปอีกครั้ง
                                                 
5. ครูแจกใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง“รวมกันคิด” ซึ่งปรับขยายจากปญหาตามใบกิจกรรมที่ 3 “กรณฑทสองกับ   ี่
คาประมาณ” ใหนักเรียนปฏิบัตกิจกรรมกลุมในการกําหนดแนวคิด/วิธีทําในการแกปญหา โดยครูสมมา 2 กลุม
                                 ิ                                                           ุ
กลุมละ 1 คน ตัวแทนนักเรียนที่มจิตอาสาออกมานําเสนอคนละประเด็นและกําหนดเวลา 5 นาทีในการใชเวลา
                                       ี
ใหเพียงพอและทันเวลาที่กําหนดเพือใหเกิดภูมิคุมกันเกี่ยวกับทักษะในการทํางาน โดยไมซ้ํากับกลุมเดิม และ
                                     ่
นักเรียนที่เหลือสังเกตแนวคิดของเพื่อน ตลอดจนใหกลุมทีมีแนวคิดที่แตกตางออกมานําเสนอสวนที่แตกตางจาก
                                                        ่
กลุมแรก ๆ ครูและนักเรียนรวมกันสรุป ครูตรวจผลงานกลุม
             6. ครูแจกใบกิจกรรมที่ 5 เรื่อง“แนวคิดของฉัน” ซึ่งปรับขยายจากปญหาตามใบกิจกรรมที่ 4
“รวมกันคิด” ใหนักเรียนปฏิบัติกจกรรมเปนรายบุคคลในการกําหนดแนวคิด/วิธีทําในการแกปญหา โดยใหทําใน
                                   ิ
เวลาที่เหลืออยูและชี้แนะนักเรียนในการสรางภูมิคุมกันในการใชเวลาทีเ่ หลือในการทํางานใหเสร็จทันเวลา เมื่อ
               
นักเรียนทํางานเสร็จแลวครูตรวจแกไขผลงานของนักเรียนในตอนทายชั่วโมงเพือเปนการสรุป
                                                                            ่

10. สื่อ/แหลงเรียนรู
       10.1 สื่อ
            1.ใบความรูที่ 1 เรื่อง “การคูณและการหาร”
            2.ใบกิจกรรมที่ 1 เรือง “หาผลคูณไดอยางไร”
                                  ่
            3.ใบกิจกรรมที่ 2 เรือง“หาผลลัพธไดอยางไร”
                                    ่
    10.2 แหลงเรียนรู
               1.หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรในตูชั้นวางหนังสือคูมือคณิตศาสตรเพิ่มเติมม.3

   11. การวัดและประเมินผล
      รายการประเมิน           วิธีประเมิน                       เครื่องมือ                เกณฑการประเมินผล
 ใบกิจกรรม                การสังเกต                     แบบสังเกตพฤติกรรม              นักเรียนแสดงวิธีการหา
                          ตรวจใบกิจกรรม                                                คําตอบไดถูกตอง
                                                                                       ครบถวนสมบูรณ
                                                                                       ทําถูกตองไมนอยกวารอย
                                                                                       ละ 80 ขึ้นไป ผานเกณฑ

 คุณลักษณะอันพึงประสงค         การสังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม                    นักเรียนไดคะแนนไมนอย
                                                                                       กวารอยละ 80 ขึ้นไป
                                                                                       ผานเกณฑ
เกณฑการประเมินผล
                                                       คําอธิบายระดับคุณภาพ
       รายการประเมิน
                                           ดี                 ปานกลาง                   ปรับปรุง
ใบกิจกรรม
          1.ความสมบูรณครบถวน การแสดงวิธีการหา        แสดงวิธีการหาคําตอบได    แสดงวิธีการหาคําตอบ
                               คําตอบไดถูกตอง        ถูกตองแตยังไมครบถวน   ยังไมถูกตอง
                               ครบถวนสมบูรณ          ทําถูกตองไมนอยกวา
         2.ความถูกตอง         ทําถูกตองไมนอยกวา   รอยละ 50                 ทําถูกตองนอยกวา
                               รอยละ 80               สงงานไมทันเวลา          รอยละ 50
         3.ความตรงตอเวลา      สงงานทันเวลา           ทํางานดวยตนเองเปน       ไมสงงาน
       4.ความซื่อสัตย ความ    ทํางานดวยตนเอง         บางสวน                   ไมไดทําดวยตนเอง
       เรียบรอย
คุณลักษณะอันประสงค            ไดคะแนนไมนอยกวา     ไดคะแนนไมนอยกวาละ ไดคะแนนนอยกวา
1. การมีสวนรวมในการวางแผน รอยละ 80                  50                    รอยละ 50
2. การปฏิบัติตนตาม บทบาท
หนาที่
3. การใหความ รวมมือในการ
      ทํางาน
4. การแสดงความคิดเห็น
5. การยอมรับความคิดเห็นของ
ผูอื่น
6. การเขารวมกิจกรรมอยาง
สม่ําเสมอ
7. ความรับผิดชอบ งานที่ไดรับ
มอบหมาย
12 . บันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู
                     12.1 ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู
                           12.1.1 ดานความรู
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
                           12.1.2 ดานทักษะกระบวนการ
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
                           12.1.3 ดานคุณลักษณะอังพึงประสงค
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
              12.2 สภาพปญหา/อุปสรรค
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
                   12.3 แนวทางการพัฒนา
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
                                                                                                          (ลงชื่อ)
                                                                                                      (...........................................................)
                                                                                                                                                       ครูผสอนู

............./............................./............
แนวทางการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
                1. ผูสอนนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
            หลักพอเพียง          พอประมาณ                   มีเหตุผล             มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี
ประเด็น
          เนื้อหา          วิเคราะหเนื้อหาสาระที่       -มุงใหผเู รียนมีทักษะ    มีการวางแผนการจัด
                           สอดคลองกับเนื้อหาและ         กระบวนการคิดวิเคราะห       กิจกรรมการเรียนรูอยาง
                           หลักสูตรและมาตรฐานการ         สรางสรรคแกปญหาในการ เปนระบบ รอบคอบ
                           เรียนรูของกลุมสาระการ       ปฏิบัติกิจกรรมเรืองกรณฑที่
                           เรียนรู                      สอง
           เวลา            -ครูใชเวลาในการจัด           - การจัดสรรเวลาที่ดสงผล
                                                                            ี            - มีการจัดสรรเวลาเพิม ่
                           กิจกรรมไดเหมาะสมกับ          ใหการดําเนินกิจกรรม            สําหรับนักเรียนที่ไม
                           เนื้อหาและกิจกรรม             เปนไปอยางราบรื่น              สามารถปฏิบัติกจกรรมได
                                                                                                        ิ
                           เรียงลําดับกิจกรรมตาม         ตามลําดับเวลา                   ตามขั้นตอนหรือไมทัน
                           ความสําคัญและความยาก                                          เพื่อน
                           งายของแตละกิจกรรม
    วิธีการจัดกิจกรรม      -กิจกรรมการเรียนรูมีความ
                                                      - เมื่อผูเรียนไดปฏิบัติ         - ในกรณีที่กิจกรรมไม
                           เหมาะสมกับระดับของ          กิจกรรมที่เหมาะสมกับ              เปนไปตามที่กําหนด ครู
                           ผูเรียน เวลา และบริบทของ   ระดับของผูเ รียน ความ            ควรมีการเตรียมกิจกรรม
                           โรงเรียน                    สนใจ ผูเ รียนจะเกิดความ          สํารองและตัดทอน
                           - มีการจัดลําดับ            กระตือรือรนในการรวม             กิจกรรมในกรณีทกิจกรรม
                                                                                                         ี่
                           ความสําคัญของกิจกรรม        กิจกรรม สามารถสรางองค           ใชเวลานานเกินไปหรือไม
                           โดยเนนกิจกรรมใหนักเรียน   ความรูไดงายขึ้น                นาสนใจ
                           ไดฝกปฏิบัติ               - การจัดตามลําดับ
                           - ครูจดกิจกรรมตรงตามผล
                                   ั                   ความสําคัญของกิจกรรม
                           การเรียนรู                 โดยเนนขั้นที่ผเู รียนไดลงมือ
                                                       ปฏิบัติ ทําใหผเู รียนเกิดการ
                                                       เรียนดวยตนเอง
      แหลงเรียนรู        ครูมีการจัดเตรียมสื่อและ - แหลงเรียนรูที่เหมาะสมทํา
                                                                                        - ครูควรตรวจสอบดูวา
                           แหลงเรียนรูเรื่องกรณฑที่ ใหผูเรียนบรรลุผลตามผล           แหลงเรียนรูตางๆนั้น
                           สองไดเหมาะสมกับกิจกรรม การเรียนรู                           ครบถวนพรอมใช
                           วัยความสามรถและความ - กระตุนใหผเู รียนมีความ               ประกอบการจัดการเรียนรู
                           สนใจของนักเรียน             กระตือรือรนอยากเรียน             - มีการวางแผนเตรียม
แหลงเรียนรูเพื่อดําเนิน
                                                                                     กิจกรรมไวลวงหนา
      สื่อ-อุปกรณ           - อุปกรณเพียงพอตอกลุม -เมื่ออุปกรณเพียงพอ           -มีการจัดเตรียมอุปกรณ
                             ของนักเรียน                 นักเรียนสนใจที่จะเรียนรู   สํารองไวกรณีฉุกเฉิน
                             -อุปกรณมีความชัดเจนและ - ความชัดเจนของกิจกรรม - นักเรียนสามารถใช
                             เหมาะกับกิจกรรม             อุปกรณ กระตุนใหผเู รียน อุปกรณไดถูกตองและ
                                                         เกิดการเรียนรู             เหมาะสมกับกิจกรรมลด
                                                                                     การอธิบาย
การวัดและประเมินผล           -มีการเลือกใชวิธีการวัดและ - การประเมินทีหลากหลาย -มีการประเมินความรูของ
                                                                         ่
                             ประเมินผลไดเหมาะสมกับ คลอบคลุมมาตรฐานและผล นักเรียนกอน
                             วัยของผูเรียน กิจกรรมและ การเรียนรู                   -มีการศึกษาสรางเครื่อง
                             ผลการเรียนรู                                           และประเมินผลที่
                                                                                     เหมาะสมตามมาตรฐาน
                                                                                     และผลการเรียนรู
ความรูที่ครูจําเปนตองมี   มาตรฐานการเรียนรู/ สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู/วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการ
                                                                            
                             สอน จิตวิทยาวัยรุน การจัดเตรียมสือและเทคโนโลยี แหลงเรียนรู เนื้อหาเรืองกรณฑที
                                                               ่                                      ่
                             สอง
    คุณธรรมของครู            - ความเมตตากรุณา ความเที่ยงตรง ความยุติธรรม ความอดทน ความเพียรพยายาม
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวนKanlayaratKotaboot
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซตAon Narinchoti
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ การหาร ป.2
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ การหาร ป.2การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ การหาร ป.2
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ การหาร ป.2Kansinee Kosirojhiran
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนNok Yupa
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1pandachar
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว sawed kodnara
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3krutew Sudarat
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)K'Keng Hale's
 
แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ100
แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ100แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ100
แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ100ทับทิม เจริญตา
 

La actualidad más candente (20)

การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
แนวข้อสอบอนุกรม
แนวข้อสอบอนุกรมแนวข้อสอบอนุกรม
แนวข้อสอบอนุกรม
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ การหาร ป.2
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ การหาร ป.2การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ การหาร ป.2
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ การหาร ป.2
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 
แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ100
แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ100แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ100
แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ100
 
ป.6.doc
ป.6.docป.6.doc
ป.6.doc
 

Destacado

แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3srkschool
 
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2krurain
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 

Destacado (20)

แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
 
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

Similar a แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
แผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิตแผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิตkrupornpana55
 

Similar a แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3 (20)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิตแผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิต
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

Más de srkschool

ออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างsrkschool
 
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์srkschool
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔srkschool
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการsrkschool
 
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์srkschool
 

Más de srkschool (6)

ออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่าง
 
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
 
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
 

แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู เพือเสริมสรางคุณลักษณะอยูอยางพอเพียง ่  วิชาคณิตศาสตร รหัสวิชา ค32301 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 หนวยที่ 1 ชื่อหนวย กรณททสอง แผนที่ 3 เรื่อง การดําเนินการของจํานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑที่สอง ี่ ครั้งที่ ..... วันที.่ .............. เดือน ............................พ.ศ. ............ …………..เวลา 1 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ค 1.1 : เขาใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและใชจานวนในชีวิตประจําวัน ํ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ ศูนย และจํานวนตรรกยะ 2. ผลการเรียนรู บวก ลบ คูณ และหาร จํานวนจริงซึงเกี่ยวกับกรณฑทสองทีกําหนดให ่ ี่ ่ 3.สาระสําคัญ เมื่อ a เปนจํานวนจริงใด ๆ และ แทนคาสัมบูรณของ a การบวกและการคูณจํานวนจริงมีสมบัติการสลับที่ สมบัตการเปลี่ยนหมู และการแจกแจง ิ สมบัตการสลับทีสําหรับการบวก ิ ่ สมบัตการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวก ิ สมบัติการสลับที่สําหรับการคูณ สมบัตการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวก ิ  สมบัตการแจกแจง ิ 4. จุดประสงคการเรียนรู ดานความรู (K) 1. นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการบวก ลบ คูณและหารจํานวนจริงเกี่ยวกับกรณฑทสองได ี่ 2. นักเรียนสามารถอธิบายการแยกตัวประกอบของจํานวนจริงได ดานกระบวนการ (P) 1. นักเรียนสามารถบวก ลบ คูณและหารจํานวนจริงเกี่ยวกับกรณฑที่สองได 2. นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบของจํานวนจริงได
  • 2. ดานคุณลักษณะ (A) 1. นักเรียนมีการทํางานอยางเปนระบบ 2. นักเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง 3. นักเรียนมีความตรงตอเวลา 4. นักเรียนมีความกระตือรือรนสนใจในการเรียน 5. สาระการเรียนรู - การดําเนินการของจํานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑที่สอง การบวกและคูณจํานวนในรูป a เมื่อ a  0 มีสมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนกลุม และสมบัติการแจกแจงดังนี้ สมบัตการสลับทีสําหรับการบวก ิ ่ a+ b = b+ a สมบัตการเปลี่ยนกลุมสําหรับการบวก ิ ( a + b )+ c = a +( b + c ) สมบัตการสลับทีสําหรับการคูณ ิ ่ a b = b a สมบัตการเปลี่ยนกลุมสําหรับการคูณ ิ ( a  b ) c = a ( b  c ) สมบัตการแจกแจงิ a ( b + c ) = ( a  b )+( a  c ) และ ( b + c ) a = ( b  a )+( c  a ) 6.สมรรถนะสําคัญของผูเรียน 1.ความสามารถในการสือสาร ่ 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามรถในการแกปญหา  7.ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย 2. ใฝเรียนรู 3. อยูอยางพอเพียง
  • 3. 8. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. ใบกิจกรรม 2. แบบฝกปฏิบัติกจกรรม ิ 3. สมุดบันทึกแบบฝกหัด 9. กิจกรรมการเรียนรู 1. ครูสนทนากับนักเรียนวาสมบัติ a b  ab a a เมื่อ a  0 , b  0 และ  เมื่อ a  0, b  0 เมื่อใชรวมกับสมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยน b b หมู และสมบัติการแจกแจง ทําใหการดําเนินการของจํานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑที่สองทําไดสะดวกขึ้น และทํา ใหมีวิธีการทีหลากหลายการแกปญหาแตละขอ ควรเลือกใชวิธีการแตกตางกันในการแกปญหาเดียวกันได ่ ดังตัวอยาง จงหาผลลัพธ 2  ( 2  12 ) วิธีที่ 1 เนื่องจาก 2  ( 2  12 ) = ( 2  2 )  ( 2  12 ) = 2  24 = 22 6 วิธีที่ 2 เนื่องจาก 2  ( 2  12 ) = ( 2  2 )  ( 2  12 ) = 2  ( 2  2 3) = 22 6 ดังนั้น 2  ( 2  12 ) = 2  2 6 ตอบ 2  2 6 2. นักเรียนศึกษาใบความรูที่ 1 เรือง“การคูณและการหาร” ในการคิดเกี่ยวกับลําดับขั้นตอนในการทํางาน ่ และการคิดหาคําตอบดวยโดยใชสมบัติการสลับทีการคูณ และการเปลี่ยนหมูการคูณ ครูถามใหนักเรียนได ่ อภิปรายและเปรียบเทียบทั้งคําตอบที่ไดและวิธีคิดของแตละคน 3. ครูใหนักเรียนแบงเปนกลุม กลุมละ 7 คน พรอมกับแจกใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง “หาผลคูณไดอยางไร”  ใหนักเรียนทุกคน แลวใหนักเรียนในแตละกลุมคิดวิเคราะหหาคําตอบรวมกันเพื่อทําความเขาใจปญหา และ วางแผนกําหนดแนวคิดในการหาคําตอบของปญหา กอนลงมือแสดงวิธีทําเพื่อหาคําตอบของปญหาขณะที่ นักเรียนคิดหาคําตอบรวมกันครูสามารถเขาไปใหคําแนะนําและชวยเสนอประเด็นในการหาคําตอบ รวมถึงแจก ประเด็นคําถามเพื่อกระตุนใหเกิดการคิดหาคําตอบรวมกันใหกับนักเรียนบางกลุมเทาที่จําเปน  4. ครูใหนักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนที่มจิตอาสาออกมารายงานเกี่ยวกับแนวคิด/วิธีทํา ในการแกปญหา ี ตาม ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง“หาผลคูณไดอยางไร” ใหนําเสนอผลการแกปญหาหนาชั้นเรียนโดยครูสุมมา 2 กลุม กลุมละ 1 คน ออกมานําเสนอคนละประเด็นและกําหนดเวลา 5 นาทีในการใชเวลาใหเพียงพอและทันเวลาที่ กําหนด เพื่อใหเกิดภูมิคุมกันในการทํางานแตละครั้ง โดยไมซ้ํากับกลุมเดิม และนักเรียนที่เหลือสังเกตแนวคิดของ เพื่อน ตลอดจนใหกลุมทีมีแนวคิดที่แตกตางออกมานําเสนอสวนที่แตกตางจากกลุมแรก ๆ ครูและนักเรียน ่ รวมกันสรุปอักครัง ครูตรวจผลงานกลุม ้ 
  • 4. 5. ครูแจกใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง“หาผลลัพธไดอยางไร” ซึ่งปรับขยายจากปญหาตามใบกิจกรรมที่ 1 “หา ผลคูณไดอยางไร” ใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเปนรายบุคคลในการกําหนดแนวคิด/วิธีทําในการแกปญหา โดยให ทําในเวลาทีเ่ หลืออยู แลวครูตรวจแกไขผลงานของนักเรียนในตอนทายชั่วโมง 10. สื่อ/แหลงเรียนรู 10.1 สื่อ 1. ใบความรูที่ 1 เรื่อง “การคูณและการหาร” 2. ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง“หาผลคูณไดอยางไร” 3. ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง“หาผลลัพธไดอยางไร” 10.2 แหลงเรียนรู 1.หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรที่ตูชั้นวางหนังสือคูมือคณิตศาสตรเพิ่มเติมม.3 11. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีประเมิน เครื่องมือ เกณฑการประเมินผล ใบกิจกรรม การสังเกต แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนแสดงวิธีการหา ตรวจใบกิจกรรม คําตอบไดถูกตอง ครบถวน สมบูรณ ทําถูกตองไมนอยกวารอยละ 80 ขึ้นไป ผานเกณฑ คุณลักษณะอันพึงประสงค การสังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนไดคะแนนไมนอยกวา รอยละ 80 ขึ้นไป ผานเกณฑ
  • 5. เกณฑการประเมินผล คําอธิบายระดับคุณภาพ รายการประเมิน ดี ปานกลาง ปรับปรุง ใบกิจกรรม 1.ความสมบูรณครบถวน การแสดงวิธีการหา แสดงวิธีการหาคําตอบได แสดงวิธีการหาคําตอบ คําตอบไดถูกตอง ถูกตองแตยังไมครบถวน ยังไมถูกตอง ครบถวนสมบูรณ ทําถูกตองไมนอยกวา 2.ความถูกตอง ทําถูกตองไมนอยกวา รอยละ 50 ทําถูกตองนอยกวา รอยละ 80 สงงานไมทันเวลา รอยละ 50 3.ความตรงตอเวลา สงงานทันเวลา ทํางานดวยตนเองเปน ไมสงงาน 4.ความซื่อสัตย ความ ทํางานดวยตนเอง บางสวน ไมไดทําดวยตนเอง เรียบรอย คุณลักษณะอันประสงค ไดคะแนนไมนอยกวา ไดคะแนนไมนอยกวาละ ไดคะแนนนอยกวา 1. การมีสวนรวมในการวางแผน รอยละ 80 50 รอยละ 50 2. การปฏิบัติตนตาม บทบาท หนาที่ 3. การใหความ รวมมือในการ ทํางาน 4. การแสดงความคิดเห็น 5. การยอมรับความคิดเห็นของ ผูอื่น 6. การเขารวมกิจกรรมอยาง สม่ําเสมอ 7. ความรับผิดชอบ งานทีไดรับ ่ มอบหมาย
  • 6. 12 . บันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู 12.1 ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู 12.1.1 ดานความรู ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 12.1.2 ดานทักษะกระบวนการ ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 12.1.3 ดานคุณลักษณะอังพึงประสงค ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 12.2 สภาพปญหา/อุปสรรค ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 12.3 แนวทางการพัฒนา ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ) (...........................................................) ครูผูสอน ............./............................./............
  • 7. บันทึกการนิเทศจากดานบริหาร ความเห็นของหัวหนากลุมสาระการเรียนรู .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ลงชื่อ (..................................................... ) หัวหนากลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร  ความเห็นของรองผูอํานวยการดานบริหารงานวิชาการ .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ลงชื่อ (นางกฤตวรรณ เรืองทุม ) ปฏิบัติหนาที่ รองผูอํานวยการดานบริหารงานวิชาการ ความเห็นของผูอํานวยการโรงเรียน .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ลงชื่อ (นายชูเดช อําพันทอง) ผูอํานวยการโรงเรียนสําโรงทาบวิทยาคม
  • 8. แนวทางการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู 1. ผูสอนนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู หลักพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี ประเด็น เนื้อหา วิเคราะหเนื้อหาสาระที่ -มุงใหผเู รียนมีทักษะ มีการวางแผนการจัด สอดคลองกับเนื้อหาและ กระบวนการคิดวิเคราะห กิจกรรมการเรียนรูอยางเปน หลักสูตรและมาตรฐานการ สรางสรรคแกปญหาในการ ระบบ รอบคอบ เรียนรูของกลุมสาระการเรียนรู ปฏิบัติกิจกรรมเรืองกรณฑที่ สอง เวลา -ครูใชเวลาในการจัดกิจกรรมได - การจัดสรรเวลาที่ดสงผล ี - มีการจัดสรรเวลาเพิม ่ เหมาะสมกับเนื้อหาและ ใหการดําเนินกิจกรรม สําหรับนักเรียนที่ไมสามารถ กิจกรรม เรียงลําดับกิจกรรม เปนไปอยางราบรื่น ปฏิบัติกิจกรรมไดตาม ตามความสําคัญและความยาก ตามลําดับเวลา ขั้นตอนหรือไมทันเพือน่ งายของแตละกิจกรรม วิธีการจัดกิจกรรม -กิจกรรมการเรียนรูมีความ  - เมื่อผูเรียนไดปฏิบัติ - ในกรณีที่กิจกรรมไม เหมาะสมกับระดับของผูเ รียน กิจกรรมที่เหมาะสมกับ เปนไปตามที่กําหนด ครูควร เวลา และบริบทของโรงเรียน ระดับของผูเ รียน ความ มีการเตรียมกิจกรรมสํารอง - มีการจัดลําดับความสําคัญ สนใจ ผูเ รียนจะเกิดความ และตัดทอนกิจกรรมในกรณี ของกิจกรรม โดยเนนกิจกรรม กระตือรือรนในการรวม ที่กิจกรรมใชเวลานาน ใหนักเรียนไดฝกปฏิบัติ กิจกรรม สามารถสรางองค เกินไปหรือไมนาสนใจ - ครูจัดกิจกรรมตรงตามผล ความรูไดงายขึ้น การเรียนรู - การจัดตามลําดับ ความสําคัญของกิจกรรม โดยเนนขั้นที่ผเู รียนไดลงมือ ปฏิบัติ ทําใหผเู รียนเกิดการ เรียนดวยตนเอง แหลงเรียนรู ครูมีการจัดเตรียมสื่อและแหลง - แหลงเรียนรูที่เหมาะสมทํา  - ครูควรตรวจสอบดูวา เรียนรูเรื่องกรณฑทสองได ี่ ใหผูเรียนบรรลุผลตามผล แหลงเรียนรูตางๆนั้น เหมาะสมกับกิจกรรม วัยความ การเรียนรู ครบถวนพรอมใช สามรถและความสนใจของ - กระตุนใหผเู รียนมีความ ประกอบการจัดการเรียนรู นักเรียน กระตือรือรนอยากเรียน - มีการวางแผนเตรียมแหลง เรียนรูเพื่อดําเนินกิจกรรมไว
  • 9. ลวงหนา สื่อ-อุปกรณ - อุปกรณเพียงพอตอกลุมของ -เมื่ออุปกรณเพียงพอ -มีการจัดเตรียมอุปกรณ นักเรียน นักเรียนสนใจที่จะเรียนรู สํารองไวกรณีฉุกเฉิน -อุปกรณมีความชัดเจนและ - ความชัดเจนของกิจกรรม - นักเรียนสามารถใช เหมาะกับกิจกรรม อุปกรณ กระตุนใหผเู รียน อุปกรณไดถูกตองและ เกิดการเรียนรู เหมาะสมกับกิจกรรมลดการ อธิบาย การวัดและประเมินผล -มีการเลือกใชวิธีการวัดและ - การประเมินทีหลากหลาย -มีการประเมินความรูของ ่ ประเมินผลไดเหมาะสมกับวัย คลอบคลุมมาตรฐานและผล นักเรียนกอน ของผูเรียน กิจกรรมและผล การเรียนรู -มีการศึกษาสรางเครื่องและ การเรียนรู ประเมินผลที่เหมาะสมตาม มาตรฐานและผลการเรียนรู ความรูที่ครูจําเปนตองมี มาตรฐานการเรียนรู/ สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู/วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน    จิตวิทยาวัยรุน การจัดเตรียมสื่อและเทคโนโลยี แหลงเรียนรู เนื้อหาเรื่องกรณฑทีสอง คุณธรรมของครู - ความเมตตากรุณา ความเที่ยงตรง ความยุติธรรม ความอดทน ความเพียรพยายาม
  • 10. 2. ผลที่เกิดกับผูเรียนสอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากการจัดการเรียนรู 2.1 ผูเรียนไดเรียนรูหลักคิดและฝกปฏิบัติตามหลักของ 3 หวง 2 เงื่อนไข ดังนี้  พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี - ผูเรียนมีความพอประมาณ - การจัดสรรแบงเวลาที่ -มีการวางแผนการจัดสรรเวลา กับการจัดสรรปฏิบัติกจกรรมให เหมาะสมจะทําใหการปฏิบัติ ใหความสําคัญกับการปฏิบัติ ิ ดําเนินไปตามลําดับขั้นตอน กิจกรรมในขั้นตอนตางๆ กิจกรรมตางๆอยางเทาเทียมกัน ผูเรียนในแตละกลุมมีการแบง ดําเนินไปไดดวยดี การแบง มีการเตรียมการแกปญหาในกรณี หนาที่การทํางานไดพอประมาณ งานกันทําตามความสามารถ ที่เพื่อนที่รบผิดชอบงานในสวน ั กับความสามารถของแตละคน ของแตละคนเปนการทําให นั้นไมมาหรือทํางานไมสําเร็จ -ผูเรียนมีการจัดสรรเวลาในการ งานเสร็จตรงตามกําหนดเวลา - นักเรียนนําความรูวิชา หลักพอเพียง ปฏิบัติภาระงานที่ไดรับอบหมาย การจัดสรรเวลาที่ดีทําใหงานที่ คณิตศาสตรเพิ่มเติม ใชในการ นอกหองเรียนพรอมทังนําเสนอ ทํามีโอกาสประสบ ้ แกปญหาในกรณีที่ภาระงานที่ ไดอยางเหมาะสมกับ ความสําเร็จและไดผลงานที่ ไดรับมอบหมายมีขอผิดพลาด ความสามารถและระดับชั้นของ นาพอใจ และสามารถแกไขไดถูกตอง ผูเรียน ทันเวลาทีกําหนด ่ - ผูเรียนมีพื้นฐานความรูทางวิชา คณิตศาสตรที่เหมาะสมกับเนือหา ้ เกี่ยวกับกรณฑทสอง ี่ เรื่อง 1. ผูเรียนมีความรอบรูเรื่อง กรณฑทสอง ี่ ความรู 2. ผูเรียนนําความรูที่ไดรับไปประยุกตใชในการแกปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ คุณธรรม คุณธรรม ความอดทน ความเพียรพยายาม ความเสียสละ ความมีวินัยในตนเอง มีน้ําใจ
  • 11. 2.2 ผูเรียนไดเรียนรูการใชชีวิตที่สมดุล และพรอมรับการเปลี่ยนแปลงใน 4 มิติตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ดาน สมดุล และพรอมรับการเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ องคประกอบ วัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม วัฒนธรรม ความรู 1. ไดความรูแก 1.การแลกเปลี่ยน 1. มีความรอบรูในการ 1. การเรียนรูที่ สมการกําลังสองโดย ความรู ความคิดเห็น ใชแหลงเรียนรูใน เหมาะสมสอดคลอง วิธีทําเปนกําลังสอง ภายในกลุมและ ทองถิ่น กับวิถีชีวิตของคนใน สมบูรณ ภายในหองเรียน ชุมชน 2. ใชเวลาอยางคุมคา และเหมาะสมตอการ ปฏิบัติงาน ทักษะ 1.มีทักษะการเลือกใช 1. มีทักษะในการ - การรับฟงความคิดเห็น วัสดุ อุปกรณ ในการ ทํางาน ของผูอื่น อยางประหยัดและ 2. การแบงหนาที่ คุมคา ภายในกลุม คานิยม 1.การเลือกใชวัสดุ 1.การทํางานกลุม การ 1.ใชทรัพยากรและ  1.การปลูกฝงการการ อุปกรณ ทีประหยัด ่ รูบทบาทหนาที่ของ สิ่งแวดลอมอยาง ใชแหลงเรียนรูใน ในการปฏิบัตงาน ิ สมาชิกในกลุม ประหยัด ทองถิ่นหรือชุมชน
  • 12. แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม ชื่อกลุม........................................................ชื่อผูประเมิน............................................................ ใบกิจกรรมที.่ ................................เรื่อง........................................................................................ คําชี้แจง ใหผูประเมินใสตัวเลขลงในชองตามความเปนจริง 3 หมายถึง ดีมาก 2 หมายถึง พอใช 1 หมายถึง ควรปรับปรุง ชื่อสมาชิก รวม รอย 1…………… 2…………… 3…………… 4……………. ละ รายการ 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1. การมีสวนรวมใน การวางแผน 2. การปฏิบัติตนตาม บทบาทหนาที่ 3. การใหความ รวมมือในการ ทํางาน 4. การแสดงความ คิดเห็น 5. การยอมรับความ คิดเห็นของผูอื่น 6. การเขารวม กิจกรรมอยาง สม่ําเสมอ 7. ความรับผิดชอบ งานที่ไดรับ มอบหมาย รวม รอยละ เกณฑการประเมิน ลงชื่อ..........................................ผูประเมิน รอยละ 80 ขึ้นไป ระดับ ดีมาก รอยละ 70-79 ระดับ ดี วันที่ประเมิน............................................... รอยละ 60-69 ระดับ พอใช ต่ํากวารอยละ 60 ระดับ ควรปรับปรุง
  • 13. แบบประเมินแฟมผลงาน ชื่อแฟม................................................................................................................................................ ชื่อนักเรียน........................................................................................................................................... ไมถึง ถึงเกณฑ เหนือ คะแนน ขอเสนอแนะ เกณฑ เกณฑที่ ที่ เกณฑที่ รวม รายการประเมิน คาดหวัง คาดหวัง คาดหวัง (1) (2) (3) การจัดการ - การสรางสรรค - การประเมินตนเอง - ความสมบูรณของรายการและ นําเสนอ ความประทับใจ - การวางรูปแบบ - ศิลป -ความคิดสรางสรรค หลักฐานแสดงความเขาใจ - ความรูในเนื้อหาวิชา - การสะทอนขอมูลยอนกลับ - แนวคิดการประยุกตใช รวม........................................คะแนน เกณฑการใหคะแนน ระดับ ดี (22-27 คะแนน) ระดับ พอใช (16-21 คะแนน) ลงชื่อ..........................................ผูประเมิน ระดับ ปรับปรุง (9-15 คะแนน) วันที่........เดือน.........................พ.ศ. ..........
  • 14. ใบความรูที่ 1 “การคูณและการหาร” สมบัติการสลับที่สาหรับการคูณ ํ a b  b a สมบัติการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวก ( a  b) c  a  ( b  c) สมบัติการแจกแจง a  ( b  c)  ( a  b)  ( a  c) ตัวอยางที่ 1 จงหาผลคูณ 2  10 วิธีทํา เนื่องจาก 2  10 = 2  10 = 20 = 2 5 ดังนั้น 2  10 =2 5 ตอบ 2 5 ตัวอยางที่ 2 จงหาผลคูณ 12  2 3 วิธีทํา วิธีที่ 1 เนื่องจาก 12  2 3 = 2 23  2 3 = 22  3  2 3 = 22  3  2 3 = 2 2 2 3 = 43 = 12 ดังนั้น 12  2 3 = 12 วิธีที่ 2 เนื่องจาก 12  2 3 = 12  43 = 12  12 = 12 12  2 3 = 12 ตอบ = 12
  • 15. 2 242 ตัวอยางที่ 3 จงหาผลลัพธ 18 2 242 242 วิธีทํา เนื่องจาก = 2 18 18 121 = 2 9 = 2  11 3 2 242 22 ดังนั้น = หรือ 7 1 18 3 3 22 1 ตอบ หรือ 7 3 3 4 ตัวอยางที่ 4 จงหาผลลัพธ 5 3 27 4 4 วิธีทํา เนื่องจาก 5 3 = 5 3 27 3 3 3  20 3 = 32  3  20 3 = 3 3 =  20 3 4 ดังนั้น 5 3 =  20 หรือ 6 2 27 3 3 20 ตอบ  หรือ  6 2 3 3
  • 16. ใบกิจกรรมที่ 1 “หาผลคูณไดอยางไร” จงหาผลลัพธ 1. 50  5 .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... 2. 75  2 5 .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ 3. 2 125  3 5 .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... 4. 7  (2 7  5 5 ) .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ 5. 2 3  ( 12  3 72 ) .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................. ...........................................................................................................................................................................
  • 17. ใบกิจกรรมที่ 2 “หาผลลัพธไดอยางไร” 3 162 1. 18 .................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ 3 18000 2. 20 .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ 5 3.  6 175  3 98 .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ 3 2 4. 12 8  ( 18 )  72 .................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ 4y 5.  3y 3 .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................
  • 18. ใบเฉลยกิจกรรม เฉลยใบกิจกรรมที่ 1 “หาผลคูณไดอยางไร” จงหาผลลัพธ 1. 50  5 = 5 5 2  5 = 5 2  5 = 5 10 2. 75  2 5 = 5 5 3  2 5 = 5 32 5 = 5 2  3  5 = 10 15 3. 2 125  3 5 = 2 5 5 5  3 5 = 10 5  3 5 = 30  5 = 150 4. 7  (2 7  5 5 ) =   7  2 7  ( 7  5 5) = (2  7)  5 35 = 14  5 35 5. 2 3  ( 12  3 72 ) = (2 3  12 )  (2 3  3 72 ) = (2 3  2  2  3 )  (2 3  3 6  6  2 ) = (2 3  2 3 )  (2 3  18 2 ) = 12  36 6
  • 19. เฉลยใบกิจกรรมที่ 2 “หาผลลัพธไดอยางไร” 3 162 162 81 1. = 3 3  3 9  3 3  9 18 18 9 3 18000 18000 2. = 3  3 900  3 30  30  90 20 20 5 5 3.  6 175  =  6 557  3 98 3 27 7 5 =  30 7  21 2 =  150 7  1 21 2 =  25 14 7 3 2 4. 12 8  ( 18 )  = 12(2 2 )  (3 2 )  3 2 72 6 2 = 24 2  (3 2 )  1 2 =  72 4y 4y  3y 5.  3y = 3 3 = 2y
  • 20. แผนการจัดการเรียนรู เพือเสริมสรางคุณลักษณะอยูอยางพอเพียง ่  วิชาคณิตศาสตร รหัสวิชาค23201 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 หนวยที่ 1 ชื่อหนวย กรณทที่สอง แผนที่ 4 เรื่องการดําเนินการของจํานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑที่สอง ครังที่ ..... วันที.่ .............. เดือน ............................พ.ศ. ............ …………..เวลา 1 ชั่วโมง ้ 1. มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ค 1.1 : เขาใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและใชจานวนในชีวิตประจําวัน ํ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ ศูนย และจํานวนตรรกยะ 2. ผลการเรียนรู บวก ลบ คูณ และหาร จํานวนจริงซึงเกี่ยวกับกรณฑทสองทีกําหนดให ่ ี่ ่ 3.สาระสําคัญ เมื่อ a เปนจํานวนจริงใด ๆ และ แทนคาสัมบูรณของ a การบวกและการคูณจํานวนจริงมีสมบัติการสลับที่ สมบัตการเปลี่ยนหมู และการแจกแจง ิ สมบัตการสลับทีสําหรับการบวก ิ ่ สมบัตการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวก ิ สมบัติการสลับที่สําหรับการคูณ สมบัตการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวก ิ  สมบัตการแจกแจง ิ 4. จุดประสงคการเรียนรู ดานความรู (K) 1. นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการบวก ลบ คูณและหารจํานวนจริงเกี่ยวกับกรณฑทสองได ี่ 2. นักเรียนสามารถอธิบายการแยกตัวประกอบของจํานวนจริงได ดานกระบวนการ (P) 1. นักเรียนสามารถบวก ลบ คูณและหารจํานวนจริงเกี่ยวกับกรณฑที่สองได 2. นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบของจํานวนจริงได ดานคุณลักษณะ (A) 1. นักเรียนมีการทํางานอยางเปนระบบ 2. นักเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง 3. นักเรียนมีความตรงตอเวลา 4. นักเรียนมีความกระตือรือรนสนใจในการเรียน
  • 21. 5. สาระการเรียนรู - การดําเนินการของจํานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑที่สอง การบวกและคูณจํานวนในรูป a เมื่อ a  0 มีสมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนกลุม และสมบัติการแจกแจงดังนี้ สมบัตการสลับทีสําหรับการบวก ิ ่ a+ b = b+ a สมบัตการเปลี่ยนกลุมสําหรับการบวก ิ ( a + b )+ c = a +( b + c ) สมบัตการสลับทีสําหรับการคูณ ิ ่ a b = b a สมบัตการเปลี่ยนกลุมสําหรับการคูณ ิ  ( a  b ) c = a ( b  c ) สมบัตการแจกแจงิ a ( b + c ) = ( a  b )+( a  c ) และ ( b + c ) a = ( b  a )+( c  a ) 6.สมรรถนะสําคัญของผูเรียน 1.ความสามารถในการสือสาร ่ 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามรถในการแกปญหา  7.ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย 2. ใฝเรียนรู 3. อยูอยางพอเพียง 8. ภาระงาน/ชิ้นงาน 8.1 ใบกิจกรรมที่ 1 “หาผลคูณไดอยางไร” 8.2 ใบกิจกรรมที่ 2 “หาผลลัพธไดอยางไร” 9. กิจกรรมการเรียนรู 1. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับสมบัตการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนหมู และการแจกแจง ิ ของกรณฑที่สองบนกระดานดังนี้
  • 22. สมบัตการสลับทีสําหรับการบวก ิ ่ a b b a สมบัตการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวก ิ ( a  b)  c  a  ( b  c) สมบัตการสลับทีสําหรับการคูณ ิ ่ a b  b a สมบัตการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวก ิ ( a  b) c  a  ( b  c) สมบัตการแจกแจง ิ a  ( b  c)  ( a  b)  ( a  c) 2.นักเรียนศึกษาใบความรูที่ 2 เรื่อง “กรณฑทสองกับคาประมาณ” และครูอธิบายเพิ่มเติมในใบ ี่ ความรูวาในกรณีที่ผลลัพธที่ไดจากการดําเนินการเปนเศษสวนที่ตัวสวนอยูในรูปกรณฑทสอง เรามักทําตัวสวนนั้น ี่ ใหเปนจํานวนเต็มดวยการคูณทั้งตัวเศษและตัวสวนดวยกรณฑนั้นกอน 3. ครูแบงนักเรียนเปนกลุม กลุมละ 7 คน พรอมกับแจกใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง“กรณฑที่สอง  กับคาประมาณ” ใหนักเรียนทุกคน แลวใหนักเรียนในแตละกลุมคิดหาวิธีการรวมกันเพื่อทําความเขาใจปญหา และวางแผนกําหนดแนวคิดในการหาคําตอบของปญหา กอนลงมือแสดงวิธีทําเพื่อหาคําตอบของปญหาขณะที่ นักเรียนทํากิจกรรมรวมกันครูสามารถเขาไปใหคําแนะนําและชวยเสนอประเด็นในการหาคําตอบรวมถึงแจก ประเด็นคําถามเพื่อกระตุนใหเกิดวิธีการคิดใหกับนักเรียนบางกลุมเทาที่จําเปน  4. ครุใหนกเรียนแตละกลุมสงตัวแทนทีมีจิตอาสาออกมารายงานเกี่ยวกับแนวคิด/วิธีทํา ในการ ั แกปญหาตาม ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง“กรณฑที่สองกับคาประมาณ” ใหนําเสนอผลการแกปญหาหนาชั้นเรียนโดย  ครูสุมมา 2 กลุม กลุมละ 1 คน ออกมานําเสนอคนละประเด็นและกําหนดเวลา 5 นาทีในการใชเวลาให เพียงพอและทันเวลาที่กําหนดเพื่อใหเกิดภูมิคุมกันในการทํางานแตละครัง โดยไมซ้ํากับกลุมเดิม และนักเรียนที่ ้ เหลือสังเกตแนวคิดของเพื่อน ตลอดจนใหกลุมทีมีแนวคิดที่แตกตางออกมานําเสนอสวนที่แตกตางจากกลุมแรก ่ ๆ ครูและนักเรียนรวมกันสรุปอักครั้ง และนักเรียนที่เหลือสังเกตแนวคิดของเพื่อน ตลอดจนใหกลุมที่มีแนวคิด ที่แตกตางออกมานําเสนอสวนที่แตกตางจากกลุมแรก ๆ ครูและนักเรียนรวมกันสรุปอีกครั้ง  5. ครูแจกใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง“รวมกันคิด” ซึ่งปรับขยายจากปญหาตามใบกิจกรรมที่ 3 “กรณฑทสองกับ ี่ คาประมาณ” ใหนักเรียนปฏิบัตกิจกรรมกลุมในการกําหนดแนวคิด/วิธีทําในการแกปญหา โดยครูสมมา 2 กลุม ิ  ุ กลุมละ 1 คน ตัวแทนนักเรียนที่มจิตอาสาออกมานําเสนอคนละประเด็นและกําหนดเวลา 5 นาทีในการใชเวลา ี ใหเพียงพอและทันเวลาที่กําหนดเพือใหเกิดภูมิคุมกันเกี่ยวกับทักษะในการทํางาน โดยไมซ้ํากับกลุมเดิม และ ่ นักเรียนที่เหลือสังเกตแนวคิดของเพื่อน ตลอดจนใหกลุมทีมีแนวคิดที่แตกตางออกมานําเสนอสวนที่แตกตางจาก  ่ กลุมแรก ๆ ครูและนักเรียนรวมกันสรุป ครูตรวจผลงานกลุม 6. ครูแจกใบกิจกรรมที่ 5 เรื่อง“แนวคิดของฉัน” ซึ่งปรับขยายจากปญหาตามใบกิจกรรมที่ 4 “รวมกันคิด” ใหนักเรียนปฏิบัติกจกรรมเปนรายบุคคลในการกําหนดแนวคิด/วิธีทําในการแกปญหา โดยใหทําใน ิ
  • 23. เวลาที่เหลืออยูและชี้แนะนักเรียนในการสรางภูมิคุมกันในการใชเวลาทีเ่ หลือในการทํางานใหเสร็จทันเวลา เมื่อ  นักเรียนทํางานเสร็จแลวครูตรวจแกไขผลงานของนักเรียนในตอนทายชั่วโมงเพือเปนการสรุป ่ 10. สื่อ/แหลงเรียนรู 10.1 สื่อ 1.ใบความรูที่ 1 เรื่อง “การคูณและการหาร” 2.ใบกิจกรรมที่ 1 เรือง “หาผลคูณไดอยางไร” ่ 3.ใบกิจกรรมที่ 2 เรือง“หาผลลัพธไดอยางไร” ่ 10.2 แหลงเรียนรู 1.หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรในตูชั้นวางหนังสือคูมือคณิตศาสตรเพิ่มเติมม.3 11. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีประเมิน เครื่องมือ เกณฑการประเมินผล ใบกิจกรรม การสังเกต แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนแสดงวิธีการหา ตรวจใบกิจกรรม คําตอบไดถูกตอง ครบถวนสมบูรณ ทําถูกตองไมนอยกวารอย ละ 80 ขึ้นไป ผานเกณฑ คุณลักษณะอันพึงประสงค การสังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนไดคะแนนไมนอย กวารอยละ 80 ขึ้นไป ผานเกณฑ
  • 24. เกณฑการประเมินผล คําอธิบายระดับคุณภาพ รายการประเมิน ดี ปานกลาง ปรับปรุง ใบกิจกรรม 1.ความสมบูรณครบถวน การแสดงวิธีการหา แสดงวิธีการหาคําตอบได แสดงวิธีการหาคําตอบ คําตอบไดถูกตอง ถูกตองแตยังไมครบถวน ยังไมถูกตอง ครบถวนสมบูรณ ทําถูกตองไมนอยกวา 2.ความถูกตอง ทําถูกตองไมนอยกวา รอยละ 50 ทําถูกตองนอยกวา รอยละ 80 สงงานไมทันเวลา รอยละ 50 3.ความตรงตอเวลา สงงานทันเวลา ทํางานดวยตนเองเปน ไมสงงาน 4.ความซื่อสัตย ความ ทํางานดวยตนเอง บางสวน ไมไดทําดวยตนเอง เรียบรอย คุณลักษณะอันประสงค ไดคะแนนไมนอยกวา ไดคะแนนไมนอยกวาละ ไดคะแนนนอยกวา 1. การมีสวนรวมในการวางแผน รอยละ 80 50 รอยละ 50 2. การปฏิบัติตนตาม บทบาท หนาที่ 3. การใหความ รวมมือในการ ทํางาน 4. การแสดงความคิดเห็น 5. การยอมรับความคิดเห็นของ ผูอื่น 6. การเขารวมกิจกรรมอยาง สม่ําเสมอ 7. ความรับผิดชอบ งานที่ไดรับ มอบหมาย
  • 25. 12 . บันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู 12.1 ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู 12.1.1 ดานความรู ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 12.1.2 ดานทักษะกระบวนการ ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 12.1.3 ดานคุณลักษณะอังพึงประสงค ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 12.2 สภาพปญหา/อุปสรรค ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 12.3 แนวทางการพัฒนา ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ) (...........................................................) ครูผสอนู ............./............................./............
  • 26. แนวทางการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู 1. ผูสอนนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู หลักพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี ประเด็น เนื้อหา วิเคราะหเนื้อหาสาระที่ -มุงใหผเู รียนมีทักษะ มีการวางแผนการจัด สอดคลองกับเนื้อหาและ กระบวนการคิดวิเคราะห กิจกรรมการเรียนรูอยาง หลักสูตรและมาตรฐานการ สรางสรรคแกปญหาในการ เปนระบบ รอบคอบ เรียนรูของกลุมสาระการ ปฏิบัติกิจกรรมเรืองกรณฑที่ เรียนรู สอง เวลา -ครูใชเวลาในการจัด - การจัดสรรเวลาที่ดสงผล ี - มีการจัดสรรเวลาเพิม ่ กิจกรรมไดเหมาะสมกับ ใหการดําเนินกิจกรรม สําหรับนักเรียนที่ไม เนื้อหาและกิจกรรม เปนไปอยางราบรื่น สามารถปฏิบัติกจกรรมได ิ เรียงลําดับกิจกรรมตาม ตามลําดับเวลา ตามขั้นตอนหรือไมทัน ความสําคัญและความยาก เพื่อน งายของแตละกิจกรรม วิธีการจัดกิจกรรม -กิจกรรมการเรียนรูมีความ  - เมื่อผูเรียนไดปฏิบัติ - ในกรณีที่กิจกรรมไม เหมาะสมกับระดับของ กิจกรรมที่เหมาะสมกับ เปนไปตามที่กําหนด ครู ผูเรียน เวลา และบริบทของ ระดับของผูเ รียน ความ ควรมีการเตรียมกิจกรรม โรงเรียน สนใจ ผูเ รียนจะเกิดความ สํารองและตัดทอน - มีการจัดลําดับ กระตือรือรนในการรวม กิจกรรมในกรณีทกิจกรรม ี่ ความสําคัญของกิจกรรม กิจกรรม สามารถสรางองค ใชเวลานานเกินไปหรือไม โดยเนนกิจกรรมใหนักเรียน ความรูไดงายขึ้น นาสนใจ ไดฝกปฏิบัติ - การจัดตามลําดับ - ครูจดกิจกรรมตรงตามผล ั ความสําคัญของกิจกรรม การเรียนรู โดยเนนขั้นที่ผเู รียนไดลงมือ ปฏิบัติ ทําใหผเู รียนเกิดการ เรียนดวยตนเอง แหลงเรียนรู ครูมีการจัดเตรียมสื่อและ - แหลงเรียนรูที่เหมาะสมทํา  - ครูควรตรวจสอบดูวา แหลงเรียนรูเรื่องกรณฑที่ ใหผูเรียนบรรลุผลตามผล แหลงเรียนรูตางๆนั้น สองไดเหมาะสมกับกิจกรรม การเรียนรู ครบถวนพรอมใช วัยความสามรถและความ - กระตุนใหผเู รียนมีความ ประกอบการจัดการเรียนรู สนใจของนักเรียน กระตือรือรนอยากเรียน - มีการวางแผนเตรียม
  • 27. แหลงเรียนรูเพื่อดําเนิน กิจกรรมไวลวงหนา สื่อ-อุปกรณ - อุปกรณเพียงพอตอกลุม -เมื่ออุปกรณเพียงพอ -มีการจัดเตรียมอุปกรณ ของนักเรียน นักเรียนสนใจที่จะเรียนรู สํารองไวกรณีฉุกเฉิน -อุปกรณมีความชัดเจนและ - ความชัดเจนของกิจกรรม - นักเรียนสามารถใช เหมาะกับกิจกรรม อุปกรณ กระตุนใหผเู รียน อุปกรณไดถูกตองและ เกิดการเรียนรู เหมาะสมกับกิจกรรมลด การอธิบาย การวัดและประเมินผล -มีการเลือกใชวิธีการวัดและ - การประเมินทีหลากหลาย -มีการประเมินความรูของ ่ ประเมินผลไดเหมาะสมกับ คลอบคลุมมาตรฐานและผล นักเรียนกอน วัยของผูเรียน กิจกรรมและ การเรียนรู -มีการศึกษาสรางเครื่อง ผลการเรียนรู และประเมินผลที่ เหมาะสมตามมาตรฐาน และผลการเรียนรู ความรูที่ครูจําเปนตองมี มาตรฐานการเรียนรู/ สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู/วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการ    สอน จิตวิทยาวัยรุน การจัดเตรียมสือและเทคโนโลยี แหลงเรียนรู เนื้อหาเรืองกรณฑที ่ ่ สอง คุณธรรมของครู - ความเมตตากรุณา ความเที่ยงตรง ความยุติธรรม ความอดทน ความเพียรพยายาม