SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 13
Descargar para leer sin conexión
เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 1

ใบความรู้ เรื่อง หลักการแต่ งคาประพันธ์ ประเภทฉันท์
หลักการแต่ งคาประพันธ์ ประเภทฉันท์
นักเรี ยนได้เรี ยนรู ้การแต่งคําประพันธ์กาพย์ กลอน โคลง และร่ ายมาแล้วในชั้นก่อนในชั้น
นี้นกเรี ยนจะได้เรี ยนรู ้การแต่งคําประพันธ์ประเภทฉันท์ซ่ ึ งเป็ นคําประพันธ์ที่แต่งยาก และอ่านยากกว่าคํา
ั
ประพนธ์ทุกชนิด เพราะฉันท์มีขอบังคับเรื่ องคําครุ ลหุ เพิ่มขึ้นและคําที่ใช้ในการแต่งฉันท์น้ นส่ วนใหญ่เป็ น
้
ั
คําที่มาจากภาษาบาลี สันสกฤต เพราะคําไทยหาคําลหุที่มีความหมายได้ยาก
การศึกษาให้เข้าใจรู ปแบบและลักษณะบังคับของฉันท์ จะช่วยให้ผอ่านเข้าใจคําประพันธ์ประเภท
ู้
ฉันท์ สามารถอ่านออกเสี ยงได้ถูกต้อง และเข้าใจความหมายได้ลึกซึ้ งยิงขึ้น ความรู ้เรื่ องฉันท์ที่จะกล่าวถึง
่
ต่อไปในบทนี้ มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู ้เกี่ยวกับลักษณะบังคับหรื อฉันท์ของฉันท์ที่กวีไทยนิยมแต่ง และ
่
ปรากฏอยูในวรรณคดีประเภทคําฉันท์ของไทย เพื่อให้นกเรี ยนใช้เป็ นความรู ้พ้ืนฐานในการแต่งฉันท์ และ
ั
ในการอ่านวรรณคดีไทยให้เข้าใจยิงขึ้น
่
ความหมายของฉันท์
ฉันท์ หมายถึง คําประพันธ์ชนิดหนึ่งของไทยที่มีขอบังคับ เรื่ อง ครุ ลหุ เพิ่มขึ้น
้
นอกเหนือจากเรื่ องคณะและสัมผัสซึ่งเป็ นข้อบังคับในคําประพันธ์ชนิดอื่น
คาครุ และคาลหุ
ครุ
คําเสี ยงหนัก มีลกษณะดังนี้
ั
- พยางค์ที่มีตวสะกด
ั
- พยางค์ที่ไม่มีตวสะกดประสมด้วนสระเสี ยงยาว
ั
- พยางค์ที่ประสมด้วยสระ อํา ไอ ใอ เอา
ลหุ
คําเสี ยงเบา มีลกษณะดังนี้
ั
- พยางค์ที่ไม่มีตวสะกดประสมด้วนสระเสี ยงสั้น
ั
ทีมาของฉันท์
่
่
ไทยรับแบบอย่างมาจากอินเดีย ตําราฉันทศาสตร์ วาด้วยการแต่งฉันท์ คือ คัมภีร์วุตโตทัย และคัมภีร์
สุ โพธาลังการ จากพระไตรปิ ฎก
คัมภีร์วุตโตทัย กล่าวว่าฉันท์มี 108 ชนิด แบ่งเป็ น 2 พวก คือ
1.ฉันท์วรรณพฤติ
2.ฉันท์มาตราพฤติ
ํ
ฉันท์วรรณพฤติกาหนดคณะของฉันท์ 8 คณะ
คณะของฉันท์ คณะ หมายถึง ลักษณะการเรี ยงของเสี ยงครุ และลหุ กลุ่มละ 3 เสี ยง เป็ น 1 คณะ
มี 8 คณะ คือ
เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 2

-

มะ
นะ
ภะ
ยะ

-

ชะ
ระ
สะ
ตะ

ประเภทของฉันท์
ฉันท์มากมายหลายชนิด การแบ่งชนิดของฉันท์ตามฉันทลักษณ์ให้สะดวกแก่การศึกษาอาจ
แบ่งเป็ น ๓ ประเภท ดังนี้
ประเภทที่ ๑ ฉันท์ ๑๑ ฉันท์ ๑๒ และฉันท์ ๑๔ ฉันท์ประเภทนี้แบ่งเป็ น ๒ บาท มีสัมผัสเหมือนกัน แต่
ลักษณะการอ่านแตกต่างกันตามตําแหน่งคําครุ ลหุ มีสัมผัสบังคับ คือ สัมผัสระหว่างบาทและระหว่างบท คือ คํา
สุ ดท้ายของบทเอก ( บาทที่หนึ่ง) ส่ งสัมผัสไปยังคําสุ ดท้ายในวรรคแรกของบาทโท ( บาทที่สอง) ถ้ามากกว่าหนึ่ง
บท ต้องมีสัมผัสระหว่างบท คือ คําสุ ดท้ายของบทแรกจะต้องส่ งสัมผัสไปยังคําสุ ดท้ายของบาทเอกในบทต่อไป
ส่ วนสัมผัสที่เป็ นเส้นประในแผนผัง เป็ นสัมผัสระหว่างวรรคแรกส่ งสัมผัสไปยังคําที่สามของวรรคที่สองในบาท
เดียวกัน เป็ นสัมผัสที่ไม่บงคับ บางบทจะมีสัมผัสดังกล่าว แต่บางบทก็ไม่มี
ั
ฉันท์ ๑๑ หมายถึง ฉันท์ที่มีจานวนคําครุ ลหุ บาทละ ๑๑ คํา เช่น อินทรวิเชียรฉันท์ อุเปนทรวิเชียร
ํ
ฉันท์ อุปชาติฉนท์ สาลินีฉนท์
ั
ั
๑ อินทรวิเชียรฉันท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้
ั

พวกราชมัลโดย
สุ ดหัตถแห่งเขา
บงเนื้อก็เนื้อเต้น
ทัวร่ างและทั้งตัว
่

พลโบยมิใช่เบา
ขณะหวดสิ พึงกลัว
พิศเส้นสรี ร์รัว
ก็ระริ กระริ วรัว
( สามัคคีเภทคําฉันท์)

ข้อสังเกต
อินทรวิเชียรฉันท์บทหนึ่งมีสองบทบาท บาทที่หนึ่งมีสองวรรค วรรคแรกมี ๕ คํา วรรคหลังมี ๖ คํา รวม
บทที่มี ๒๒ คํา
เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 3

๒. อุเปนทรวิเชียรฉันท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่างดังนี้
ั

พระราชบุตรลิจ
ณ กันและกันเหิ น
ทะนงชนกตน
ก็หาญกระเหิ มฮือ

ฉวิมิตรจิตเมิน
คณะห่างก็ต่างถือ
พลล้นเถลิงลือ
มนฮึก บ นึกขาม

ข้อสังเกต
อุเปนทรวิเชียรฉันท์ มีคณะเหมือนอินทรวิเชียรฉันท์ ต่างกันที่ตาแหน่งคําต้นบาทของอุเปนทรวิเชียรฉันท์
ํ
เป็ นคําลหุ แต่อินทรวิเชียรฉันท์เป็ นคําครุ
ั
๓. อุปชาติฉนท์ หมายถึง ฉันท์ที่แต่งประสมกันระหว่างอุเปนทรวิเชียรฉันท์กบอินทรวิเชียรฉันท์ ในการ
ั
แต่งจึงต้องอย่างน้อยสองบท เพราะกําหนดให้บาทที่หนึ่งของบทแรก กับบทที่สองเป็ นอุเปนทรวิเชียร และให้
บาทที่สองของบทแรกกับบทที่สองเป็ นอินทรวิเชียรฉันท์ ตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้

สดับประกาศิต
จึงราชสมภาร
เราคิดจะใคร่ ยก
ประชุมประชิดชัย

ระบุกิจวโรงการ
พจนารถประภาษไป
พยุห์พลสกลไกร
รณรัฐวัชชี

ข้อสังเกต
อุปชาติฉนท์มีคณะเหมือนอุเปนทรวิเชียรฉันท์ในบาทที่ ๑ และอินทรวิเชียรฉันท์ในบาทที่ ๔
ั
เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 4

๔. สาลินีฉนท์ เป็ นฉันท์ที่มีครุ มาก มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้
ั
ั

พราหมณ์ครู รู้สังเกต
ราชาวัชชีสรร
ยินดีบดนี้กิจ
ั
เริ่ มมาด้วยปรากรม

ตระหนักเหตุถนัดครัน
พจักสู่ พินาศสม
จะสัมฤทธิ์ มนารมณ์
และอุตสาหแห่งตน
( สามัคคีเภทฉันท์)

ข้อสังเกต
สาลินีฉนท์บทหนึ่งมีสองบาท บาทหนึ่งมีสองวรรค วรรคแรกมี ๕ คํา วรรคหลังมี ๖ คํา เหมือนกับอินทร
ั
วิเชียรฉันท์ ต่างกันเพียงตําแหน่งคําครุ ลหุ วรรคแรกเป็ นครุ ลวน
้
ฉันท์ ๑๒ หมายถึง ฉันท์ที่มีจานวนคําครุ ลหุบาทละ ๑๒ คํา
ํ
ขอให้นกเรี ยนสังเกตอินทรวงศ์ฉนท์ และวังสัฏฐฉันท์ ซึ่ งมีลกษณะคล้ายกับอินทรวิเชียรฉันท์ และอุเป
ั
ั
ั
นทรวิเชียร แต่บาทที่ ๒ และบาทที่ ๔ มีตาแหน่งคําครุ ลหุ ต่างกัน
ํ
๑. อินทรวงศ์ฉนท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่างดังนี้
ั
ั

่
โอ้วาอนาถใจ
แต่ไรก็ไม่มี
ไม่เคยจะเชื่อว่า
มาสู่ ณ ใจตน

ละไฉนนะเป็ นฉนี้
มะนะนึกระเหระหน
รติน้ นจะสัประดน
ั
และจะต้องระทมระทวย
( มัทนะพาธา)
เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 5

ข้อสังเกต
อินทรวงศ์ฉนท์ บทหนึ่งมี ๒๔ คํา แบ่งเป็ นสองบาท บาทหนึ่งมีสองวรรค วรรคแรกมี ๕ คํา วรรคหลังมี
ั
๗ คํา
๒. วังสัฏฐฉันท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผัง และตัวอย่างต่อไปนี้
ั

ประชุมกษัตริ ยรา
์
คะเนณทุกข์รึง
ประกอบระกําพา
มิใช่จะแอบอิง

ชสภาสดับคะนึง
อุระอัดประหวัดประวิง
หิ รกายน่าจะจริ ง
กลอํากระทําอุบาย
(สามัคคีเภทคําฉันท์)

ข้อสังเกต
วัสัฏฐฉันท์ บทหนึ่งมีสองบาท บาทหนึ่งมีสองวรรค วรรคแรกมี ๕ คํา วรรคหลังมี ๗ คํา ตําแหน่งคําครุ
ลหุ และจํานวนคําของฉันท์น้ ี คล้ายกับอินทรวงศ์ฉนท์ ต่างกันตรงที่คาแรกในวรรคหน้าของอิรนทรฉันท์เป็ นครุ แต่
ั
ํ
วังสัฏฐฉันท์เป็ นคําลหุ
๓. กมลฉันท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้
ั

อิลโอนศิโรเพฐน์
ศิวะทรงพิโรธใน
บมิทรงประสาทโทษ
วรองค์อุมาอร

พจขอมาภัย
ธ กระทํากระลําพร
อิลโอดสําออยวอน
อนุกลกําลูนครัน
ู
( อิลราชาคําฉันท์)
เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 6

ข้อสังเกต
กมลฉันท์บทหนึ่งมี ๒๔ คํา แบ่งเป็ นสองบาท บาทหนึ่งมีสอง วรรคหนึ่งมี ๖ คํา การวางตําแหน่งครุ ลหุ
คล้ายอุเปนอินทรวิเชียรฉันท์ เพียงแต่เพิ่มคําลหุ หน้าวรรคแรกอีกหนึ่งคํา
๔. โตฎกฉันท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้
ั

ศิวะแปลงวรรู ป
พระอุมาพระก็มี
ดรุ สัตว์บริ เวณ
สละเพศพิศสม

วิยหญิงยุวดี
สุ มนัสนิยม
พะพระเวทอุดม
ศิวะเพศพระจําแลง
( อิลราชาคําฉันท์)

ข้อสังเกต
โตฎกฉันท์หนึ่งบทมี ๒๔ คํา แบ่งเป็ นสองบาท บาทหนึ่งมีสองวรรค วรรคละหกคําเหมือนกมลฉันท์
ต่างกันที่ตาแหน่ง ครุ ลหุ
ํ
๕. ภุชงคประยาตฉันท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่างดังนี้
ั

ชะโดดุกกระดี่โดด
กระเพื่อมนํ้าพะพรํ่าพรอย
กระสร้อยซ่าสวายชิว
ประมวลมัจฉะแปมปน

สลาดโลดยะหยอยหยอย
กระฉอกฉานกระฉ่ อนชล
ระรี่ ริ้วละวาดวน
ประหลาดเหลือจะรําพัน
( อิลราชาคําฉันท์)
เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 7

ข้อสังเกต ภุชงคประยาตฉันท์บทหนึ่งมี ๒๔คํา แบ่งเป็ นสองบาท บาทหนึ่งมีสองวรรค วรรคละหกคํา
ฉันท์ ๑๔ หมายถึง ฉันท์ที่มีจานวนคําครุ ลหุบาทละ ๑๔ คํา ฉันท์ ๑๔ ที่กวีไทยนิยมแต่ง คือ วสันตดิลก
ํ
ฉันท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้
ั

เรื องรองพระมนทิรพิจิตร
ก่องแก้วและกาญจนระคน
ช่อฟ้ าก็เฟื้ อยกลจะฟัด
บราลีพิไลพิศบวร

กลพิศพิมานบน
รุ จิเรขอลงกรณ์
ดลฟากทิฆมพร
ั
นภศูลสล้างลอย
( อิลราชาคําฉันท์)

ข้อสังเกต
วสันตดิลกฉันท์ บทหนึ่งมี ๒๘ คํา แบ่งเป็ นสองบาท บาทหนึ่งสองวรรค วรรคแรกมี ๘ คํา วรรคหลังมี
๖ คํา
ประเภทที่ ๒ ฉันท์ ๘ ฉันท์ประเภทนี้ บทหนึ่งมี ๔ บาท บาทหนึ่งมี ๘ คํา แบ่งเป็ น ๒ วรรค มีสัมผัส
บังคับแบบเดียวกัน คือ คําสุ ดท้ายของวรรคที่สองส่ งสัมผัสไปยังคําสุ ดท้ายของวรรคที่สาม คําสุ ดท้ายของวรรคที่
สี่ ส่ งสัมผัสไปยังคําสุ ดท้ายของวรรคที่หก คําสุ ดท้ายของวรรคที่หกส่ งสัมผัสไปยังคําสุ ดท้ายของวรรคที่เจ็ด ถ้า
แต่งมากกว่าหนึ่งบทจะต้องมีสัมผัสระหว่างบท คือ คําสุ ดท้ายของบทต้น ( คําสุ ดท้ายของวรรคที่แปด) จะต้องส่ ง
สัมผัสไปยังคําสุ ดท้ายของวรรคที่สี่ในบทถนัดไป
ตัวอย่างฉันท์ ๘ เช่น วิชชุมมาลาฉันท์ มาณวกฉันท์ จิตรปทาฉันท์
๑. วิชชุมมาลาฉันท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้
ั
แรกทางกลางเถื่อน
ห่างเพื่อนหาผู ้
หนึ่งใดนึกดู
เห็นใครไป่ มี
หลายวันถันล่วง
เมืองหลวงธานี
่
นามเวสาลี
ดุ่มเดาเข้าไป
ผูกไมตรี จิต
เชิงชิดชอบเชื่อง
กับหมู่ชาวเมือง
ฉันอัชฌาลัย
่
เล่าเรื่ องเคืองขุ่น
ว้าวุนวายใจ
จําเป็ นมาใน
ด้าวต่างแดนตน
( สามัคคีเภทคําฉันท์)
เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 8

ข้อสังเกต
วิชชุมมาลาฉันท์บทหนึ่งมีสี่บาท รวมแปดวรรค บาทหนึ่งมีสองวรรค วรรคละ ๔ คําแต่ละวรรคใช้คาครุ
ํ
ล้วน
ั
หากเปรี ยบเทียบระหว่างวิชชุ มมาลาฉันท์กบกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ จะพบว่ามีลกษณะบังคับที่คล้ายคลึง
ั
กันมาก ทั้งในเรื่ องจํานวนคําในแต่ละวรรคซึ่ งมีสี่คาเท่ากัน และในเรื่ องสัมผัสบังคับ ต่างกันเพียงวิชชุมมาลาฉันท์
ํ
่
มีจานวนคํามากกว่ากาพย์สุรางคนางค์อยูหนึ่งวรรค และทุกคําในวิชชุมมาลาฉันท์ เป็ นคําครุ ลวน แต่กาพย์
ํ
้
สุ รางคนางค์ไม่บงคับครุ ลหุ
ั
๒. มาณวกฉันท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้
ั

อย่าติและหลู่
เธอน่ะเสวย
ในทินนี่
พอหฤทัย
ราช ธ ก็เล่า
ตนบริ โภค
วาทประเทือง
อาคมยัง

ครู จะเฉลย
ภัตกะอะไร
ดีฤไฉน
ยิงละกระมัง
่
เค้า ณ ประโยค
แล้วขณะหลัง
เรื่ องสิ ประทัง
สิ กขสภา
( สามัมคีเภทคําฉันท์)

ข้อสังเกต
มาณวกฉันท์มีจานวนคําในแต่ละบท แต่ละบาท และแต่ละวรรคเหมือนคณะของวิชชุ มมาลาฉันท์ ต่างกัน
ํ
ํ
่
แต่มาณวกฉันท์กาหนดคําลหุ อยูกลางสองคํา จึงทําให้มีจงหวะเร็ วกว่าวิชชุมมาลาฉันท์
ั
๓. จิตรปทาฉันท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้
ั
เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 9

นาครธา
เห็นริ ปุมี
ข้ามดิรชล
มุ่งจะทลาย
ต่างก็ตระหนก
ตื่นบมิเว้น
ทัวบุรคา
่
เสี ยงอลวน

อลเวงไป
พลมากมาย
ก็ลุพนหมาย
้
พระนครตน
มนอกเต้น
ตะละผูคน
้
มจลาจล
อลเวงไม
(สามัคคีเภทคําฉันท์)

ข้อสังเกต
ํ
่
จิตรปทาฉันท์ต่างจากมาณวกฉันท์ตรงที่กาหนดตําแหน่งคําลหุ ในวรรคหลังให้อยูหน้าทั้งสองคํา แล้วตาม
ด้วยคําครุ สองคํา
ประเภทที่ ๓ ฉันท์ประเภท ๓ วรรค ฉันท์ประเภทนี้บทหนึ่ง แบ่งเป็ น ๓ วรรค ใช้สัมผัสแบบเดียวกัน
คือ คําสุ ดท้ายของวรรคแรก ส่ งสัมผัสไปยังคําสุ ดท้ายของวรรคที่สอง คําสุ ดท้ายของวรรคที่สาม (คําสุ ดท้ายของ
บท) ส่ งสัมผัสไปยังคําสุ ดท้ายของวรรคในบทต่อไป ลักษณะสัมผัสคล้ายกาพย์ฉบัง ๑๖
ตัวอย่างฉันท์ประเภทนี้ เช่น มาลินีฉนท์ ๑๕ ลัททุลวิกกีฬิตฉันท์ ๑๙ อีทิสังฉันท์ ๒๐
ั
๑. มาลินีฉนท์ ๑๕ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่างดังนี้
ั
ั

มธุรพจนรําพัน

พื้นพิเศษสรรพ์

สถาพร
เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 10

มธุรพจนสารสอน

เชิญวิมลสมร

บํารุ งองค์

ข้อสังเกต
มาลินีฉนท์บทหนึ่ง มี ๑๕ คํา วรรคที่หนึ่งมี ๘ คํา วรรคที่สองมี ๔ คํา วรรคที่สามมี ๓ คํา
ั
๒. สัททุลวิกกีฬิตฉันท์ ๑๙ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้
ั

ไหว้คุณองค์พระสุ คตอนาวรณญาณ
ยอดศาสตาจารย์
อีกคุณสุ นทรธรรมคัมภีรวิธี
พุทธพจน์ประชุมตรี

มุนี
ปิ ฏก
(สามัคคีเภทคําฉันท์)

ข้อสังเกต
ลัททุลวิกกีฬิตฉันท์บทหนี่งมี ๑๙ คํา วรรคแรกมี ๑๒ คํา วรรคที่สองมี ๕ คํา วรรคที่สามมี ๒ คํา
๓. อีทิสังฉันท์ ๒๐ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้
ั

เอออุเหม่นะมึงซิ ช่างกระไร
ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน
ศึก บ ถึงและมึงก็ยงมิเห็น
ั
จะน้อยจะมากจะยากจะเย็น
ข้อสังเกต

ก็มาเป็ น
ประการใด
(สามัคคีเภทคําฉันท์)
เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 11

อีทิสังฉันท์บทหนึ่งมี ๒๐ คํา วรรคแรกมี ๙ คํา วรรคที่สองมี ๘ คํา และวรรคที่สามมี ๓ คํา
นอกจากนี้ ยังมีฉนท์ที่ไม่สามารถจัดเข้าประเภทดังกล่าวได้ เช่น
ั
๔.สัทธราฉันท์ ๒๑ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้
ั

ฟั่นเฟื อนเลือนลืมเพราะอารมณ์
เดือดบได้สม
อย่างทรงเศร้าโศกพิโยคมี
สํ่าสุ เมธี

วิปริ ตกระอุกรม
ประฤาดี
ทุมนสบมิดี
ติเตียนนัก
(อิลราชคําฉันท์)

ข้อสังเกต
สัทธราฉันท์บทหนึ่ง มี ๒๑ คํา แบ่งเป็ นสี่ วรรค วรรคแรกและวรรคที่สองมีวรรคละ ๗ คํา
วรรคที่สามมี ๔ คํา วรรคที่สี่มี ๓ คํา คําสุ ดท้ายของวรรคแรกส่ งสัมผัสไปยังคําสุ ดท้ายของวรรคที่สอง และคํา
สุ ดท้ายของวรรคที่สองส่ งสัมผัสไปยังคําสุ ดท้ายของวรรคที่สาม คําสุ ดท้ายของวรรคที่สี่ในบทแรก ส่ งสัมผัสไปยัง
คําสุ ดท้ายของวรรคแรกในบทถัดไป
การเลือกใช้ ฉันท์ให้ เหมาะสมกับเนือความ
้
เนื่องจากฉันท์แต่ละชนิดมีลีลาไม่เหมือนกัน กวีจึงนิยมเลือกฉันท์ให้เหมาะสมกับเนื้ อความที่
ต้องการแต่ง ดังนี้
๑. บทไว้ครู บทนมัสการสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ บทสรรเสริ ญพระเกียรติ ที่ตองการให้มีความขลัง
้
นิยมใช้ลททุลวิกกีฬิตฉันท์
ั
๒. บทพรรณนา บทชม หรื อบทครํ่าครวญ เช่น พรรณนาความงามธรรมชาติ พรรณนาความงามของ
บ้านเมือง ชมความงามของผูหญิง พรรณนาความรักและความเศร้าโศก เป็ นต้น นิยมใช้วสันตดิลกฉันท์ หรื อ
้
อินทรวิเชียรฉันท์
เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 12

๓. บทแสดงอารมณ์รุนแรง เช่น โกรธ ตื่นเต้น และวิตกกังวล เป็ นต้น หรื อบรรยายเกี่ยวกับความรักที่
เน้นอารมณ์สะเทือนใจ นิยมใช้อีทิสังฉันท์ เพราะฉันท์น้ ี มีเสี ยงหนักเบาสลับกันทําให้แสดงอารมณ์ได้ดี
๔. บทพรรณนา หรื อบรรยายความที่น่าตื่นเต้นประทับใจ แสดงความร่ าเริ ง สนุกสนานรวดเร็ ว นิยมใช้
ภุชงคประยาตฉันท์ โตฎกฉันท์ หรื อมาณวกฉันท์
๕. บทบรรยายความที่เป็ นไปอย่างเรี ยบ ๆ นิยมใช้อุเปนทรวิเชียรฉันท์ อินทวงค์ฉนท์
ั
วังลัฏฐฉันท์
อุปชาติฉนท์
ั
๖. บทบรรยายเรื่ องที่มีลกษณะสับสนต่อเนื่ องกัน นิยมใช้มาลีนีฉนท์ ซึ่งมีลหุในวรรคแรกถึงหกพยางค์
ั
ั
ั
มีลีลาจังหวะเร็ วและช้าลงในตอนท้าย แต่ฉนท์น้ ีแต่งยาก จึงใช้กบบทบรรยายที่ไม่ยาวนัก
ั
ความนิยมในการเลือกใช้ฉนท์แต่งให้เหมาะสมกับเนื้ อความที่กล่าวมานี้ มิได้เป็ นข้อกําหนดตายตัวเป็ น
ั
เพียงข้อสังเกต สําหรับใช้เป็ นแนวทางในการพิจารณาเลือกใช้ฉนท์ให้เหมาะกับเนื้อความเท่านั้น
ั
การอ่านฉันท์
เนื่องจากฉันท์เป็ นคําประพันธ์ที่บงคับครุ ลหุ การอ่านฉันท์จึงต้องอ่านให้ถูกต้องตามตําแหน่งคํา
ั
ครุ ลหุ และลีลาจังหวะของฉันท์แต่ละชนิด คําบางคําที่ปกติอ่านออกเสี ยงเป็ นครุ เช่น คําว่า สุ ข (สุ ก) อาจจะ
่
ออกเสี ยบงเป็ นลหุ สองพยางค์วา สุ -ขะ หรื อออกเสี ยงว่า สุ ก-ขะ เมื่อบังคับให้อ่านเป็ นครุ เรี ยงกัน ดังตัวอย่าง
วสันตดิลกฉันท์ ๑๔ ในสามัคคีเภทคําฉันท์ต่อไปนี้
แว่นแคว้นมคธนครรา
ชคฤห์ฐานบุรี
สื บราชวัตรวิธทวี
ทศธรรมจรรยา

การอ่านวสันตดิลกฉันท์บทนี้ตองออกเสี ยงอ่านตามตําแหน่งครุ ลหุ ดังนี้
้
แว่น แคว้น / มะ คด / ทะ นะ คะ รา
ชะ ครึ ถา / นะ บู รี
สื บ ราด / ชะ / วัด / วิ ทะ ทะวี
ทะ สะ ทัน / มะ จัน ยา
ในการอ่านฉันท์น้ น นอกจากต้องออกเสี ยงครุ ลหุ ให้ถูกต้องตามแผนผังคับของฉันท์แต่ละประเภทแล้ว
ั
ต้องเว้นจังหวะตอนในการอ่านให้ถูกต้องด้วย โดยมีช่วงหยุดเล็กน้อยข้างหลังคําที่ลงจังหวะ และจะต้องลงจังหวะ
ที่คาครุ เสมอไป การแบ่งจังหวะในการอ่านฉันท์ประเภทต่าง ๆ ขอให้นกเรี ยนศึกษาจากแผนผังของฉันท์แต่ละ
ํ
ั
ชนิด ซึ่ งได้แสดงไว้แล้วอย่างชัดเจน
่
ถ้านักเรี ยนได้อ่านออกเสี ยงฉันท์แต่ละชนิดหลาย ๆ ครั้ง แล้วฟังจังหวะด้วยตนเอง ก็จะทราบได้วาฉันท์
แต่ละชนิดมีจงหวะอย่างไร ควรจะเน้นเสี ยง ทอดเสี ยงในการอ่านอย่างไร จึงจะฟังไพเราะ แม้จะไม่ได้อ่านเป็ น
ั
ทํานองเสนาะก็ตาม ผูอ่านก็จะจําลักษณะบังคับครุ ลหุ ให้ได้จึงจะอ่านได้ถูกต้องตามลักษณะบังคับของฉันท์แต่ละ
้
ชนิด
เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 13

การฝึ กแต่ งคาประพันธ์ ประเภทฉันท์
่
แม้วาฉันท์จะเป็ นคําประพันธ์ที่แต่งยาก แต่หากนักเรี ยนได้ฝึกแต่ง นักเรี ยนจะพบว่าการแต่งฉันท์
นั้นไม่ยากอย่างที่คิด ทั้งยังเกิดความสนุกสนานในการเลือกสรรถ้วยคํามาให้ตรงตําแหน่งครุ ลหุ ของฉันท์ ในการ
ฝึ กแต่งฉันท์นกเรี ยนควรปฏิบติดงนี้
ั
ั ั
๑. ศึกษาฉันท์ลกษณ์ของฉันท์ชนิดที่นกเรี ยนต้องการแต่งให้เข้าใจ
ั
ั
๒. ในขั้นฝึ กหัดควรเลือกฉันท์ที่แต่งได้ง่าย ไม่มีครุ ลหุ ซบซ้อน เช่น วิชชุมมาลาฉันท์ ซึ่งมี
ั
ลักษณะคล้ายกาพย์สุรางคนางค์ อินทรวิเชียรฉันท์ ซึงลักษณะคล้ายกาพย์ยานี เพราะกาพย์ท้ งสองชนิดนี้นกเรี ยน
ั
ั
เคยเรี ยนรู ้มาแล้วในช่วงชั้นที่ ๓ เมื่อมีความชํานาญจึงเลือกแต่งฉันท์ที่ยากขึ้น
๓. เลือกหัวข้อง่าย ๆ ที่นกเรี ยนมีประสบการณ์ อาจจะเป็ นเรื่ องในชีวิตประจําวันของนักเรี ยน
ั
เช่น การศึกษา การสนทนา การท่องเที่ยว เป็ นต้น
๔. ไม่ควรใช้คาที่ยาก หรื อเป็ นคําศัพท์ระดับสู ง ควรเลือกใช้ถอยคําง่าย ๆ มาเรี ยงร้อยให้ถูกต้อง
ํ
้
ตามฉันทลักษณ์ดงตัวอย่างต่อไปนี้
ั
ภุชงคประยาดฉันท์ ๑๒
จะเหลียวซ้ายก็งามตา
จะเหลือบขวาก็เพลินใจ
จะดูเบื้องพบูไป
ตลอดล้วนจะชวนแล
ผิพิศสู งลิแสงโสม
อร่ ามโคมโพยมแข
ตะลึงหลงพะวงแด
ฤดีงงเพราะความงาม
ณ ชายหาดสะอาดทราย
และกรวดทรายประกายวาม
วะวาบวับระยับยาม
ผสานแสงพระจันทร์เพ็ญ
ทะเลแลกระแสหลัง
อุทกพสังถะถังเห็น
่
่
่
ผสมสี ขจีเป็ น
ประหนึ่งแก้วตระการเขียว
พระพายฮือกระพือหวน
ประมวลม้วนสมุทรเกลียว
ระดมพัด ณ บัดเดี๋ยว
ขยายแยกและแตกฉาน
(ข้าพเจ้านังอยูชายทะเล – ชิต บุรทัด)
่ ่
่
่
จะเห็นได้วาฉันท์บทนี้มีศพท์ยากอยูไม่กี่คา เช่น พบู โพยม เป็ นต้น นอกจากนั้นเป็ นคําศัพท์ที่นกเรี ยน
ั
ํ
ั
่
เข้าใจความหมายนับได้วากวีเป็ น “นายแห่งถ้อยคํา” อย่างแท้จริ ง เพราะสามารถเรี ยงร้อยถ้อยคําสามัญให้เป็ นคํา
ฉันท์ได้อย่างไพเราะ และถูกต้องตามฉันทลักษณ์

**************************

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์bambookruble
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความSurapong Klamboot
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียนssuser456899
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์Sivagon Soontong
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงSurapong Klamboot
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาWilawun Wisanuvekin
 
สรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองสรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองkanchana13
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศssuser456899
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 

La actualidad más candente (20)

แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
สรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองสรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทอง
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 

Destacado

Power point คำราชาศัพท์
Power  point  คำราชาศัพท์Power  point  คำราชาศัพท์
Power point คำราชาศัพท์Jazz Kanok-orn Busaparerk
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความmarisa724
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)lovelyya2553
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผลkrukanteera
 
การพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะการพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะsasithorn woralee
 
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตNattapon
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยLaongphan Phan
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2Yui Siriwararat
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7Yui Siriwararat
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6Yui Siriwararat
 

Destacado (20)

Inthawong
InthawongInthawong
Inthawong
 
อินทร๑๑
อินทร๑๑อินทร๑๑
อินทร๑๑
 
Kamalachan
KamalachanKamalachan
Kamalachan
 
วสันต
วสันตวสันต
วสันต
 
Satthatharachan
SatthatharachanSatthatharachan
Satthatharachan
 
วิช
วิชวิช
วิช
 
Power point คำราชาศัพท์
Power  point  คำราชาศัพท์Power  point  คำราชาศัพท์
Power point คำราชาศัพท์
 
อนุตตรีย์ วัชรภา
อนุตตรีย์  วัชรภาอนุตตรีย์  วัชรภา
อนุตตรีย์ วัชรภา
 
ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
 
สรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊กสรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊ก
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
 
การพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะการพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะ
 
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
[PPT] คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัย
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6หน่วยที่ 6
หน่วยที่ 6
 

Similar a ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์

ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
_ใบความรู้ประกอบการสอน_เรื่อง_รู้หลักร้อยกรอง_(กลอนดอกสร้อย)__(1)-02211404.pdf
_ใบความรู้ประกอบการสอน_เรื่อง_รู้หลักร้อยกรอง_(กลอนดอกสร้อย)__(1)-02211404.pdf_ใบความรู้ประกอบการสอน_เรื่อง_รู้หลักร้อยกรอง_(กลอนดอกสร้อย)__(1)-02211404.pdf
_ใบความรู้ประกอบการสอน_เรื่อง_รู้หลักร้อยกรอง_(กลอนดอกสร้อย)__(1)-02211404.pdfssuserfffbdb
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองMong Chawdon
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองPairor Singwong
 

Similar a ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ (20)

ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
Phuchongkhaprayatachan
PhuchongkhaprayatachanPhuchongkhaprayatachan
Phuchongkhaprayatachan
 
_ใบความรู้ประกอบการสอน_เรื่อง_รู้หลักร้อยกรอง_(กลอนดอกสร้อย)__(1)-02211404.pdf
_ใบความรู้ประกอบการสอน_เรื่อง_รู้หลักร้อยกรอง_(กลอนดอกสร้อย)__(1)-02211404.pdf_ใบความรู้ประกอบการสอน_เรื่อง_รู้หลักร้อยกรอง_(กลอนดอกสร้อย)__(1)-02211404.pdf
_ใบความรู้ประกอบการสอน_เรื่อง_รู้หลักร้อยกรอง_(กลอนดอกสร้อย)__(1)-02211404.pdf
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
Manawakachan
ManawakachanManawakachan
Manawakachan
 
Chitrapathachan
ChitrapathachanChitrapathachan
Chitrapathachan
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 

Más de ห้องเรียน ภาษาไทยออนไลน์

Más de ห้องเรียน ภาษาไทยออนไลน์ (20)

ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสารใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืมใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็กใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
 
ใบความรู้ เรื่อง ภาษิตใต้
ใบความรู้ เรื่อง  ภาษิตใต้ใบความรู้ เรื่อง  ภาษิตใต้
ใบความรู้ เรื่อง ภาษิตใต้
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 
คู่มือวิธีใช้Wordpress
คู่มือวิธีใช้Wordpressคู่มือวิธีใช้Wordpress
คู่มือวิธีใช้Wordpress
 
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่นใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารคกระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
 
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการแบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 

ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์

  • 1. เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 1 ใบความรู้ เรื่อง หลักการแต่ งคาประพันธ์ ประเภทฉันท์ หลักการแต่ งคาประพันธ์ ประเภทฉันท์ นักเรี ยนได้เรี ยนรู ้การแต่งคําประพันธ์กาพย์ กลอน โคลง และร่ ายมาแล้วในชั้นก่อนในชั้น นี้นกเรี ยนจะได้เรี ยนรู ้การแต่งคําประพันธ์ประเภทฉันท์ซ่ ึ งเป็ นคําประพันธ์ที่แต่งยาก และอ่านยากกว่าคํา ั ประพนธ์ทุกชนิด เพราะฉันท์มีขอบังคับเรื่ องคําครุ ลหุ เพิ่มขึ้นและคําที่ใช้ในการแต่งฉันท์น้ นส่ วนใหญ่เป็ น ้ ั คําที่มาจากภาษาบาลี สันสกฤต เพราะคําไทยหาคําลหุที่มีความหมายได้ยาก การศึกษาให้เข้าใจรู ปแบบและลักษณะบังคับของฉันท์ จะช่วยให้ผอ่านเข้าใจคําประพันธ์ประเภท ู้ ฉันท์ สามารถอ่านออกเสี ยงได้ถูกต้อง และเข้าใจความหมายได้ลึกซึ้ งยิงขึ้น ความรู ้เรื่ องฉันท์ที่จะกล่าวถึง ่ ต่อไปในบทนี้ มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู ้เกี่ยวกับลักษณะบังคับหรื อฉันท์ของฉันท์ที่กวีไทยนิยมแต่ง และ ่ ปรากฏอยูในวรรณคดีประเภทคําฉันท์ของไทย เพื่อให้นกเรี ยนใช้เป็ นความรู ้พ้ืนฐานในการแต่งฉันท์ และ ั ในการอ่านวรรณคดีไทยให้เข้าใจยิงขึ้น ่ ความหมายของฉันท์ ฉันท์ หมายถึง คําประพันธ์ชนิดหนึ่งของไทยที่มีขอบังคับ เรื่ อง ครุ ลหุ เพิ่มขึ้น ้ นอกเหนือจากเรื่ องคณะและสัมผัสซึ่งเป็ นข้อบังคับในคําประพันธ์ชนิดอื่น คาครุ และคาลหุ ครุ คําเสี ยงหนัก มีลกษณะดังนี้ ั - พยางค์ที่มีตวสะกด ั - พยางค์ที่ไม่มีตวสะกดประสมด้วนสระเสี ยงยาว ั - พยางค์ที่ประสมด้วยสระ อํา ไอ ใอ เอา ลหุ คําเสี ยงเบา มีลกษณะดังนี้ ั - พยางค์ที่ไม่มีตวสะกดประสมด้วนสระเสี ยงสั้น ั ทีมาของฉันท์ ่ ่ ไทยรับแบบอย่างมาจากอินเดีย ตําราฉันทศาสตร์ วาด้วยการแต่งฉันท์ คือ คัมภีร์วุตโตทัย และคัมภีร์ สุ โพธาลังการ จากพระไตรปิ ฎก คัมภีร์วุตโตทัย กล่าวว่าฉันท์มี 108 ชนิด แบ่งเป็ น 2 พวก คือ 1.ฉันท์วรรณพฤติ 2.ฉันท์มาตราพฤติ ํ ฉันท์วรรณพฤติกาหนดคณะของฉันท์ 8 คณะ คณะของฉันท์ คณะ หมายถึง ลักษณะการเรี ยงของเสี ยงครุ และลหุ กลุ่มละ 3 เสี ยง เป็ น 1 คณะ มี 8 คณะ คือ
  • 2. เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 2 - มะ นะ ภะ ยะ - ชะ ระ สะ ตะ ประเภทของฉันท์ ฉันท์มากมายหลายชนิด การแบ่งชนิดของฉันท์ตามฉันทลักษณ์ให้สะดวกแก่การศึกษาอาจ แบ่งเป็ น ๓ ประเภท ดังนี้ ประเภทที่ ๑ ฉันท์ ๑๑ ฉันท์ ๑๒ และฉันท์ ๑๔ ฉันท์ประเภทนี้แบ่งเป็ น ๒ บาท มีสัมผัสเหมือนกัน แต่ ลักษณะการอ่านแตกต่างกันตามตําแหน่งคําครุ ลหุ มีสัมผัสบังคับ คือ สัมผัสระหว่างบาทและระหว่างบท คือ คํา สุ ดท้ายของบทเอก ( บาทที่หนึ่ง) ส่ งสัมผัสไปยังคําสุ ดท้ายในวรรคแรกของบาทโท ( บาทที่สอง) ถ้ามากกว่าหนึ่ง บท ต้องมีสัมผัสระหว่างบท คือ คําสุ ดท้ายของบทแรกจะต้องส่ งสัมผัสไปยังคําสุ ดท้ายของบาทเอกในบทต่อไป ส่ วนสัมผัสที่เป็ นเส้นประในแผนผัง เป็ นสัมผัสระหว่างวรรคแรกส่ งสัมผัสไปยังคําที่สามของวรรคที่สองในบาท เดียวกัน เป็ นสัมผัสที่ไม่บงคับ บางบทจะมีสัมผัสดังกล่าว แต่บางบทก็ไม่มี ั ฉันท์ ๑๑ หมายถึง ฉันท์ที่มีจานวนคําครุ ลหุ บาทละ ๑๑ คํา เช่น อินทรวิเชียรฉันท์ อุเปนทรวิเชียร ํ ฉันท์ อุปชาติฉนท์ สาลินีฉนท์ ั ั ๑ อินทรวิเชียรฉันท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้ ั พวกราชมัลโดย สุ ดหัตถแห่งเขา บงเนื้อก็เนื้อเต้น ทัวร่ างและทั้งตัว ่ พลโบยมิใช่เบา ขณะหวดสิ พึงกลัว พิศเส้นสรี ร์รัว ก็ระริ กระริ วรัว ( สามัคคีเภทคําฉันท์) ข้อสังเกต อินทรวิเชียรฉันท์บทหนึ่งมีสองบทบาท บาทที่หนึ่งมีสองวรรค วรรคแรกมี ๕ คํา วรรคหลังมี ๖ คํา รวม บทที่มี ๒๒ คํา
  • 3. เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 3 ๒. อุเปนทรวิเชียรฉันท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่างดังนี้ ั พระราชบุตรลิจ ณ กันและกันเหิ น ทะนงชนกตน ก็หาญกระเหิ มฮือ ฉวิมิตรจิตเมิน คณะห่างก็ต่างถือ พลล้นเถลิงลือ มนฮึก บ นึกขาม ข้อสังเกต อุเปนทรวิเชียรฉันท์ มีคณะเหมือนอินทรวิเชียรฉันท์ ต่างกันที่ตาแหน่งคําต้นบาทของอุเปนทรวิเชียรฉันท์ ํ เป็ นคําลหุ แต่อินทรวิเชียรฉันท์เป็ นคําครุ ั ๓. อุปชาติฉนท์ หมายถึง ฉันท์ที่แต่งประสมกันระหว่างอุเปนทรวิเชียรฉันท์กบอินทรวิเชียรฉันท์ ในการ ั แต่งจึงต้องอย่างน้อยสองบท เพราะกําหนดให้บาทที่หนึ่งของบทแรก กับบทที่สองเป็ นอุเปนทรวิเชียร และให้ บาทที่สองของบทแรกกับบทที่สองเป็ นอินทรวิเชียรฉันท์ ตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้ สดับประกาศิต จึงราชสมภาร เราคิดจะใคร่ ยก ประชุมประชิดชัย ระบุกิจวโรงการ พจนารถประภาษไป พยุห์พลสกลไกร รณรัฐวัชชี ข้อสังเกต อุปชาติฉนท์มีคณะเหมือนอุเปนทรวิเชียรฉันท์ในบาทที่ ๑ และอินทรวิเชียรฉันท์ในบาทที่ ๔ ั
  • 4. เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 4 ๔. สาลินีฉนท์ เป็ นฉันท์ที่มีครุ มาก มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้ ั ั พราหมณ์ครู รู้สังเกต ราชาวัชชีสรร ยินดีบดนี้กิจ ั เริ่ มมาด้วยปรากรม ตระหนักเหตุถนัดครัน พจักสู่ พินาศสม จะสัมฤทธิ์ มนารมณ์ และอุตสาหแห่งตน ( สามัคคีเภทฉันท์) ข้อสังเกต สาลินีฉนท์บทหนึ่งมีสองบาท บาทหนึ่งมีสองวรรค วรรคแรกมี ๕ คํา วรรคหลังมี ๖ คํา เหมือนกับอินทร ั วิเชียรฉันท์ ต่างกันเพียงตําแหน่งคําครุ ลหุ วรรคแรกเป็ นครุ ลวน ้ ฉันท์ ๑๒ หมายถึง ฉันท์ที่มีจานวนคําครุ ลหุบาทละ ๑๒ คํา ํ ขอให้นกเรี ยนสังเกตอินทรวงศ์ฉนท์ และวังสัฏฐฉันท์ ซึ่ งมีลกษณะคล้ายกับอินทรวิเชียรฉันท์ และอุเป ั ั ั นทรวิเชียร แต่บาทที่ ๒ และบาทที่ ๔ มีตาแหน่งคําครุ ลหุ ต่างกัน ํ ๑. อินทรวงศ์ฉนท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่างดังนี้ ั ั ่ โอ้วาอนาถใจ แต่ไรก็ไม่มี ไม่เคยจะเชื่อว่า มาสู่ ณ ใจตน ละไฉนนะเป็ นฉนี้ มะนะนึกระเหระหน รติน้ นจะสัประดน ั และจะต้องระทมระทวย ( มัทนะพาธา)
  • 5. เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 5 ข้อสังเกต อินทรวงศ์ฉนท์ บทหนึ่งมี ๒๔ คํา แบ่งเป็ นสองบาท บาทหนึ่งมีสองวรรค วรรคแรกมี ๕ คํา วรรคหลังมี ั ๗ คํา ๒. วังสัฏฐฉันท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผัง และตัวอย่างต่อไปนี้ ั ประชุมกษัตริ ยรา ์ คะเนณทุกข์รึง ประกอบระกําพา มิใช่จะแอบอิง ชสภาสดับคะนึง อุระอัดประหวัดประวิง หิ รกายน่าจะจริ ง กลอํากระทําอุบาย (สามัคคีเภทคําฉันท์) ข้อสังเกต วัสัฏฐฉันท์ บทหนึ่งมีสองบาท บาทหนึ่งมีสองวรรค วรรคแรกมี ๕ คํา วรรคหลังมี ๗ คํา ตําแหน่งคําครุ ลหุ และจํานวนคําของฉันท์น้ ี คล้ายกับอินทรวงศ์ฉนท์ ต่างกันตรงที่คาแรกในวรรคหน้าของอิรนทรฉันท์เป็ นครุ แต่ ั ํ วังสัฏฐฉันท์เป็ นคําลหุ ๓. กมลฉันท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้ ั อิลโอนศิโรเพฐน์ ศิวะทรงพิโรธใน บมิทรงประสาทโทษ วรองค์อุมาอร พจขอมาภัย ธ กระทํากระลําพร อิลโอดสําออยวอน อนุกลกําลูนครัน ู ( อิลราชาคําฉันท์)
  • 6. เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 6 ข้อสังเกต กมลฉันท์บทหนึ่งมี ๒๔ คํา แบ่งเป็ นสองบาท บาทหนึ่งมีสอง วรรคหนึ่งมี ๖ คํา การวางตําแหน่งครุ ลหุ คล้ายอุเปนอินทรวิเชียรฉันท์ เพียงแต่เพิ่มคําลหุ หน้าวรรคแรกอีกหนึ่งคํา ๔. โตฎกฉันท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้ ั ศิวะแปลงวรรู ป พระอุมาพระก็มี ดรุ สัตว์บริ เวณ สละเพศพิศสม วิยหญิงยุวดี สุ มนัสนิยม พะพระเวทอุดม ศิวะเพศพระจําแลง ( อิลราชาคําฉันท์) ข้อสังเกต โตฎกฉันท์หนึ่งบทมี ๒๔ คํา แบ่งเป็ นสองบาท บาทหนึ่งมีสองวรรค วรรคละหกคําเหมือนกมลฉันท์ ต่างกันที่ตาแหน่ง ครุ ลหุ ํ ๕. ภุชงคประยาตฉันท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่างดังนี้ ั ชะโดดุกกระดี่โดด กระเพื่อมนํ้าพะพรํ่าพรอย กระสร้อยซ่าสวายชิว ประมวลมัจฉะแปมปน สลาดโลดยะหยอยหยอย กระฉอกฉานกระฉ่ อนชล ระรี่ ริ้วละวาดวน ประหลาดเหลือจะรําพัน ( อิลราชาคําฉันท์)
  • 7. เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 7 ข้อสังเกต ภุชงคประยาตฉันท์บทหนึ่งมี ๒๔คํา แบ่งเป็ นสองบาท บาทหนึ่งมีสองวรรค วรรคละหกคํา ฉันท์ ๑๔ หมายถึง ฉันท์ที่มีจานวนคําครุ ลหุบาทละ ๑๔ คํา ฉันท์ ๑๔ ที่กวีไทยนิยมแต่ง คือ วสันตดิลก ํ ฉันท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้ ั เรื องรองพระมนทิรพิจิตร ก่องแก้วและกาญจนระคน ช่อฟ้ าก็เฟื้ อยกลจะฟัด บราลีพิไลพิศบวร กลพิศพิมานบน รุ จิเรขอลงกรณ์ ดลฟากทิฆมพร ั นภศูลสล้างลอย ( อิลราชาคําฉันท์) ข้อสังเกต วสันตดิลกฉันท์ บทหนึ่งมี ๒๘ คํา แบ่งเป็ นสองบาท บาทหนึ่งสองวรรค วรรคแรกมี ๘ คํา วรรคหลังมี ๖ คํา ประเภทที่ ๒ ฉันท์ ๘ ฉันท์ประเภทนี้ บทหนึ่งมี ๔ บาท บาทหนึ่งมี ๘ คํา แบ่งเป็ น ๒ วรรค มีสัมผัส บังคับแบบเดียวกัน คือ คําสุ ดท้ายของวรรคที่สองส่ งสัมผัสไปยังคําสุ ดท้ายของวรรคที่สาม คําสุ ดท้ายของวรรคที่ สี่ ส่ งสัมผัสไปยังคําสุ ดท้ายของวรรคที่หก คําสุ ดท้ายของวรรคที่หกส่ งสัมผัสไปยังคําสุ ดท้ายของวรรคที่เจ็ด ถ้า แต่งมากกว่าหนึ่งบทจะต้องมีสัมผัสระหว่างบท คือ คําสุ ดท้ายของบทต้น ( คําสุ ดท้ายของวรรคที่แปด) จะต้องส่ ง สัมผัสไปยังคําสุ ดท้ายของวรรคที่สี่ในบทถนัดไป ตัวอย่างฉันท์ ๘ เช่น วิชชุมมาลาฉันท์ มาณวกฉันท์ จิตรปทาฉันท์ ๑. วิชชุมมาลาฉันท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้ ั แรกทางกลางเถื่อน ห่างเพื่อนหาผู ้ หนึ่งใดนึกดู เห็นใครไป่ มี หลายวันถันล่วง เมืองหลวงธานี ่ นามเวสาลี ดุ่มเดาเข้าไป ผูกไมตรี จิต เชิงชิดชอบเชื่อง กับหมู่ชาวเมือง ฉันอัชฌาลัย ่ เล่าเรื่ องเคืองขุ่น ว้าวุนวายใจ จําเป็ นมาใน ด้าวต่างแดนตน ( สามัคคีเภทคําฉันท์)
  • 8. เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 8 ข้อสังเกต วิชชุมมาลาฉันท์บทหนึ่งมีสี่บาท รวมแปดวรรค บาทหนึ่งมีสองวรรค วรรคละ ๔ คําแต่ละวรรคใช้คาครุ ํ ล้วน ั หากเปรี ยบเทียบระหว่างวิชชุ มมาลาฉันท์กบกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ จะพบว่ามีลกษณะบังคับที่คล้ายคลึง ั กันมาก ทั้งในเรื่ องจํานวนคําในแต่ละวรรคซึ่ งมีสี่คาเท่ากัน และในเรื่ องสัมผัสบังคับ ต่างกันเพียงวิชชุมมาลาฉันท์ ํ ่ มีจานวนคํามากกว่ากาพย์สุรางคนางค์อยูหนึ่งวรรค และทุกคําในวิชชุมมาลาฉันท์ เป็ นคําครุ ลวน แต่กาพย์ ํ ้ สุ รางคนางค์ไม่บงคับครุ ลหุ ั ๒. มาณวกฉันท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้ ั อย่าติและหลู่ เธอน่ะเสวย ในทินนี่ พอหฤทัย ราช ธ ก็เล่า ตนบริ โภค วาทประเทือง อาคมยัง ครู จะเฉลย ภัตกะอะไร ดีฤไฉน ยิงละกระมัง ่ เค้า ณ ประโยค แล้วขณะหลัง เรื่ องสิ ประทัง สิ กขสภา ( สามัมคีเภทคําฉันท์) ข้อสังเกต มาณวกฉันท์มีจานวนคําในแต่ละบท แต่ละบาท และแต่ละวรรคเหมือนคณะของวิชชุ มมาลาฉันท์ ต่างกัน ํ ํ ่ แต่มาณวกฉันท์กาหนดคําลหุ อยูกลางสองคํา จึงทําให้มีจงหวะเร็ วกว่าวิชชุมมาลาฉันท์ ั ๓. จิตรปทาฉันท์ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้ ั
  • 9. เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 9 นาครธา เห็นริ ปุมี ข้ามดิรชล มุ่งจะทลาย ต่างก็ตระหนก ตื่นบมิเว้น ทัวบุรคา ่ เสี ยงอลวน อลเวงไป พลมากมาย ก็ลุพนหมาย ้ พระนครตน มนอกเต้น ตะละผูคน ้ มจลาจล อลเวงไม (สามัคคีเภทคําฉันท์) ข้อสังเกต ํ ่ จิตรปทาฉันท์ต่างจากมาณวกฉันท์ตรงที่กาหนดตําแหน่งคําลหุ ในวรรคหลังให้อยูหน้าทั้งสองคํา แล้วตาม ด้วยคําครุ สองคํา ประเภทที่ ๓ ฉันท์ประเภท ๓ วรรค ฉันท์ประเภทนี้บทหนึ่ง แบ่งเป็ น ๓ วรรค ใช้สัมผัสแบบเดียวกัน คือ คําสุ ดท้ายของวรรคแรก ส่ งสัมผัสไปยังคําสุ ดท้ายของวรรคที่สอง คําสุ ดท้ายของวรรคที่สาม (คําสุ ดท้ายของ บท) ส่ งสัมผัสไปยังคําสุ ดท้ายของวรรคในบทต่อไป ลักษณะสัมผัสคล้ายกาพย์ฉบัง ๑๖ ตัวอย่างฉันท์ประเภทนี้ เช่น มาลินีฉนท์ ๑๕ ลัททุลวิกกีฬิตฉันท์ ๑๙ อีทิสังฉันท์ ๒๐ ั ๑. มาลินีฉนท์ ๑๕ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่างดังนี้ ั ั มธุรพจนรําพัน พื้นพิเศษสรรพ์ สถาพร
  • 10. เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 10 มธุรพจนสารสอน เชิญวิมลสมร บํารุ งองค์ ข้อสังเกต มาลินีฉนท์บทหนึ่ง มี ๑๕ คํา วรรคที่หนึ่งมี ๘ คํา วรรคที่สองมี ๔ คํา วรรคที่สามมี ๓ คํา ั ๒. สัททุลวิกกีฬิตฉันท์ ๑๙ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้ ั ไหว้คุณองค์พระสุ คตอนาวรณญาณ ยอดศาสตาจารย์ อีกคุณสุ นทรธรรมคัมภีรวิธี พุทธพจน์ประชุมตรี มุนี ปิ ฏก (สามัคคีเภทคําฉันท์) ข้อสังเกต ลัททุลวิกกีฬิตฉันท์บทหนี่งมี ๑๙ คํา วรรคแรกมี ๑๒ คํา วรรคที่สองมี ๕ คํา วรรคที่สามมี ๒ คํา ๓. อีทิสังฉันท์ ๒๐ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้ ั เอออุเหม่นะมึงซิ ช่างกระไร ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน ศึก บ ถึงและมึงก็ยงมิเห็น ั จะน้อยจะมากจะยากจะเย็น ข้อสังเกต ก็มาเป็ น ประการใด (สามัคคีเภทคําฉันท์)
  • 11. เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 11 อีทิสังฉันท์บทหนึ่งมี ๒๐ คํา วรรคแรกมี ๙ คํา วรรคที่สองมี ๘ คํา และวรรคที่สามมี ๓ คํา นอกจากนี้ ยังมีฉนท์ที่ไม่สามารถจัดเข้าประเภทดังกล่าวได้ เช่น ั ๔.สัทธราฉันท์ ๒๑ มีลกษณะบังคับตามแผนผังและตัวอย่าง ดังนี้ ั ฟั่นเฟื อนเลือนลืมเพราะอารมณ์ เดือดบได้สม อย่างทรงเศร้าโศกพิโยคมี สํ่าสุ เมธี วิปริ ตกระอุกรม ประฤาดี ทุมนสบมิดี ติเตียนนัก (อิลราชคําฉันท์) ข้อสังเกต สัทธราฉันท์บทหนึ่ง มี ๒๑ คํา แบ่งเป็ นสี่ วรรค วรรคแรกและวรรคที่สองมีวรรคละ ๗ คํา วรรคที่สามมี ๔ คํา วรรคที่สี่มี ๓ คํา คําสุ ดท้ายของวรรคแรกส่ งสัมผัสไปยังคําสุ ดท้ายของวรรคที่สอง และคํา สุ ดท้ายของวรรคที่สองส่ งสัมผัสไปยังคําสุ ดท้ายของวรรคที่สาม คําสุ ดท้ายของวรรคที่สี่ในบทแรก ส่ งสัมผัสไปยัง คําสุ ดท้ายของวรรคแรกในบทถัดไป การเลือกใช้ ฉันท์ให้ เหมาะสมกับเนือความ ้ เนื่องจากฉันท์แต่ละชนิดมีลีลาไม่เหมือนกัน กวีจึงนิยมเลือกฉันท์ให้เหมาะสมกับเนื้ อความที่ ต้องการแต่ง ดังนี้ ๑. บทไว้ครู บทนมัสการสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ บทสรรเสริ ญพระเกียรติ ที่ตองการให้มีความขลัง ้ นิยมใช้ลททุลวิกกีฬิตฉันท์ ั ๒. บทพรรณนา บทชม หรื อบทครํ่าครวญ เช่น พรรณนาความงามธรรมชาติ พรรณนาความงามของ บ้านเมือง ชมความงามของผูหญิง พรรณนาความรักและความเศร้าโศก เป็ นต้น นิยมใช้วสันตดิลกฉันท์ หรื อ ้ อินทรวิเชียรฉันท์
  • 12. เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 12 ๓. บทแสดงอารมณ์รุนแรง เช่น โกรธ ตื่นเต้น และวิตกกังวล เป็ นต้น หรื อบรรยายเกี่ยวกับความรักที่ เน้นอารมณ์สะเทือนใจ นิยมใช้อีทิสังฉันท์ เพราะฉันท์น้ ี มีเสี ยงหนักเบาสลับกันทําให้แสดงอารมณ์ได้ดี ๔. บทพรรณนา หรื อบรรยายความที่น่าตื่นเต้นประทับใจ แสดงความร่ าเริ ง สนุกสนานรวดเร็ ว นิยมใช้ ภุชงคประยาตฉันท์ โตฎกฉันท์ หรื อมาณวกฉันท์ ๕. บทบรรยายความที่เป็ นไปอย่างเรี ยบ ๆ นิยมใช้อุเปนทรวิเชียรฉันท์ อินทวงค์ฉนท์ ั วังลัฏฐฉันท์ อุปชาติฉนท์ ั ๖. บทบรรยายเรื่ องที่มีลกษณะสับสนต่อเนื่ องกัน นิยมใช้มาลีนีฉนท์ ซึ่งมีลหุในวรรคแรกถึงหกพยางค์ ั ั ั มีลีลาจังหวะเร็ วและช้าลงในตอนท้าย แต่ฉนท์น้ ีแต่งยาก จึงใช้กบบทบรรยายที่ไม่ยาวนัก ั ความนิยมในการเลือกใช้ฉนท์แต่งให้เหมาะสมกับเนื้ อความที่กล่าวมานี้ มิได้เป็ นข้อกําหนดตายตัวเป็ น ั เพียงข้อสังเกต สําหรับใช้เป็ นแนวทางในการพิจารณาเลือกใช้ฉนท์ให้เหมาะกับเนื้อความเท่านั้น ั การอ่านฉันท์ เนื่องจากฉันท์เป็ นคําประพันธ์ที่บงคับครุ ลหุ การอ่านฉันท์จึงต้องอ่านให้ถูกต้องตามตําแหน่งคํา ั ครุ ลหุ และลีลาจังหวะของฉันท์แต่ละชนิด คําบางคําที่ปกติอ่านออกเสี ยงเป็ นครุ เช่น คําว่า สุ ข (สุ ก) อาจจะ ่ ออกเสี ยบงเป็ นลหุ สองพยางค์วา สุ -ขะ หรื อออกเสี ยงว่า สุ ก-ขะ เมื่อบังคับให้อ่านเป็ นครุ เรี ยงกัน ดังตัวอย่าง วสันตดิลกฉันท์ ๑๔ ในสามัคคีเภทคําฉันท์ต่อไปนี้ แว่นแคว้นมคธนครรา ชคฤห์ฐานบุรี สื บราชวัตรวิธทวี ทศธรรมจรรยา การอ่านวสันตดิลกฉันท์บทนี้ตองออกเสี ยงอ่านตามตําแหน่งครุ ลหุ ดังนี้ ้ แว่น แคว้น / มะ คด / ทะ นะ คะ รา ชะ ครึ ถา / นะ บู รี สื บ ราด / ชะ / วัด / วิ ทะ ทะวี ทะ สะ ทัน / มะ จัน ยา ในการอ่านฉันท์น้ น นอกจากต้องออกเสี ยงครุ ลหุ ให้ถูกต้องตามแผนผังคับของฉันท์แต่ละประเภทแล้ว ั ต้องเว้นจังหวะตอนในการอ่านให้ถูกต้องด้วย โดยมีช่วงหยุดเล็กน้อยข้างหลังคําที่ลงจังหวะ และจะต้องลงจังหวะ ที่คาครุ เสมอไป การแบ่งจังหวะในการอ่านฉันท์ประเภทต่าง ๆ ขอให้นกเรี ยนศึกษาจากแผนผังของฉันท์แต่ละ ํ ั ชนิด ซึ่ งได้แสดงไว้แล้วอย่างชัดเจน ่ ถ้านักเรี ยนได้อ่านออกเสี ยงฉันท์แต่ละชนิดหลาย ๆ ครั้ง แล้วฟังจังหวะด้วยตนเอง ก็จะทราบได้วาฉันท์ แต่ละชนิดมีจงหวะอย่างไร ควรจะเน้นเสี ยง ทอดเสี ยงในการอ่านอย่างไร จึงจะฟังไพเราะ แม้จะไม่ได้อ่านเป็ น ั ทํานองเสนาะก็ตาม ผูอ่านก็จะจําลักษณะบังคับครุ ลหุ ให้ได้จึงจะอ่านได้ถูกต้องตามลักษณะบังคับของฉันท์แต่ละ ้ ชนิด
  • 13. เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วิชาภาษาไทย ท 33102 ชั้น ม.6 เรื่ อง ฉั นท์ หน้ าที่ 13 การฝึ กแต่ งคาประพันธ์ ประเภทฉันท์ ่ แม้วาฉันท์จะเป็ นคําประพันธ์ที่แต่งยาก แต่หากนักเรี ยนได้ฝึกแต่ง นักเรี ยนจะพบว่าการแต่งฉันท์ นั้นไม่ยากอย่างที่คิด ทั้งยังเกิดความสนุกสนานในการเลือกสรรถ้วยคํามาให้ตรงตําแหน่งครุ ลหุ ของฉันท์ ในการ ฝึ กแต่งฉันท์นกเรี ยนควรปฏิบติดงนี้ ั ั ั ๑. ศึกษาฉันท์ลกษณ์ของฉันท์ชนิดที่นกเรี ยนต้องการแต่งให้เข้าใจ ั ั ๒. ในขั้นฝึ กหัดควรเลือกฉันท์ที่แต่งได้ง่าย ไม่มีครุ ลหุ ซบซ้อน เช่น วิชชุมมาลาฉันท์ ซึ่งมี ั ลักษณะคล้ายกาพย์สุรางคนางค์ อินทรวิเชียรฉันท์ ซึงลักษณะคล้ายกาพย์ยานี เพราะกาพย์ท้ งสองชนิดนี้นกเรี ยน ั ั เคยเรี ยนรู ้มาแล้วในช่วงชั้นที่ ๓ เมื่อมีความชํานาญจึงเลือกแต่งฉันท์ที่ยากขึ้น ๓. เลือกหัวข้อง่าย ๆ ที่นกเรี ยนมีประสบการณ์ อาจจะเป็ นเรื่ องในชีวิตประจําวันของนักเรี ยน ั เช่น การศึกษา การสนทนา การท่องเที่ยว เป็ นต้น ๔. ไม่ควรใช้คาที่ยาก หรื อเป็ นคําศัพท์ระดับสู ง ควรเลือกใช้ถอยคําง่าย ๆ มาเรี ยงร้อยให้ถูกต้อง ํ ้ ตามฉันทลักษณ์ดงตัวอย่างต่อไปนี้ ั ภุชงคประยาดฉันท์ ๑๒ จะเหลียวซ้ายก็งามตา จะเหลือบขวาก็เพลินใจ จะดูเบื้องพบูไป ตลอดล้วนจะชวนแล ผิพิศสู งลิแสงโสม อร่ ามโคมโพยมแข ตะลึงหลงพะวงแด ฤดีงงเพราะความงาม ณ ชายหาดสะอาดทราย และกรวดทรายประกายวาม วะวาบวับระยับยาม ผสานแสงพระจันทร์เพ็ญ ทะเลแลกระแสหลัง อุทกพสังถะถังเห็น ่ ่ ่ ผสมสี ขจีเป็ น ประหนึ่งแก้วตระการเขียว พระพายฮือกระพือหวน ประมวลม้วนสมุทรเกลียว ระดมพัด ณ บัดเดี๋ยว ขยายแยกและแตกฉาน (ข้าพเจ้านังอยูชายทะเล – ชิต บุรทัด) ่ ่ ่ ่ จะเห็นได้วาฉันท์บทนี้มีศพท์ยากอยูไม่กี่คา เช่น พบู โพยม เป็ นต้น นอกจากนั้นเป็ นคําศัพท์ที่นกเรี ยน ั ํ ั ่ เข้าใจความหมายนับได้วากวีเป็ น “นายแห่งถ้อยคํา” อย่างแท้จริ ง เพราะสามารถเรี ยงร้อยถ้อยคําสามัญให้เป็ นคํา ฉันท์ได้อย่างไพเราะ และถูกต้องตามฉันทลักษณ์ **************************