SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 9
Descargar para leer sin conexión
การบริหารงานตามหลักทิศ ๖ ในพระพุทธศาสนา :
        กรณีการบริหารงานกับบุคคลผู้อยู่ทิศเบืองหน้ า (ทิศตะวันออก) บิดามารดา
                                             ้


๑. บทนํา

            ตอนเช้ าวันหนึ่งขณะที่พระพุทธองค์กําลังเสด็จเข้ าไปสูนครราชคฤห์เพื่อบิณฑบาตได้
                                                                    ่
ทอดพระเนตรเห็นสิงคาลมาณพ กําลังยืนไหว้ ทิศต่างๆ อยู่ พระองค์จึงตรัสถามว่า ทําอะไรอยู่ เขา
กราบทูลว่า กําลังไหว้ ทิศต่างๆ ตามคําสอนของบิดาอยู่ เขากราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า ก่อนบิดา
เสียชีวิต บิดาสังไว้ ให้ ไหว้ ทิศทั ้ง ๖ เขาจึงทําตามตลอดมา พระพุทธองค์ จึงตรัสกับเขาว่า ในอริ ย
                ่
วินย (ธรรมเนียมแบบแผนของพระอริ ยะ) ไม่ได้ ไหว้ ทิศทั ้ง ๖ อย่างนี ้ แต่หมายถึงให้ ไหว้ บุคคลที่ควร
     ั
ไหว้ ๖ จํ าพวก ว่า แล้ ว พระองค์ ก็ต รั ส แสดงบุค คลประจํ า ทิ ศทัง ๖ ให้ สิง คาลมาณพฟั ง ดัง มี
                                                                  ้
เนื ้อความปรากฏในสิงคาลกสูตร ในทีฆนิกายนัน ๑       0้

           ในบทความนี ผ้ ูเ ขี ยนจะได้ ศึกษาวิ เ คราะห์ การบริ หารงานตามหลัก ทิศ ๖ หรื อ การ
                             ้
บริ ห ารงานที่ มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งกับ บุ ค คลทัง ๖ จํ า พวกที่ พ ระพุ ท ธองค์ ท รงหมายถึ ง นัน ว่า มี
                                                  ้                                             ้
ความสําคัญกับการดําเนินชีวิตอย่างไร เพราะเหตุไรพระองค์จึงให้ เคารพในบุคคลเหล่านั ้น ถ้ าไม่
เคารพจะเกิดผลอย่างไร ถ้ าเคารพจะมีผลอย่างไร

๒. ความหมายของทิศ ๖
          คําว่า ทิศ ๖ ในที่นี ้หมายถึง บุคคลที่เกี่ยวข้ องกัน มี บิดามารดา บุตรธิ ดา ครู อาจารย์
สามีภรรยา เพื่อสหาย คนใช้ ผ้ ใต้ บงคับบัญชา และสมณพราหมณ์ ๒
                             ู ั                                     1




๓. วิเคราะห์ การบริหารงานกับบุคคลผู้อยู่ทิศเบืองหน้ า (ทิศตะวันออก) บิดามารดา
                                              ้
             บุคคลในทิศทัง ๖ คือ บุคคลที่ผ้ ูอ ยู่ครองเรื อ นมี ความเกี่ ยวข้ อ งในชี วิตประจํ าวัน ใน
                          ้
จํานวนบุคคลเหล่านัน อาจจะไม่ได้ เกี่ยวข้ องกันทั ้ง ๖ จําพวกในเวลาเดียวกัน แต่ก็มีสวนเกี่ยวข้ อง
                     ้                                                                    ่
กันไม่โดยตรงก็โดยอ้ อ ม ผู้ที่เราเกี่ยวข้ องจําพวกแรกคือ บิดามารดา เมื่ อมีความเกี่ ยวข้ อ งกันจะ
ปฏิบัติต่อ กันอย่างไรจึงจะถือ ว่าปฏิบติถูกต้ อ งตามพุทธประสงค์ เพราะบิดามารดา ถือ ว่า เป็ น
                                        ั

            ๑
            ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๔๒-๒๗๔/๑๙๙-๒๑๘.
            ๒
             ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๖๖/๒๑๒, ดเู พิ่มเติมใน พระพรหมคณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรม
                                                             ุ
พุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, พิมพ์ครังที่ ๒๐, (กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์ บริ ษัท สหธรรมิก จํ ากัด,
                                     ้
๒๕๕๔), หน้า ๑๙๑-๑๙๖.
๒

บุพการี ของบุตรธิดา คือ เป็ นผู้มีอุปการะที่เคยทําไว้ แก่บุตรธิดา เป็ นพรหมของบุตรธิ ดา เป็ นครู คน
แรกของบุตรธิดา เป็ นพระอรหันต์ในบ้ านของบุตรธิ ดา ๓ หน้ าที่ของบิดามารดาที่ท่านทําให้ แก่บุตร
                                                        2




ธิดาตามหลักพระพุทธศาสนามี ๕ อย่าง คือ ๑) ห้ ามจากความชั่ว ๒) สังสอนให้ เป็ นคนดี ๓) ให้
                                                                           ่
การศึกษา ๔) หาคูครองที่เหมาะสมให้ ๕) มอบทรัพย์สมบัติให้ ในสมัยที่ควร ๔
                  ่                                                           3




            ประเด็นที่ต้องการทราบคือ เพราะเหตุไรพระพุทธองค์จึงจัดให้ บิดามารดาเป็ นทิศเบื ้อง
หน้ า บิ ดามารดา มี ความสําคัญต่อ บุต รอย่างไร ถ้ าบุต รปฏิบัติต่อ บิด ามารดาไม่ดี ผลจะเป็ น
อย่างไร ถ้ าปฏิบติดี ผลจะเป็ นอย่างไร จะได้ ศกษาในรายละเอียดต่อไป
                ั                              ึ
           ๓.๑ บิดามารดามีความสําคัญอย่ างไร
                 มีข้อความที่ปรากฏในมงคลัตถทีปนี ซึงเป็ นผลงานประพันธ์ ของพระเถระชาวเชียงใหม่
                                                   ่
ชื่อว่า พระสิริมงคลาจารย์ ตอนว่าด้ วย การบํารุงบิดามารดา ท่านได้ พรรณนาไว้ วา บิดามารดา แม้
                     ั                                                             ่
ผู้ดํารงอยูในตําแหน่งพระมหากษัตริ ย์ ถ้ ามี ความต้ องการการดูแลเลี ้ยงดูจากบุตรธิ ดา บุตรธิ ดาก็
            ่
ต้ องเลี ้ยงดูทานทังสองให้ ดี ท่านยังได้ อธิบายต่อไปอีกว่า การเลี ้ยงดูบิดามารดาที่ถูกต้ อง คือ การ
                 ่ ้
ชักชวนให้ ทานทังสองเกิดศรัทธาในพระรัตนตรัย ให้ ทานทังสองมีโอกาสได้ ปฏิบติธรรมตามสมควร
                ่ ้                                    ่ ้                       ั
แก่สติปัญญา เพื่อนําตนให้ พ้นจากความทุกข์ในสังสารวัฏ การเลี ้ยงดูด้วยการทําอย่างอื่นยังไม่ถือ
ว่าเป็ นการตอบแทนอย่างถูกต้ อง ในคัมภีร์กล่าวว่าแม้ ลกจะยกบิดาขึ ้นไว้ บนบ่าข้ างขวา ยกมารดา
                                                         ู
ขึ ้นไว้ บนบ่าข้ างซ้ ายเลี ้ยงดูท่านตลอดอายุไขของท่าน ถึงท่านจะถ่ายอุจจาระ ปั สสาวะรดลงมาก็
ตามยังไม่ถือว่าได้ ตอบแทนบุญคุณที่ถกต้ อง อาจจะมีคําถามว่า เพราะเหตุไร ลูกทําถึงขนาดนี ้แล้ ว
                                          ู
ยังไม่ถือ ว่าได้ ตอบแทนบุญคุณที่ถูกต้ อง ตอบว่า เพราะการทําอย่างนันไม่สามารถทําให้ ท่านทั ้ง
                                                                          ้
สองที่เ ป็ นมิ จ ฉาทิ ฐิ ห ายจากความเป็ นมิ จฉาทิฐิ ได้ ไม่สามารถทํา ให้ ท่านทังสองผู้ไ ม่มี ศรั ทธา
                                                                               ้
กลายเป็ นคนมีศรัทธาได้ ต่อเมื่อชักชวนท่านเข้ ามานับถือพระรัตนตรัยเป็ นสรณะแล้ วได้ รับฟั งพระ
ธรรมคํ า สัง สอนขององค์ ส มเด็จ พระสัม มาสัม พุท ธเจ้ าจากพระสงฆ์ แ ล้ วจึ ง จะทํ า ให้ ห ายจาก
              ่
ความเห็นผิด กลายเป็ นผู้มีศรัทธาได้ เมื่อมีศรัทธาแล้ วก็จะบําเพ็ญบุญอย่างอื่นต่อไปได้ เช่น การ
รักษาศีล การเจริ ญภาวนา ตามลําดับ



           ๓
               พระสริมงคลาจารย์, มังคลัตถทีปนีแปล, แปลโดย สภามหามกุฏราชวิทยาลัย, มงฺคล. (ไทย) ๒/
                   ิ ั
๒๙๔/๘๒-๘๓.
           ๔
               ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๖๗/๒๑๒, ดเู พมเตมใน พระสริมงคลาจารย์, เร่ ืองเดียวกัน, มงฺคล. (ไทย) ๒/
                                             ิ่ ิ       ิ ั
๒๙๔/๘๒-๘๓.
๓

              ในมงคลสูตร ๕ การบํารุ งมารดาบิดา เป็ นมงคลสูงสุดของบุตรธิ ดา จากข้ อความนี ้จะ
                         4




เห็นว่า บิดามารดามีพระคุณอย่างยิ่งใหญ่สาหรับลูก ลูกคนใดที่เลี ้ยงดูบิดามารดาจะเจริ ญรุ่ งเรื อง
                                                 ํ
ในการดําเนินชีวิต
              ในมั ง คลัต ถที ป นี พระสิ ริ มั ง คลาจารย์ นํ า เอาเรื่ อ งพญาช้ างเผื อ กในชาดกมา
ประกอบการอธิบายในมงคลข้ อว่า การบํารุงมารดาบิดา ความย่อว่า ในอดีตกาลมีตวอย่างหลาย        ั
เรื่ องตอนที่พระพุทธองค์เสวยพระชาติเป็ นพระโพธิสตว์ได้ ประพฤติมาแล้ ว เช่น ตอนที่พระองค์เกิด
                                                         ั
เป็ นพญาช้ างเผือ ก เป็ นช้ างมี ลกษณะพิเศษ ผิวเผือ ก งาดํา เล็บดํา เป็ นหัวหน้ า แห่งช้ างในป่ า
                                       ั
ปกครองพวกช้ างด้ วยกัน ในขณะเดียวกันก็เลี ้ยงแม่ที่ตาบอดด้ วย อยู่ต่อมาเมื่อแม่ชราภาพมากไม่
สามารถช่วยตัวเองได้ จึงตัดสินใจมอบหน้ าที่ให้ ช้างอื่นเป็ นหัวหน้ าดูแลเพื่อนช้ างแทน ตัวเองพาแม่
หนีเข้ าไปอยูในป่ าลึกห่างไกลจากถิ่นมนุษย์และโขลงช้ าง เพื่อจะได้ มีเวลาเลี ้ยงดูแม่อย่างเต็มที่ อยู่
               ่
มาวันหนึ่งมีนายพรานหลงเข้ าไปในป่ าไม่สามารถหาหนทางกลับบ้ านได้ ช้ างพระโพธิ สตว์เห็นก็        ั
สงสารจึงนํามาส่งที่ถิ่นของมนุษย์ทาง ก่อนจะจากกันช้ างบอกกับนายพรานว่า ท่านไปจากที่นี่แล้ ว
อย่าไปบอกใครว่า เราอยูที่นี่เพราะจะเกิดอันตรายแก่เรา เรามีหน้ าที่ต้องเลี ้ยงดูมารดาตาบอด แต่
                           ่
นายพรานเป็ นคนสันดานหยาบช้ า ไม่นึกถึง บุญ คุณ ที่ช้า งช่ วยชี วิต ไว้ นํ าเรื่ อ งไปกราบทูลแก่
พระราชา พระราชาจึงรับสังให้ จัดกองทับช้ างออกไปจับช้ างธนบาล ช้ างธนบาลถึงแม้ ว่ามีกําลัง
                               ่
สามารถที่จะสู้กบขบวนช้ างของพระราชาได้ แต่ก็ไม่ทําเพราะไม่อยากสร้ างเวรสร้ างกรรมต่อกัน ได้
                  ั
แต่คิดในใจว่า อันตรายที่เกิดขึ ้นกับตัวในครังคงจะมาจากนายพรานป่ าแน่นอนคิดแล้ วก็หนไปดู
                                                   ้                                               ั
รอบๆ เห็นนายพรานคนที่เ คยช่วยเหลือ ไว้ รวมอยู่ในคณะนัน ด้ วย จึงพูดกับนายพรานว่า เรา
                                                                  ้
ช่วยชีวิตท่าน แต่ทานกลับตอบแทนเราด้ วยเรื่ องแบบนี ้ ว่าแล้ วก็จึงยอมให้ พวกนายครวญช้ างของ
                     ่
พระราชาจับตัวไป พระราชารับสังให้ สร้ างโรงช้ างอย่างดีไว้ ต้อนรับช้ างธนบาล จัดอาหารอย่างดีไว้
                                         ่
ให้ ทกวัน ช้ างธนบาลก็ไม่ได้ ยินดีกับอาหารและที่อยู่อย่างหรู หราเหล่านั ้นเพราะในใจคิดถึงแต่แม่
       ุ
ป่ านนี ้คงจะร้ องหาลูกแล้ ว อาหารที่หาเตรี ยมไว้ ก็คงจะหมด แม่คงลําบากมากถ้ าไม่มีลกอยู่ด้วยู
แม้ วาพระราชาจะหาอาหารอย่างดีมาให้ ช้ างพระโพธิสตว์ก็ไม่ยอมกิน พระราชาจึงถามเอาความ
         ่                                                 ั
จริ ง เมื่อทราบเนื ้อความแล้ วก็เกิดความสลดสังเวชใจ จึงตรัสสินพระทัยปล่อยพญาช้ างกลับไปหา
แม่เหมือนเดิม ๖ 5




              จากตัวอย่างเรื่ องนี ้แสดงให้ เห็นว่า แม้ พระพุทธองค์เมื่อครังยังเป็ นพระโพธิ สตว์ ก็เคย
                                                                            ้                    ั
บํารุงบิดามารดามาแล้ ว แม้ แต่กลบุตรที่เข้ ามาบวชเป็ นภิกษุแล้ วพระองค์ก็ไม่ห้ามให้ เลี ้ยงดูมารดา
                                     ุ

            ๕
              ขุ.ขุ. (ไทย) ๒๕/๑-๑๓/๖-๘.
            ๖
              พระสริมงคลาจารย์, มังคลัตถทีปนีแปล, มงฺคล. (ไทย) ๒/๓๒๔/๙๙-๑๐๐.
                      ิ ั
๔

บิดา อาหารบิณฑบาตที่ได้ มาจากการบิณฑบาตยังอนุญาตให้ ภิกษุ ให้ แก่มารดาบิดาก่อนได้ ไม่
ปรั บ อาบัติ และไม่เป็ นการทําให้ ศรั ทธาไทยตกไป ๗ มี ตัวอย่า งในสมัยพุทธกาล มี ภิกษุ รูปหนึ่ง
                                                        6




บิณฑบาตเลี ้ยงมารดา จนพวกภิกษุติเตียนแล้ วนําเรื่ องไปกราบทูลพระผู้มีพระภาค พระองค์รับสัง                 ่
ให้ ประชุมสงฆ์ แล้ ว ตรัสเรี ยกภิกษุ รูปนันมาสอบถาม เมื่ อทราบเนื ้อความแล้ วพระองค์ ทรงเปล่ง
                                                 ้
สาธุการกับภิกษุนนว่า ดีละ ภิกษุ เธอทําดีแล้ ว แม้ เราก็เคยทําอย่างนี ้มาแล้ ว ๘
                     ั้                                                           7




               การเลี ้ยงดูบิดามารดาเป็ นการใช้ หนี ้เก่า คือหนี ้ที่ท่านเคยเลี ้ยงดูเรามาก่อน ผู้เป็ นบุตร
ธิดาถือเป็ นลูกหนี ้ของบิดามารดา เพราะฉะนัน ผู้เป็ นลูกหนี ้ต้ องใช้ หนี ้คืนเจ้ าหนี ้เมื่อถึงคราวต้ องใช้
                                                        ้
คืน ในเรื่ องนี ้พระพุทธองค์เคยทําเมื่อตอนเสวยพระชาติเป็ นพญานกแขกเต้ า มีเรื่ องย่อว่า พญานก
แขกเต้ าตัวเป็ นหน้ า ไปกินข้ าวสาลีในนาของโกสิยพราหมณ์ กินแล้ วก็คาบกลับไปทุกวัน อยู่มาวัน
หนึงคนเฝานาของพราหมณ์ทนไม่ไหวเพราะไม่สามารถจะไล่นกให้ หนีไปไม่กลับมากินข้ าวสาลีอีก
    ่       ้
ได้ จึงนําความไปบอกแก่โกสิยพราหมณ์วา พวกนกแขกเต้ ามากินข้ าวที่นาทุกวัน จนข้ าวในนาใกล้
                                                   ่
จะหมดแล้ ว นกส่วนมากกินแล้ วก็บินกลับไปเฉยๆ แต่มีนกอยูตวหนึงรูปร่างสวยงามกินแล้ วยังคาบ
                                                                     ่ ั ่
กลับ ไปทุกวัน พราหมณ์ จึง สังให้ ค นเฝ านาเอาตาข่ายไปดัก จับ นกแขกเต้ าตัวนัน พอจับมาได้
                                  ่            ้                                            ้
พราหมณ์ ก็ถามนกแขกเต้ าว่า เรากับท่านเคยเป็ นคู่เวรของกันและกันมาก่อนหรื อ เราไปทําอะไร
ให้ แก่ท่านหรื อ ทําไมท่านจึงทํากับเราแบบนี ้คือมากินข้ าวที่นาแล้ วยังคาบกลับไปอีก นกแขกเต้ า
ตอบว่า ที่คาบกลับไปนันไม่ได้ เอาไปเก็บสังสมไว้ แต่เอากลับไปใช้ หนี ้เก่า ให้ ก้ ูหนี ้ใหม่ และฝั งไว้
                             ้                       ่
เพื่อเป็ นทรัพย์ตอไปในภายหน้ า พราหมณ์ ได้ ฟังนกแขกเต้ าพูดอย่างนั ้นจึงถามเอาข้ อเท็จจริ ง นก
                   ่
แขกเต้ าจึงเล่าให้ ฟังว่า ที่ว่า ใช้ หนี ้เก่า คือ เอาไปเลี ้ยงบิดามารดา ในฐานะที่ท่านเลี ้ยงเรามาเรา
ต้ องเลี ้ยงท่านตอบแทน เป็ นการใช้ หนี ้เก่า ที่วาให้ ก้ หนี ้ใหม่ หมายถึงเอาไปเลี ้ยงลูกๆ ที่ยงตัวเล็กอยู่
                                                       ่ ู                                      ั
ไม่สามารถหาเลี ้ยงตัวเองได้ พวกลูกๆ ที่เราเลี ้ยงเขาในตอนนี ้ในอนาคตเขาจะเลี ้ยงเราตอบแทน
เหมือนกับที่เราเลี ้ยงบิดามารดาทุกวันนี ้ ที่ว่า เอาไปฝั งไว้ เป็ นขุมทรัพย์ หมายถึง เอาไปให้ แก่นก
แขกเต้ าตัวอื่นๆ ที่ทุพพลภาพไม่สามารถหากินเองได้ โกสิยพราหมณ์ ได้ ฟังแล้ วเกิดความเลื่อมใส
ในนกแขกเต้ าจึงมอบที่นาให้ นกแขกเต้ าพร้ อมด้ วยบริ วารให้ มากินได้ ตามสบาย และจะดูแลความ
ปลอดภัยให้ นกทุกตัว ไม่ต้องกลัวจะถูกจับ ๙     8




            ๗
                 คําวา ทําให้ศรัทธาไทย ตกไป หมายถึง ทําให้คนที่ทําบุญใส่บาตรมาด้วยความเลื่อมใสเมื่อรู้ว่า
                      ่
ภิกษุเอาอาหารบิณฑบาตไปให้ ญาติโยม ก็จะหมดศรัทธา ต่อไปก็จะไม่ใส่บาตรแก่ภิกษุรูปนันอีก แต่ถ้ารู้ว่า ภิกษุ
                                                                                   ้
รูปนั ้นนําเอาไปให้ โยมมารดา ก็ไม่เสียใจหรื อหมดศรัทธากลับยินดีกบภิกษุนนเสียอีก
                                                                ั      ั้
               ๘
                 พระสริมงคลาจารย์, มังคลัตถทีปนีแปล, มงฺคล. (ไทย) ๒/๓๐๙-๓๑๐/๘๙-๙๑.
                        ิ ั
               ๙
                 ขุ.ชา. (ไทย) ๒๗/๑-๑๗/๔๒๓-๔๒๖.
๕

               จากตัว อย่างนีจ ะเห็น ว่า บิ ดามารดามี ความสําคัญต่อ บุ ตรธิ ด าอย่า งยิ่ ง การเลี ้ยง
                                 ้
มารดาบิดาเป็ นการใช้ หนี ้เก่า ที่ท่านเคยเลี ้ยงเรามา ลูกที่ดีต้องเลี ้ยงท่านตอบแทนเมื่อถึงคราวที่
เหมาะสม หรื อเมื่อตัวเองสามารถเลี ้ยงตัวเองได้ แล้ ว ผู้ที่มีความกตัญ�ู ในทางพระพุทธศาสนาถือ
ว่าเป็ นบุคคลหาได้ ยาก ซึงบุคคลที่หาได้ ยากในพระพุทธศาสนามี ๒ จําพวก คือ บุพการี บุคคล คือ
                              ่
บุคคลที่มีอุปการคุณในกาลก่อน และ กตัญ�ูกตเวที คือ บุคคลผู้ร้ ูจกบุญคุณที่คนอื่นกระทําแก่ตน
                                                                            ั
แล้ ว ทําตอบแทนท่าน ๑๐  9




               ผู้บริ หารผู้หวังความเจริ ญรุ่ งเรื อ งในชี วิตการงานต้ อ งเป็ นคนกตัญ�ูกตเวทีต่อ บิดา
มารดา ซึงเรื่ องนี ้พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูหว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ผู้เป็ นพระประมุขของปวง
             ่                                     ่ ั
ชนชาวไทยก็เคยทําเป็ นตัวอย่างมาแล้ ว ครังที่สมเด็จพระราชชนนียงมีพระชนม์อยูพระองค์จะเสด็จ
                                                 ้                        ั          ่
ไปเสวยพระกะยาหารเย็นกับพระมารดาที่วงสระปทุม ๕ วันต่อสัปดาห์เพื่อให้ กําลังใจพระมารดา
                                                    ั
และอยูพดคุยเป็ นเพื่อนของพระมารดา ๑๑
         ่ ู                               10




             ๓.๑.๒ ถ้ าไม่ เคารพบิดารมารดาจะมีผลอย่ างไร
                อาจจะมีคําถามว่า ถ้ าเกิดว่าลูกเลี ้ยงดูมารดาบิดาแล้ วเกิดมีการทะเลาะมีปากมีเสียง
กันซึงเป็ นเรื่ องปกติทวไปของปุถชน ลูกจะเป็ นบาปหรื อไม่ หรื อว่า บุญคุณที่เลี ้ยงดูมารดาบิดาจะ
       ่                   ั่          ุ
ลดหรื อหมดไปหรื อไม่ คําถามนีคงตอบได้ ไม่ง่ายนักเพราะต้ อ งดูบริ บทอื่ นๆ ประกอบด้ วย คือ ดู
                                         ้
เจตนาประกอบด้ วย ก่อนอื่นต้ องบอกก่อนว่าเรื่ องที่ทะเลาะกันนั ้นเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับอะไร เกิดจาก
สาเหตุอะไร เช่น บางกรณีเกิดจากการน้ อยอกน้ อยใจของผู้เป็ นบิดามารดาที่ลกๆ ไม่ค่อยเอาใจใส่
                                                                                   ู
เนื่องจากมีภาระเพิ่มขึ ้นต้ องดูแลลูกๆ ส่งลูกเรี ยนต้ องทํางานหนักเพิ่มขึ ้น เพื่อจะมีรายได้ มาจุนเจือ
ครอบครัว เลยทําให้ เหินห่างบิดามารดาไปบ้ าง ทําให้ เกิดความเข้ าใจผิดบิดามารดาคิดว่า ลูกไม่
เอาใจใส่เหมือนเดิม ถ้ าเป็ นลักษณะอย่างนี ้ถือว่าเป็ นการเข้ าใจผิดกัน ก็ควรที่จะปรับความเข้ าใจ
กันระหว่างบิดามารดากับบุตรธิดา
                ถ้ าเป็ นกรณีที่เป็ นการจงใจจะทําด้ วยความไม่ชอบกันเป็ นการส่วนตัว เช่น บิดามารดา
ก็ควรจะให้ อภัยแก่บุตรธิ ดา บางอย่างบุตรธิ ดาอาจจะทําไปด้ วยความรู้ เท่าไม่ถึงการณ์ หรื อทําไป
ด้ วยความพลังเผลอ แต่ถ้าบุตรธิ ดาทําต่อบิดามารดาด้ วยเจตนา ย่อมเป็ นกรรมหนักแน่นอน เช่น
                    ้
กรณีของกุลบุตรคนหนึ่งเชื่อคํายุยงของภรรยาหลอกมารดาบิดาตาบอดไปฆ่าในป่ า โดยเอาท่อน
ไม้ ทบตีจนบิดามารดาเสียชีวิต ตนเองเมื่อตายจากโลกนี ้แล้ วไปเกิดในนรกอเวจีเสวยวิบากกรรมอยู่
     ุ

             ๑๐
               องฺ.ทุก. (ไทย) ๒๐/๑๒๐/๑๑๔.
             ๑๑
                พ.อ.(พิเศษ) ทองคํา ศรี โ ยธิน , หยุ ดความชั่ วที่ไ ล่ ล่ า ตั วคุ ณ , [ออนไลน์ ] แหล่ง ที่ มา :
http://www.thaimonarchy.com (๔ กันยายน ๒๕๕๕).
๖

เป็ นกัป ในชาตินี ้ถึงแม้ จะได้ บรรลุเป็ นพระอรหันต์แล้ วยังถูกพวกโจรเอาฆ้ อนทุบตีจนกระดูกแหลก
ละเอียดจนนิพพาน กุลบุตรในชาตินั ้นคือ พระโมคคัลลานะในชาตินี ้๑๒ ถ้ าเป็ นอย่างนี ้ผู้เป็ นบุตร
                                                                          11




ธิ ดาเป็ นกรรมหนัก ถ้ าบิดามารดาเสียชีวิตจากนํ ้ามือของลูก จัดเป็ นอนันตริ ยกรรมห้ ามสวรรค์
ห้ ามนิ พพาน ตายไปก็ ตกนรกอเวจี ซึ่งเป็ นนรกที่มี การทรมานโหดร้ ายที่สุด ถ้ า เป็ นกรณี ที่บิด า
มารดาเป็ นคนชอบบ่นจู้จี ้ ไม่มีเหตุผลจนทําให้ บุตรธิ ดาทนไม่ไหว ต้ อ งโต้ เถียงกลับบ้ าง ลักษณะ
อย่างนี ้ผู้เป็ นบุตรธิ ดาก็เป็ นกรรมเล็กน้ อย ซึ่งสามารถทําพิธีขอขมาโทษ ในโอกาสสําคัญเช่น วัน
คล้ ายวันเกิด เป็ นต้ น เพื่อให้ ทานอดโทษให้ โทษที่ลวงเกินนันก็จะกลายเป็ นอโหสิกรรม คือไม่เป็ น
                                  ่                     ่               ้
กรรมต่อไป
                ถ้ ามีคําถามว่า ในกรณีที่บุตรธิดาคิดว่า ถ้ าอยูเ่ ลี ้ยงดูบิดามารดาผู้อาศัยอยู่ในบ้ านหลัง
เดียวกัน เกรงว่าจะเกิดการทะเลาะมี ปากมี เสียงกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เกรงว่าจะเป็ นบาปเป็ น
กรรมแก่ตัว เอง จึงย้ ายออกมาอยู่ต ามลํา พัง กับครอบครั ว แต่ยังเลี ้ยงดูบิ ดามารดาเหมื อ นเดิ ม
ลักษณะอย่างนี ้จะถือว่าเป็ นการทอดทิ ้งบิดามารดาหรื อไม่ ตอบว่าถ้ าเป็ นการยินยอมกันทั ้งสอง
ฝ่ ายก็ไม่ถือ ว่าทอดทิ ้งบิดามารดา ซึ่งกรณีนี ้คล้ ายกับกรณีของในหลวงปฏิบติต่อพระชนนีดงยก
                                                                                       ั              ั
เป็ นตัวอย่างนัน    ้
                กรณีที่บุตรธิ ดาเคยเลี ้ยงดูบิดามารดาเป็ นอย่างดีในอดีต แต่ต่อ มากลับประพฤติต่อ
ท่านด้ วยความไม่เคารพยําเกรง ความดีที่บุตรธิ ดาเหล่านันเคยทําไว้ ย่อมหมดไป เขาย่อ มได้ รับ
                                                                      ้
ความทุกข์ ความยากแค้ นในอนาคตดังพระพุทธพจน์ในเรื่ องอังกุรเปตวัตถุวา               ่
              บุคคลใดทําความดีไว้ ในกาลก่อน
              ภายหลังกลับเบียดเบียนบุพการี ชนด้ วยความชัว
                                                        ่
              บุคคลนันชื่อว่าเป็ นคนอกตัญ�ู ย่อมไม่พบเห็นความเจริ ญ ๑๓
                     ้                                                         12




                อาจจะมีคําถามต่อไปอีกว่า ถ้ าเกิดว่าบิดามารดา แยกทางกันตังแต่เด็กไม่ค่อยได้ รับ
                                                                              ้
การเลี ้ยงดูจากท่านทังสองเลย ส่วนมากได้ รับการเลี ้ยงดูจากยายหรื อญาติพี่น้องคนอื่น เมื่อเติบโต
                         ้
ขึ ้น บิดามารดากลับมาขออาศัยอยู่ด้วย ถ้ าเราปฏิเสธไม่รับเลี ้ยงโดยให้ เหตุผลว่า ท่านไม่ได้ เลี ้ยง
เรามาก่อน ลักษณะอย่างนี ้จะทําอย่างไร ตอบว่า ต้ องดูบริ บทอื่นประกอบด้ วยว่า สาเหตุที่ท่าน
ไม่ได้ เลี ้ยงเราตอนเป็ นเด็กเพราะแยกทางกันต่างคนต่างก็ไปมีครอบครัวใหม่ต้องไปดูแลครอบครัว
ใหม่ หรื อมีข้อจํากัดอย่างอื่นเช่นว่า ฐานะการเงินไม่ดี ต้ องปล่อยให้ ลกอยู่กับคนอื่น แต่ยงมีใจเป็ น
                                                                      ู                  ั


            ๑๒
               ดรายละเอียดใน ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๕/๗/๓๗-๔๑.
                 ู
            ๑๓
               ขุ.เปต. (ไทย) ๒๖/๒๖๕/๒๑๐.
๗

ห่วงลูกอยู่เพียงแต่ไม่ค่อยได้ แวะมาดูแลเยี่ยมเยียน แวะมาบ้ างเป็ นบางครั งบางคราว ลักษณะ
                                                                            ้
อย่างนี ้บุตรธิดาต้ องเลี ้ยงดูทานตามความเหมาะสม จะทอดทิ ้งไม่ได้
                                  ่
             ในข้ อ นี มี เนื อ ความในอรรถกถาพระวิ นัย สิก ขาบทที่ ๓ แห่งปาราชิ ก เป็ นตัวอย่า ง
                       ้ ้
เปรี ยบเทียบได้ เนื ้อความย่อในอรรถกถาว่า ภิกษุไม่ร้ ูวาเป็ นบิดาหรื อมารดาของตัวเองได้ ฆ่าบิดา
                                                       ่
หรื อมารดาเสียชีวิตพระองค์ปรับเป็ นปาราชิกด้ วย เป็ นอนันตริ ยกรรมด้ วย ๑๔ ถ้ าเอากรณีนี ้มาเป็ น
                                                                         13




เกณฑ์วินิจฉัยจะเห็นว่าพระพุทธองค์ให้ ความสําคัญกับบิดามารดาผู้ให้ กําเนิดมาก เนื ้อความใน
พระสูตรหลายสูตรที่กล่าวถึงการปฏิบติตอบิดามารดา เช่น ในปราภวสูตร ตอนหนึงว่า บุตรธิดาคน
                                        ั ่                                     ่
ใดอยู่ในวัยหนุ่ม มี ค วามสามารถเลี ้ยงดูบิดามารดาได้ แต่ไม่เลี ้ยงดูท่านตอนที่ท่านแก่ ชรา การ
กระทําของบุตรธิดาคนนันเป็ นทางแห่งความเสือม ๑๕
                               ้              ่   14




           ๓.๑.๓ ถ้ าเคารพบิดามารดาจะมีผลอย่ างไร
               ตอบคําถามข้ อ ว่า ถ้ าเคารพหรื อเลี ้ยงดูบิดามารดาอย่างดีจะมีผลอย่างไร ตามหลัก
พระพุทธศาสนาสอนว่า การอุปัฏฐากหรื อ การเลี ้ยงดูบิดามารดาเป็ นมงคลสูงสุด ดังที่ปรากฏใน
มงคลสูตรนัน ถามว่า เพราะเหตุไรจึงเป็ นมงคลสูงสุดแก่บุตรธิ ดา ตอบว่า เพราะบิดามารดามี
                  ้
พระคุณยิ่งใหญ่แก่บุตรธิ ดา ไม่มีสิ่งใดเปรี ยบเทียบบุญคุณของบิดามารดาได้ สุภาษิ ตโบราณว่า
เอาแผ่นฟาเป็ นกระดาษเอานํ ้าในมหาสมุทรเป็ นนํ ้าหมึกปากก็เขียนพรรณนาคุณของบิดามารดา
           ้
จนนํ ้าหมึกหมดก็ยงพรรณนาคุณของบิดามารดาไม่หมด เพราะเหตุไรจึงมีคุณมากขนาดนั ้น เมื่อ
                     ั
ย้ อน คิดดูตงแต่แรกเกิดในครรภ์มารดา ถ้ าบิดามารดาไม่มีความรั กความเมตตาต่อลูกที่เกิ ดใน
               ั้
ครรภ์ของตน หาวิธีขบออกเสีย วิญญาณที่ปฏิสนธิ ในครรภ์ก็ไม่มีโอกาสเจริ ญเติบโตจนถึงกําหนด
                         ั
คลอด ในขณะที่มารดาตังครรภ์เป็ นเวลา ๙ เดือน บิดาต้ องทํางานหนักเพื่อหาเลี ้ยงครอบครัว เพื่อ
                             ้
ชดเชยช่วงที่มารดาตังครรภ์แก่ทํางานหนักไม่ได้ ในขณะเดียวกันมารดาก็คอยประคับประครองลูก
                           ้
น้ อยที่อยูในครรภ์ไม่ให้ เกิดอันตรายคอยระวังแม้ กระทังอาหาร ไม่กินตามใจชอบเพราะเป็ นห่วงว่า
             ่                                           ่
จะทําอันตรายแก่ลกในครรภ์ เมื่อถึงคราวคลอดออกมาแม่ผ้ คลอดได้ รับความเจ็บปวดแทบเอาชีวิต
                       ู                                     ู
เข้ าเดิมพัน หลังจากคลอดแล้ วบิดามารดาก็เฝาเลี ้ยงดูทะนุถนอมอย่างดี ตังแต่เป็ นทารกนอนแบ
                                                ้                           ้
เบาะจนเจริ ญเติบโตเป็ นผู้หนุมสาวเป็ นผู้ใหญ่ตามลําดับ
                                ่
               จากตัวอย่างที่บรรยายมานี ้จะเห็นว่าบิดามารดามีบุญคุณต่อบุตรธิดาหาที่เปรี ยบไม่ได้
นี่จึงเป็ นเหตุผลที่ว่า การตอบแทนบุญคุณต่อ ผู้มีพระคุณมี ผลตอบแทนสูงแก่ผ้ กระทํา อนึ่งบิดา
                                                                               ู
มารดาเปรี ยบเสมือ นพระอรหันต์ของลูก การได้ ทําบุญกับพระอรหันต์นนมีผลยิ่งใหญ่เพียงไร มี
                                                                         ั้
           ๑๔
              ดูรายละเอียดใน วิ.อ. (ไทย) ๑/๓๗๒.
           ๑๕
              ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๙๘/๕๒๕.
๘

หลักฐานปรากฏในทักขิณาวิภงคสูตร มัชฌิมนิกาย อุปริ ปัณณาสก์ ตอนว่าด้ วยการจําแนกทาน
                                       ั
พระพุทธองค์ตรัสอานิสงส์ของการให้ ทานตั ้งแต่ให้ แก่สตว์เดรัจฉานไปจนถึงถวายแก่พระอรหันต์
                                                                 ั
พระปั จเจกพุทธเจ้ า พระพุทธเจ้ า และสุดท้ ายถวายแก่สงฆ์ ว่า ผู้ถวายจะได้ อานิสงส์เพิ่มขึ ้นตาม
คุณธรรมของผู้รับทานหรื อปฏิคาหก คือ ถวายทานให้ แก่พระอนาคามีร้อยครังอานิสงส์ก็ไม่เท่ากับ ้
ถวายแก่พระอรหันต์หนึ่งครัง ถวายแก่พระอรหันต์ร้อยครังอานิสงส์ไม่เท่ากับถวายแก่พระปั จเจก
                                    ้                              ้
พุทธเจ้ าหนึงครัง ถวายแก่พระปั จเจกพุทธเจ้ าร้ อยครังก็ไม่เท่าถวายแด่พระพุทธเจ้ าหนึ่งครัง ถวาย
               ่ ้                                           ้                                            ้
แด่พระพุทธเจ้ าร้ อยครังก็ไม่เท่าถวายแก่สงฆ์หนึงครัง ๑๖
                              ้                          ่ ้  15




                จากตัวอย่างนี ้จะเห็นว่า การถวายทานแก่พระอรหันต์ครังเดียวมีผลมากกว่าการถวาย
                                                                              ้
แก่พระอนาคามีร้อยครัง ซึ่งพระอนาคามีนนก็ถือว่าเป็ นผู้มีคุณธรรมสูงอยู่แล้ วเป็ นบุคคลที่หาได้
                                ้                    ั้
ยากเช่นเดียวกัน แต่เมื่อเปรี ยบบิดามารดาเหมือนพระอรหันต์ของบุตรธิ ดา การที่บุตรธิ ดาได้ ดูแล
เลี ้ยงดูบิดามารดาจนตลอดอายุไขของท่านซึ่งนับครั งไม่ได้ นนจะมี ผลานิสงส์มากเพียงไร จาก
                                                               ้        ั้
หลักฐานตรงนี ้จึงสมกับพระพุทธพจน์ว่า “การบํารุ งบิดามารดาเป็ นมงคลสูงสุด” บิดามารดาเป็ น
บุพการรี ของบุตรธิดา เป็ นบุคคลที่หาได้ ยาก การได้ บํารุ งบุคคลที่หาได้ ยากย่อมจะมีอานิสงส์มาก
เช่ น เดี ย วกัน จึ ง ไม่ มี ข้ อ สงสัย ว่า การเลี ้ยงดูม ารดบิ ด าจะทํ า ให้ ก ารดํ า เนิ น ชี วิ ต ของบุ ต รธิ ด า
เจริ ญรุ่งเรื องอย่างแน่นอน




             ๑๖
                  ดูรายละเอียดใน ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๓๗๖/๔๒๔-๔๓๒.
๙

                                            บรรณานุกรม

๑. ภาษาบาลี – ไทย :

        ก. ข้ อมูลปฐมภูมิ

มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย . พระไตรปิ ฎกภาษาบาลี ฉบั บ มหาจุ ฬ าเตปิ ฏกํ .
          กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๐๐.
__________. พระไตรปิ ฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุ งเทพมหานคร :
          โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
__________. อรรถกถาบาลี ฉบับมหาจุฬาอฏฺฐกถา. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์วิญญาณ,
          ๒๔๙๙,๒๕๓๓-๒๕๓๔.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระไตรปิ ฎกพร้ อมอรรถกถาแปล. ชุด ๙๑ เล่ ม. กรุ งเทพมหานคร :
          โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔.

        ข. ข้ อมูลทุติยภูมิ

(๑) หนังสือ

พระธรรมปิ ฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครังที่ ๑๒.   ้
             กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ . พิมพ์ครังที่       ้
             ๑๖. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ บริ ษัท สหธรรมิก จํากัด, ๒๕๕๔.
พระสิ ริ มัง คลาจารย์ . มั ง คลั ต ถที ป นี แ ปล. แปลโดย สภาวิ ช าการมหามกุฏ ราชวิ ท ยาลัย .
             กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๔๘๑.

(๒) สื่ออิเล็กทรอนิกส์

พ.อ.(พิ เ ศษ) ทองคํ า ศรี โ ยธิ น , หยุ ด ความชั่ วที่ ไ ล่ ล่ า ตั ว คุ ณ , [ออนไลน์ ]   แหล่ง ที่ ม า :
           http://www.thaimonarchy.com (๔ กันยายน ๒๕๕๕).

Más contenido relacionado

Destacado

Gatekeepers - How to get pass them.
Gatekeepers - How to get pass them.Gatekeepers - How to get pass them.
Gatekeepers - How to get pass them.KUMAR LANG
 
Data + narrative + outside-in strategy = Unique Value Story = Higher Margin
Data + narrative + outside-in strategy = Unique Value Story = Higher MarginData + narrative + outside-in strategy = Unique Value Story = Higher Margin
Data + narrative + outside-in strategy = Unique Value Story = Higher MarginKUMAR LANG
 
Actividad n°1 mapa conceptual tecnologia educativa
Actividad n°1 mapa conceptual tecnologia educativaActividad n°1 mapa conceptual tecnologia educativa
Actividad n°1 mapa conceptual tecnologia educativaEdwin Quintero Monsalve
 
Van datajournalistiek naar datajournalisme
Van datajournalistiek naar datajournalismeVan datajournalistiek naar datajournalisme
Van datajournalistiek naar datajournalismeArjan Fassed
 
Using punctuation marks
Using punctuation marksUsing punctuation marks
Using punctuation marksEric Cruz
 
Failed Sales Training? Here's your answer.
Failed Sales Training? Here's your answer.Failed Sales Training? Here's your answer.
Failed Sales Training? Here's your answer.KUMAR LANG
 
Radke garrett visual_resumestoryboard
Radke garrett visual_resumestoryboardRadke garrett visual_resumestoryboard
Radke garrett visual_resumestoryboardgradke5
 
Open data en rekenkamers
Open data en rekenkamersOpen data en rekenkamers
Open data en rekenkamersArjan Fassed
 
Using punctuation marks
Using punctuation marksUsing punctuation marks
Using punctuation marksEric Cruz
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Destacado (20)

Gatekeepers - How to get pass them.
Gatekeepers - How to get pass them.Gatekeepers - How to get pass them.
Gatekeepers - How to get pass them.
 
Data + narrative + outside-in strategy = Unique Value Story = Higher Margin
Data + narrative + outside-in strategy = Unique Value Story = Higher MarginData + narrative + outside-in strategy = Unique Value Story = Higher Margin
Data + narrative + outside-in strategy = Unique Value Story = Higher Margin
 
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
 
Actividad n°1 mapa conceptual tecnologia educativa
Actividad n°1 mapa conceptual tecnologia educativaActividad n°1 mapa conceptual tecnologia educativa
Actividad n°1 mapa conceptual tecnologia educativa
 
Migración y Biopolítica.
Migración y Biopolítica. Migración y Biopolítica.
Migración y Biopolítica.
 
Van datajournalistiek naar datajournalisme
Van datajournalistiek naar datajournalismeVan datajournalistiek naar datajournalisme
Van datajournalistiek naar datajournalisme
 
Tocopilla Norte: imágenes y memoria
Tocopilla Norte: imágenes y memoria Tocopilla Norte: imágenes y memoria
Tocopilla Norte: imágenes y memoria
 
พระพุทธศาสนาในสหรัฐ
พระพุทธศาสนาในสหรัฐพระพุทธศาสนาในสหรัฐ
พระพุทธศาสนาในสหรัฐ
 
Using punctuation marks
Using punctuation marksUsing punctuation marks
Using punctuation marks
 
Failed Sales Training? Here's your answer.
Failed Sales Training? Here's your answer.Failed Sales Training? Here's your answer.
Failed Sales Training? Here's your answer.
 
Radke garrett visual_resumestoryboard
Radke garrett visual_resumestoryboardRadke garrett visual_resumestoryboard
Radke garrett visual_resumestoryboard
 
Earthquakes
EarthquakesEarthquakes
Earthquakes
 
บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)
 
Open data en rekenkamers
Open data en rekenkamersOpen data en rekenkamers
Open data en rekenkamers
 
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
 
Using punctuation marks
Using punctuation marksUsing punctuation marks
Using punctuation marks
 
บทที่ ๔ (จริง)
บทที่ ๔ (จริง)บทที่ ๔ (จริง)
บทที่ ๔ (จริง)
 
Qusol
QusolQusol
Qusol
 
iLook - Connecting Like Minds
iLook - Connecting Like MindsiLook - Connecting Like Minds
iLook - Connecting Like Minds
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก๒
 

Más de วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Más de วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 

การบริหารงานตามหลักทิศ ๖ ในพระพุทธศาสนา

  • 1. การบริหารงานตามหลักทิศ ๖ ในพระพุทธศาสนา : กรณีการบริหารงานกับบุคคลผู้อยู่ทิศเบืองหน้ า (ทิศตะวันออก) บิดามารดา ้ ๑. บทนํา ตอนเช้ าวันหนึ่งขณะที่พระพุทธองค์กําลังเสด็จเข้ าไปสูนครราชคฤห์เพื่อบิณฑบาตได้ ่ ทอดพระเนตรเห็นสิงคาลมาณพ กําลังยืนไหว้ ทิศต่างๆ อยู่ พระองค์จึงตรัสถามว่า ทําอะไรอยู่ เขา กราบทูลว่า กําลังไหว้ ทิศต่างๆ ตามคําสอนของบิดาอยู่ เขากราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า ก่อนบิดา เสียชีวิต บิดาสังไว้ ให้ ไหว้ ทิศทั ้ง ๖ เขาจึงทําตามตลอดมา พระพุทธองค์ จึงตรัสกับเขาว่า ในอริ ย ่ วินย (ธรรมเนียมแบบแผนของพระอริ ยะ) ไม่ได้ ไหว้ ทิศทั ้ง ๖ อย่างนี ้ แต่หมายถึงให้ ไหว้ บุคคลที่ควร ั ไหว้ ๖ จํ าพวก ว่า แล้ ว พระองค์ ก็ต รั ส แสดงบุค คลประจํ า ทิ ศทัง ๖ ให้ สิง คาลมาณพฟั ง ดัง มี ้ เนื ้อความปรากฏในสิงคาลกสูตร ในทีฆนิกายนัน ๑ 0้ ในบทความนี ผ้ ูเ ขี ยนจะได้ ศึกษาวิ เ คราะห์ การบริ หารงานตามหลัก ทิศ ๖ หรื อ การ ้ บริ ห ารงานที่ มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งกับ บุ ค คลทัง ๖ จํ า พวกที่ พ ระพุ ท ธองค์ ท รงหมายถึ ง นัน ว่า มี ้ ้ ความสําคัญกับการดําเนินชีวิตอย่างไร เพราะเหตุไรพระองค์จึงให้ เคารพในบุคคลเหล่านั ้น ถ้ าไม่ เคารพจะเกิดผลอย่างไร ถ้ าเคารพจะมีผลอย่างไร ๒. ความหมายของทิศ ๖ คําว่า ทิศ ๖ ในที่นี ้หมายถึง บุคคลที่เกี่ยวข้ องกัน มี บิดามารดา บุตรธิ ดา ครู อาจารย์ สามีภรรยา เพื่อสหาย คนใช้ ผ้ ใต้ บงคับบัญชา และสมณพราหมณ์ ๒ ู ั 1 ๓. วิเคราะห์ การบริหารงานกับบุคคลผู้อยู่ทิศเบืองหน้ า (ทิศตะวันออก) บิดามารดา ้ บุคคลในทิศทัง ๖ คือ บุคคลที่ผ้ ูอ ยู่ครองเรื อ นมี ความเกี่ ยวข้ อ งในชี วิตประจํ าวัน ใน ้ จํานวนบุคคลเหล่านัน อาจจะไม่ได้ เกี่ยวข้ องกันทั ้ง ๖ จําพวกในเวลาเดียวกัน แต่ก็มีสวนเกี่ยวข้ อง ้ ่ กันไม่โดยตรงก็โดยอ้ อ ม ผู้ที่เราเกี่ยวข้ องจําพวกแรกคือ บิดามารดา เมื่ อมีความเกี่ ยวข้ อ งกันจะ ปฏิบัติต่อ กันอย่างไรจึงจะถือ ว่าปฏิบติถูกต้ อ งตามพุทธประสงค์ เพราะบิดามารดา ถือ ว่า เป็ น ั ๑ ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๔๒-๒๗๔/๑๙๙-๒๑๘. ๒ ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๖๖/๒๑๒, ดเู พิ่มเติมใน พระพรหมคณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรม ุ พุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, พิมพ์ครังที่ ๒๐, (กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์ บริ ษัท สหธรรมิก จํ ากัด, ้ ๒๕๕๔), หน้า ๑๙๑-๑๙๖.
  • 2. ๒ บุพการี ของบุตรธิดา คือ เป็ นผู้มีอุปการะที่เคยทําไว้ แก่บุตรธิดา เป็ นพรหมของบุตรธิ ดา เป็ นครู คน แรกของบุตรธิดา เป็ นพระอรหันต์ในบ้ านของบุตรธิ ดา ๓ หน้ าที่ของบิดามารดาที่ท่านทําให้ แก่บุตร 2 ธิดาตามหลักพระพุทธศาสนามี ๕ อย่าง คือ ๑) ห้ ามจากความชั่ว ๒) สังสอนให้ เป็ นคนดี ๓) ให้ ่ การศึกษา ๔) หาคูครองที่เหมาะสมให้ ๕) มอบทรัพย์สมบัติให้ ในสมัยที่ควร ๔ ่ 3 ประเด็นที่ต้องการทราบคือ เพราะเหตุไรพระพุทธองค์จึงจัดให้ บิดามารดาเป็ นทิศเบื ้อง หน้ า บิ ดามารดา มี ความสําคัญต่อ บุต รอย่างไร ถ้ าบุต รปฏิบัติต่อ บิด ามารดาไม่ดี ผลจะเป็ น อย่างไร ถ้ าปฏิบติดี ผลจะเป็ นอย่างไร จะได้ ศกษาในรายละเอียดต่อไป ั ึ ๓.๑ บิดามารดามีความสําคัญอย่ างไร มีข้อความที่ปรากฏในมงคลัตถทีปนี ซึงเป็ นผลงานประพันธ์ ของพระเถระชาวเชียงใหม่ ่ ชื่อว่า พระสิริมงคลาจารย์ ตอนว่าด้ วย การบํารุงบิดามารดา ท่านได้ พรรณนาไว้ วา บิดามารดา แม้ ั ่ ผู้ดํารงอยูในตําแหน่งพระมหากษัตริ ย์ ถ้ ามี ความต้ องการการดูแลเลี ้ยงดูจากบุตรธิ ดา บุตรธิ ดาก็ ่ ต้ องเลี ้ยงดูทานทังสองให้ ดี ท่านยังได้ อธิบายต่อไปอีกว่า การเลี ้ยงดูบิดามารดาที่ถูกต้ อง คือ การ ่ ้ ชักชวนให้ ทานทังสองเกิดศรัทธาในพระรัตนตรัย ให้ ทานทังสองมีโอกาสได้ ปฏิบติธรรมตามสมควร ่ ้ ่ ้ ั แก่สติปัญญา เพื่อนําตนให้ พ้นจากความทุกข์ในสังสารวัฏ การเลี ้ยงดูด้วยการทําอย่างอื่นยังไม่ถือ ว่าเป็ นการตอบแทนอย่างถูกต้ อง ในคัมภีร์กล่าวว่าแม้ ลกจะยกบิดาขึ ้นไว้ บนบ่าข้ างขวา ยกมารดา ู ขึ ้นไว้ บนบ่าข้ างซ้ ายเลี ้ยงดูท่านตลอดอายุไขของท่าน ถึงท่านจะถ่ายอุจจาระ ปั สสาวะรดลงมาก็ ตามยังไม่ถือว่าได้ ตอบแทนบุญคุณที่ถกต้ อง อาจจะมีคําถามว่า เพราะเหตุไร ลูกทําถึงขนาดนี ้แล้ ว ู ยังไม่ถือ ว่าได้ ตอบแทนบุญคุณที่ถูกต้ อง ตอบว่า เพราะการทําอย่างนันไม่สามารถทําให้ ท่านทั ้ง ้ สองที่เ ป็ นมิ จ ฉาทิ ฐิ ห ายจากความเป็ นมิ จฉาทิฐิ ได้ ไม่สามารถทํา ให้ ท่านทังสองผู้ไ ม่มี ศรั ทธา ้ กลายเป็ นคนมีศรัทธาได้ ต่อเมื่อชักชวนท่านเข้ ามานับถือพระรัตนตรัยเป็ นสรณะแล้ วได้ รับฟั งพระ ธรรมคํ า สัง สอนขององค์ ส มเด็จ พระสัม มาสัม พุท ธเจ้ าจากพระสงฆ์ แ ล้ วจึ ง จะทํ า ให้ ห ายจาก ่ ความเห็นผิด กลายเป็ นผู้มีศรัทธาได้ เมื่อมีศรัทธาแล้ วก็จะบําเพ็ญบุญอย่างอื่นต่อไปได้ เช่น การ รักษาศีล การเจริ ญภาวนา ตามลําดับ ๓ พระสริมงคลาจารย์, มังคลัตถทีปนีแปล, แปลโดย สภามหามกุฏราชวิทยาลัย, มงฺคล. (ไทย) ๒/ ิ ั ๒๙๔/๘๒-๘๓. ๔ ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๖๗/๒๑๒, ดเู พมเตมใน พระสริมงคลาจารย์, เร่ ืองเดียวกัน, มงฺคล. (ไทย) ๒/ ิ่ ิ ิ ั ๒๙๔/๘๒-๘๓.
  • 3. ในมงคลสูตร ๕ การบํารุ งมารดาบิดา เป็ นมงคลสูงสุดของบุตรธิ ดา จากข้ อความนี ้จะ 4 เห็นว่า บิดามารดามีพระคุณอย่างยิ่งใหญ่สาหรับลูก ลูกคนใดที่เลี ้ยงดูบิดามารดาจะเจริ ญรุ่ งเรื อง ํ ในการดําเนินชีวิต ในมั ง คลัต ถที ป นี พระสิ ริ มั ง คลาจารย์ นํ า เอาเรื่ อ งพญาช้ างเผื อ กในชาดกมา ประกอบการอธิบายในมงคลข้ อว่า การบํารุงมารดาบิดา ความย่อว่า ในอดีตกาลมีตวอย่างหลาย ั เรื่ องตอนที่พระพุทธองค์เสวยพระชาติเป็ นพระโพธิสตว์ได้ ประพฤติมาแล้ ว เช่น ตอนที่พระองค์เกิด ั เป็ นพญาช้ างเผือ ก เป็ นช้ างมี ลกษณะพิเศษ ผิวเผือ ก งาดํา เล็บดํา เป็ นหัวหน้ า แห่งช้ างในป่ า ั ปกครองพวกช้ างด้ วยกัน ในขณะเดียวกันก็เลี ้ยงแม่ที่ตาบอดด้ วย อยู่ต่อมาเมื่อแม่ชราภาพมากไม่ สามารถช่วยตัวเองได้ จึงตัดสินใจมอบหน้ าที่ให้ ช้างอื่นเป็ นหัวหน้ าดูแลเพื่อนช้ างแทน ตัวเองพาแม่ หนีเข้ าไปอยูในป่ าลึกห่างไกลจากถิ่นมนุษย์และโขลงช้ าง เพื่อจะได้ มีเวลาเลี ้ยงดูแม่อย่างเต็มที่ อยู่ ่ มาวันหนึ่งมีนายพรานหลงเข้ าไปในป่ าไม่สามารถหาหนทางกลับบ้ านได้ ช้ างพระโพธิ สตว์เห็นก็ ั สงสารจึงนํามาส่งที่ถิ่นของมนุษย์ทาง ก่อนจะจากกันช้ างบอกกับนายพรานว่า ท่านไปจากที่นี่แล้ ว อย่าไปบอกใครว่า เราอยูที่นี่เพราะจะเกิดอันตรายแก่เรา เรามีหน้ าที่ต้องเลี ้ยงดูมารดาตาบอด แต่ ่ นายพรานเป็ นคนสันดานหยาบช้ า ไม่นึกถึง บุญ คุณ ที่ช้า งช่ วยชี วิต ไว้ นํ าเรื่ อ งไปกราบทูลแก่ พระราชา พระราชาจึงรับสังให้ จัดกองทับช้ างออกไปจับช้ างธนบาล ช้ างธนบาลถึงแม้ ว่ามีกําลัง ่ สามารถที่จะสู้กบขบวนช้ างของพระราชาได้ แต่ก็ไม่ทําเพราะไม่อยากสร้ างเวรสร้ างกรรมต่อกัน ได้ ั แต่คิดในใจว่า อันตรายที่เกิดขึ ้นกับตัวในครังคงจะมาจากนายพรานป่ าแน่นอนคิดแล้ วก็หนไปดู ้ ั รอบๆ เห็นนายพรานคนที่เ คยช่วยเหลือ ไว้ รวมอยู่ในคณะนัน ด้ วย จึงพูดกับนายพรานว่า เรา ้ ช่วยชีวิตท่าน แต่ทานกลับตอบแทนเราด้ วยเรื่ องแบบนี ้ ว่าแล้ วก็จึงยอมให้ พวกนายครวญช้ างของ ่ พระราชาจับตัวไป พระราชารับสังให้ สร้ างโรงช้ างอย่างดีไว้ ต้อนรับช้ างธนบาล จัดอาหารอย่างดีไว้ ่ ให้ ทกวัน ช้ างธนบาลก็ไม่ได้ ยินดีกับอาหารและที่อยู่อย่างหรู หราเหล่านั ้นเพราะในใจคิดถึงแต่แม่ ุ ป่ านนี ้คงจะร้ องหาลูกแล้ ว อาหารที่หาเตรี ยมไว้ ก็คงจะหมด แม่คงลําบากมากถ้ าไม่มีลกอยู่ด้วยู แม้ วาพระราชาจะหาอาหารอย่างดีมาให้ ช้ างพระโพธิสตว์ก็ไม่ยอมกิน พระราชาจึงถามเอาความ ่ ั จริ ง เมื่อทราบเนื ้อความแล้ วก็เกิดความสลดสังเวชใจ จึงตรัสสินพระทัยปล่อยพญาช้ างกลับไปหา แม่เหมือนเดิม ๖ 5 จากตัวอย่างเรื่ องนี ้แสดงให้ เห็นว่า แม้ พระพุทธองค์เมื่อครังยังเป็ นพระโพธิ สตว์ ก็เคย ้ ั บํารุงบิดามารดามาแล้ ว แม้ แต่กลบุตรที่เข้ ามาบวชเป็ นภิกษุแล้ วพระองค์ก็ไม่ห้ามให้ เลี ้ยงดูมารดา ุ ๕ ขุ.ขุ. (ไทย) ๒๕/๑-๑๓/๖-๘. ๖ พระสริมงคลาจารย์, มังคลัตถทีปนีแปล, มงฺคล. (ไทย) ๒/๓๒๔/๙๙-๑๐๐. ิ ั
  • 4. ๔ บิดา อาหารบิณฑบาตที่ได้ มาจากการบิณฑบาตยังอนุญาตให้ ภิกษุ ให้ แก่มารดาบิดาก่อนได้ ไม่ ปรั บ อาบัติ และไม่เป็ นการทําให้ ศรั ทธาไทยตกไป ๗ มี ตัวอย่า งในสมัยพุทธกาล มี ภิกษุ รูปหนึ่ง 6 บิณฑบาตเลี ้ยงมารดา จนพวกภิกษุติเตียนแล้ วนําเรื่ องไปกราบทูลพระผู้มีพระภาค พระองค์รับสัง ่ ให้ ประชุมสงฆ์ แล้ ว ตรัสเรี ยกภิกษุ รูปนันมาสอบถาม เมื่ อทราบเนื ้อความแล้ วพระองค์ ทรงเปล่ง ้ สาธุการกับภิกษุนนว่า ดีละ ภิกษุ เธอทําดีแล้ ว แม้ เราก็เคยทําอย่างนี ้มาแล้ ว ๘ ั้ 7 การเลี ้ยงดูบิดามารดาเป็ นการใช้ หนี ้เก่า คือหนี ้ที่ท่านเคยเลี ้ยงดูเรามาก่อน ผู้เป็ นบุตร ธิดาถือเป็ นลูกหนี ้ของบิดามารดา เพราะฉะนัน ผู้เป็ นลูกหนี ้ต้ องใช้ หนี ้คืนเจ้ าหนี ้เมื่อถึงคราวต้ องใช้ ้ คืน ในเรื่ องนี ้พระพุทธองค์เคยทําเมื่อตอนเสวยพระชาติเป็ นพญานกแขกเต้ า มีเรื่ องย่อว่า พญานก แขกเต้ าตัวเป็ นหน้ า ไปกินข้ าวสาลีในนาของโกสิยพราหมณ์ กินแล้ วก็คาบกลับไปทุกวัน อยู่มาวัน หนึงคนเฝานาของพราหมณ์ทนไม่ไหวเพราะไม่สามารถจะไล่นกให้ หนีไปไม่กลับมากินข้ าวสาลีอีก ่ ้ ได้ จึงนําความไปบอกแก่โกสิยพราหมณ์วา พวกนกแขกเต้ ามากินข้ าวที่นาทุกวัน จนข้ าวในนาใกล้ ่ จะหมดแล้ ว นกส่วนมากกินแล้ วก็บินกลับไปเฉยๆ แต่มีนกอยูตวหนึงรูปร่างสวยงามกินแล้ วยังคาบ ่ ั ่ กลับ ไปทุกวัน พราหมณ์ จึง สังให้ ค นเฝ านาเอาตาข่ายไปดัก จับ นกแขกเต้ าตัวนัน พอจับมาได้ ่ ้ ้ พราหมณ์ ก็ถามนกแขกเต้ าว่า เรากับท่านเคยเป็ นคู่เวรของกันและกันมาก่อนหรื อ เราไปทําอะไร ให้ แก่ท่านหรื อ ทําไมท่านจึงทํากับเราแบบนี ้คือมากินข้ าวที่นาแล้ วยังคาบกลับไปอีก นกแขกเต้ า ตอบว่า ที่คาบกลับไปนันไม่ได้ เอาไปเก็บสังสมไว้ แต่เอากลับไปใช้ หนี ้เก่า ให้ ก้ ูหนี ้ใหม่ และฝั งไว้ ้ ่ เพื่อเป็ นทรัพย์ตอไปในภายหน้ า พราหมณ์ ได้ ฟังนกแขกเต้ าพูดอย่างนั ้นจึงถามเอาข้ อเท็จจริ ง นก ่ แขกเต้ าจึงเล่าให้ ฟังว่า ที่ว่า ใช้ หนี ้เก่า คือ เอาไปเลี ้ยงบิดามารดา ในฐานะที่ท่านเลี ้ยงเรามาเรา ต้ องเลี ้ยงท่านตอบแทน เป็ นการใช้ หนี ้เก่า ที่วาให้ ก้ หนี ้ใหม่ หมายถึงเอาไปเลี ้ยงลูกๆ ที่ยงตัวเล็กอยู่ ่ ู ั ไม่สามารถหาเลี ้ยงตัวเองได้ พวกลูกๆ ที่เราเลี ้ยงเขาในตอนนี ้ในอนาคตเขาจะเลี ้ยงเราตอบแทน เหมือนกับที่เราเลี ้ยงบิดามารดาทุกวันนี ้ ที่ว่า เอาไปฝั งไว้ เป็ นขุมทรัพย์ หมายถึง เอาไปให้ แก่นก แขกเต้ าตัวอื่นๆ ที่ทุพพลภาพไม่สามารถหากินเองได้ โกสิยพราหมณ์ ได้ ฟังแล้ วเกิดความเลื่อมใส ในนกแขกเต้ าจึงมอบที่นาให้ นกแขกเต้ าพร้ อมด้ วยบริ วารให้ มากินได้ ตามสบาย และจะดูแลความ ปลอดภัยให้ นกทุกตัว ไม่ต้องกลัวจะถูกจับ ๙ 8 ๗ คําวา ทําให้ศรัทธาไทย ตกไป หมายถึง ทําให้คนที่ทําบุญใส่บาตรมาด้วยความเลื่อมใสเมื่อรู้ว่า ่ ภิกษุเอาอาหารบิณฑบาตไปให้ ญาติโยม ก็จะหมดศรัทธา ต่อไปก็จะไม่ใส่บาตรแก่ภิกษุรูปนันอีก แต่ถ้ารู้ว่า ภิกษุ ้ รูปนั ้นนําเอาไปให้ โยมมารดา ก็ไม่เสียใจหรื อหมดศรัทธากลับยินดีกบภิกษุนนเสียอีก ั ั้ ๘ พระสริมงคลาจารย์, มังคลัตถทีปนีแปล, มงฺคล. (ไทย) ๒/๓๐๙-๓๑๐/๘๙-๙๑. ิ ั ๙ ขุ.ชา. (ไทย) ๒๗/๑-๑๗/๔๒๓-๔๒๖.
  • 5. จากตัว อย่างนีจ ะเห็น ว่า บิ ดามารดามี ความสําคัญต่อ บุ ตรธิ ด าอย่า งยิ่ ง การเลี ้ยง ้ มารดาบิดาเป็ นการใช้ หนี ้เก่า ที่ท่านเคยเลี ้ยงเรามา ลูกที่ดีต้องเลี ้ยงท่านตอบแทนเมื่อถึงคราวที่ เหมาะสม หรื อเมื่อตัวเองสามารถเลี ้ยงตัวเองได้ แล้ ว ผู้ที่มีความกตัญ�ู ในทางพระพุทธศาสนาถือ ว่าเป็ นบุคคลหาได้ ยาก ซึงบุคคลที่หาได้ ยากในพระพุทธศาสนามี ๒ จําพวก คือ บุพการี บุคคล คือ ่ บุคคลที่มีอุปการคุณในกาลก่อน และ กตัญ�ูกตเวที คือ บุคคลผู้ร้ ูจกบุญคุณที่คนอื่นกระทําแก่ตน ั แล้ ว ทําตอบแทนท่าน ๑๐ 9 ผู้บริ หารผู้หวังความเจริ ญรุ่ งเรื อ งในชี วิตการงานต้ อ งเป็ นคนกตัญ�ูกตเวทีต่อ บิดา มารดา ซึงเรื่ องนี ้พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูหว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ผู้เป็ นพระประมุขของปวง ่ ่ ั ชนชาวไทยก็เคยทําเป็ นตัวอย่างมาแล้ ว ครังที่สมเด็จพระราชชนนียงมีพระชนม์อยูพระองค์จะเสด็จ ้ ั ่ ไปเสวยพระกะยาหารเย็นกับพระมารดาที่วงสระปทุม ๕ วันต่อสัปดาห์เพื่อให้ กําลังใจพระมารดา ั และอยูพดคุยเป็ นเพื่อนของพระมารดา ๑๑ ่ ู 10 ๓.๑.๒ ถ้ าไม่ เคารพบิดารมารดาจะมีผลอย่ างไร อาจจะมีคําถามว่า ถ้ าเกิดว่าลูกเลี ้ยงดูมารดาบิดาแล้ วเกิดมีการทะเลาะมีปากมีเสียง กันซึงเป็ นเรื่ องปกติทวไปของปุถชน ลูกจะเป็ นบาปหรื อไม่ หรื อว่า บุญคุณที่เลี ้ยงดูมารดาบิดาจะ ่ ั่ ุ ลดหรื อหมดไปหรื อไม่ คําถามนีคงตอบได้ ไม่ง่ายนักเพราะต้ อ งดูบริ บทอื่ นๆ ประกอบด้ วย คือ ดู ้ เจตนาประกอบด้ วย ก่อนอื่นต้ องบอกก่อนว่าเรื่ องที่ทะเลาะกันนั ้นเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับอะไร เกิดจาก สาเหตุอะไร เช่น บางกรณีเกิดจากการน้ อยอกน้ อยใจของผู้เป็ นบิดามารดาที่ลกๆ ไม่ค่อยเอาใจใส่ ู เนื่องจากมีภาระเพิ่มขึ ้นต้ องดูแลลูกๆ ส่งลูกเรี ยนต้ องทํางานหนักเพิ่มขึ ้น เพื่อจะมีรายได้ มาจุนเจือ ครอบครัว เลยทําให้ เหินห่างบิดามารดาไปบ้ าง ทําให้ เกิดความเข้ าใจผิดบิดามารดาคิดว่า ลูกไม่ เอาใจใส่เหมือนเดิม ถ้ าเป็ นลักษณะอย่างนี ้ถือว่าเป็ นการเข้ าใจผิดกัน ก็ควรที่จะปรับความเข้ าใจ กันระหว่างบิดามารดากับบุตรธิดา ถ้ าเป็ นกรณีที่เป็ นการจงใจจะทําด้ วยความไม่ชอบกันเป็ นการส่วนตัว เช่น บิดามารดา ก็ควรจะให้ อภัยแก่บุตรธิ ดา บางอย่างบุตรธิ ดาอาจจะทําไปด้ วยความรู้ เท่าไม่ถึงการณ์ หรื อทําไป ด้ วยความพลังเผลอ แต่ถ้าบุตรธิ ดาทําต่อบิดามารดาด้ วยเจตนา ย่อมเป็ นกรรมหนักแน่นอน เช่น ้ กรณีของกุลบุตรคนหนึ่งเชื่อคํายุยงของภรรยาหลอกมารดาบิดาตาบอดไปฆ่าในป่ า โดยเอาท่อน ไม้ ทบตีจนบิดามารดาเสียชีวิต ตนเองเมื่อตายจากโลกนี ้แล้ วไปเกิดในนรกอเวจีเสวยวิบากกรรมอยู่ ุ ๑๐ องฺ.ทุก. (ไทย) ๒๐/๑๒๐/๑๑๔. ๑๑ พ.อ.(พิเศษ) ทองคํา ศรี โ ยธิน , หยุ ดความชั่ วที่ไ ล่ ล่ า ตั วคุ ณ , [ออนไลน์ ] แหล่ง ที่ มา : http://www.thaimonarchy.com (๔ กันยายน ๒๕๕๕).
  • 6. ๖ เป็ นกัป ในชาตินี ้ถึงแม้ จะได้ บรรลุเป็ นพระอรหันต์แล้ วยังถูกพวกโจรเอาฆ้ อนทุบตีจนกระดูกแหลก ละเอียดจนนิพพาน กุลบุตรในชาตินั ้นคือ พระโมคคัลลานะในชาตินี ้๑๒ ถ้ าเป็ นอย่างนี ้ผู้เป็ นบุตร 11 ธิ ดาเป็ นกรรมหนัก ถ้ าบิดามารดาเสียชีวิตจากนํ ้ามือของลูก จัดเป็ นอนันตริ ยกรรมห้ ามสวรรค์ ห้ ามนิ พพาน ตายไปก็ ตกนรกอเวจี ซึ่งเป็ นนรกที่มี การทรมานโหดร้ ายที่สุด ถ้ า เป็ นกรณี ที่บิด า มารดาเป็ นคนชอบบ่นจู้จี ้ ไม่มีเหตุผลจนทําให้ บุตรธิ ดาทนไม่ไหว ต้ อ งโต้ เถียงกลับบ้ าง ลักษณะ อย่างนี ้ผู้เป็ นบุตรธิ ดาก็เป็ นกรรมเล็กน้ อย ซึ่งสามารถทําพิธีขอขมาโทษ ในโอกาสสําคัญเช่น วัน คล้ ายวันเกิด เป็ นต้ น เพื่อให้ ทานอดโทษให้ โทษที่ลวงเกินนันก็จะกลายเป็ นอโหสิกรรม คือไม่เป็ น ่ ่ ้ กรรมต่อไป ถ้ ามีคําถามว่า ในกรณีที่บุตรธิดาคิดว่า ถ้ าอยูเ่ ลี ้ยงดูบิดามารดาผู้อาศัยอยู่ในบ้ านหลัง เดียวกัน เกรงว่าจะเกิดการทะเลาะมี ปากมี เสียงกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เกรงว่าจะเป็ นบาปเป็ น กรรมแก่ตัว เอง จึงย้ ายออกมาอยู่ต ามลํา พัง กับครอบครั ว แต่ยังเลี ้ยงดูบิ ดามารดาเหมื อ นเดิ ม ลักษณะอย่างนี ้จะถือว่าเป็ นการทอดทิ ้งบิดามารดาหรื อไม่ ตอบว่าถ้ าเป็ นการยินยอมกันทั ้งสอง ฝ่ ายก็ไม่ถือ ว่าทอดทิ ้งบิดามารดา ซึ่งกรณีนี ้คล้ ายกับกรณีของในหลวงปฏิบติต่อพระชนนีดงยก ั ั เป็ นตัวอย่างนัน ้ กรณีที่บุตรธิ ดาเคยเลี ้ยงดูบิดามารดาเป็ นอย่างดีในอดีต แต่ต่อ มากลับประพฤติต่อ ท่านด้ วยความไม่เคารพยําเกรง ความดีที่บุตรธิ ดาเหล่านันเคยทําไว้ ย่อมหมดไป เขาย่อ มได้ รับ ้ ความทุกข์ ความยากแค้ นในอนาคตดังพระพุทธพจน์ในเรื่ องอังกุรเปตวัตถุวา ่ บุคคลใดทําความดีไว้ ในกาลก่อน ภายหลังกลับเบียดเบียนบุพการี ชนด้ วยความชัว ่ บุคคลนันชื่อว่าเป็ นคนอกตัญ�ู ย่อมไม่พบเห็นความเจริ ญ ๑๓ ้ 12 อาจจะมีคําถามต่อไปอีกว่า ถ้ าเกิดว่าบิดามารดา แยกทางกันตังแต่เด็กไม่ค่อยได้ รับ ้ การเลี ้ยงดูจากท่านทังสองเลย ส่วนมากได้ รับการเลี ้ยงดูจากยายหรื อญาติพี่น้องคนอื่น เมื่อเติบโต ้ ขึ ้น บิดามารดากลับมาขออาศัยอยู่ด้วย ถ้ าเราปฏิเสธไม่รับเลี ้ยงโดยให้ เหตุผลว่า ท่านไม่ได้ เลี ้ยง เรามาก่อน ลักษณะอย่างนี ้จะทําอย่างไร ตอบว่า ต้ องดูบริ บทอื่นประกอบด้ วยว่า สาเหตุที่ท่าน ไม่ได้ เลี ้ยงเราตอนเป็ นเด็กเพราะแยกทางกันต่างคนต่างก็ไปมีครอบครัวใหม่ต้องไปดูแลครอบครัว ใหม่ หรื อมีข้อจํากัดอย่างอื่นเช่นว่า ฐานะการเงินไม่ดี ต้ องปล่อยให้ ลกอยู่กับคนอื่น แต่ยงมีใจเป็ น ู ั ๑๒ ดรายละเอียดใน ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๕/๗/๓๗-๔๑. ู ๑๓ ขุ.เปต. (ไทย) ๒๖/๒๖๕/๒๑๐.
  • 7. ๗ ห่วงลูกอยู่เพียงแต่ไม่ค่อยได้ แวะมาดูแลเยี่ยมเยียน แวะมาบ้ างเป็ นบางครั งบางคราว ลักษณะ ้ อย่างนี ้บุตรธิดาต้ องเลี ้ยงดูทานตามความเหมาะสม จะทอดทิ ้งไม่ได้ ่ ในข้ อ นี มี เนื อ ความในอรรถกถาพระวิ นัย สิก ขาบทที่ ๓ แห่งปาราชิ ก เป็ นตัวอย่า ง ้ ้ เปรี ยบเทียบได้ เนื ้อความย่อในอรรถกถาว่า ภิกษุไม่ร้ ูวาเป็ นบิดาหรื อมารดาของตัวเองได้ ฆ่าบิดา ่ หรื อมารดาเสียชีวิตพระองค์ปรับเป็ นปาราชิกด้ วย เป็ นอนันตริ ยกรรมด้ วย ๑๔ ถ้ าเอากรณีนี ้มาเป็ น 13 เกณฑ์วินิจฉัยจะเห็นว่าพระพุทธองค์ให้ ความสําคัญกับบิดามารดาผู้ให้ กําเนิดมาก เนื ้อความใน พระสูตรหลายสูตรที่กล่าวถึงการปฏิบติตอบิดามารดา เช่น ในปราภวสูตร ตอนหนึงว่า บุตรธิดาคน ั ่ ่ ใดอยู่ในวัยหนุ่ม มี ค วามสามารถเลี ้ยงดูบิดามารดาได้ แต่ไม่เลี ้ยงดูท่านตอนที่ท่านแก่ ชรา การ กระทําของบุตรธิดาคนนันเป็ นทางแห่งความเสือม ๑๕ ้ ่ 14 ๓.๑.๓ ถ้ าเคารพบิดามารดาจะมีผลอย่ างไร ตอบคําถามข้ อ ว่า ถ้ าเคารพหรื อเลี ้ยงดูบิดามารดาอย่างดีจะมีผลอย่างไร ตามหลัก พระพุทธศาสนาสอนว่า การอุปัฏฐากหรื อ การเลี ้ยงดูบิดามารดาเป็ นมงคลสูงสุด ดังที่ปรากฏใน มงคลสูตรนัน ถามว่า เพราะเหตุไรจึงเป็ นมงคลสูงสุดแก่บุตรธิ ดา ตอบว่า เพราะบิดามารดามี ้ พระคุณยิ่งใหญ่แก่บุตรธิ ดา ไม่มีสิ่งใดเปรี ยบเทียบบุญคุณของบิดามารดาได้ สุภาษิ ตโบราณว่า เอาแผ่นฟาเป็ นกระดาษเอานํ ้าในมหาสมุทรเป็ นนํ ้าหมึกปากก็เขียนพรรณนาคุณของบิดามารดา ้ จนนํ ้าหมึกหมดก็ยงพรรณนาคุณของบิดามารดาไม่หมด เพราะเหตุไรจึงมีคุณมากขนาดนั ้น เมื่อ ั ย้ อน คิดดูตงแต่แรกเกิดในครรภ์มารดา ถ้ าบิดามารดาไม่มีความรั กความเมตตาต่อลูกที่เกิ ดใน ั้ ครรภ์ของตน หาวิธีขบออกเสีย วิญญาณที่ปฏิสนธิ ในครรภ์ก็ไม่มีโอกาสเจริ ญเติบโตจนถึงกําหนด ั คลอด ในขณะที่มารดาตังครรภ์เป็ นเวลา ๙ เดือน บิดาต้ องทํางานหนักเพื่อหาเลี ้ยงครอบครัว เพื่อ ้ ชดเชยช่วงที่มารดาตังครรภ์แก่ทํางานหนักไม่ได้ ในขณะเดียวกันมารดาก็คอยประคับประครองลูก ้ น้ อยที่อยูในครรภ์ไม่ให้ เกิดอันตรายคอยระวังแม้ กระทังอาหาร ไม่กินตามใจชอบเพราะเป็ นห่วงว่า ่ ่ จะทําอันตรายแก่ลกในครรภ์ เมื่อถึงคราวคลอดออกมาแม่ผ้ คลอดได้ รับความเจ็บปวดแทบเอาชีวิต ู ู เข้ าเดิมพัน หลังจากคลอดแล้ วบิดามารดาก็เฝาเลี ้ยงดูทะนุถนอมอย่างดี ตังแต่เป็ นทารกนอนแบ ้ ้ เบาะจนเจริ ญเติบโตเป็ นผู้หนุมสาวเป็ นผู้ใหญ่ตามลําดับ ่ จากตัวอย่างที่บรรยายมานี ้จะเห็นว่าบิดามารดามีบุญคุณต่อบุตรธิดาหาที่เปรี ยบไม่ได้ นี่จึงเป็ นเหตุผลที่ว่า การตอบแทนบุญคุณต่อ ผู้มีพระคุณมี ผลตอบแทนสูงแก่ผ้ กระทํา อนึ่งบิดา ู มารดาเปรี ยบเสมือ นพระอรหันต์ของลูก การได้ ทําบุญกับพระอรหันต์นนมีผลยิ่งใหญ่เพียงไร มี ั้ ๑๔ ดูรายละเอียดใน วิ.อ. (ไทย) ๑/๓๗๒. ๑๕ ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๙๘/๕๒๕.
  • 8. ๘ หลักฐานปรากฏในทักขิณาวิภงคสูตร มัชฌิมนิกาย อุปริ ปัณณาสก์ ตอนว่าด้ วยการจําแนกทาน ั พระพุทธองค์ตรัสอานิสงส์ของการให้ ทานตั ้งแต่ให้ แก่สตว์เดรัจฉานไปจนถึงถวายแก่พระอรหันต์ ั พระปั จเจกพุทธเจ้ า พระพุทธเจ้ า และสุดท้ ายถวายแก่สงฆ์ ว่า ผู้ถวายจะได้ อานิสงส์เพิ่มขึ ้นตาม คุณธรรมของผู้รับทานหรื อปฏิคาหก คือ ถวายทานให้ แก่พระอนาคามีร้อยครังอานิสงส์ก็ไม่เท่ากับ ้ ถวายแก่พระอรหันต์หนึ่งครัง ถวายแก่พระอรหันต์ร้อยครังอานิสงส์ไม่เท่ากับถวายแก่พระปั จเจก ้ ้ พุทธเจ้ าหนึงครัง ถวายแก่พระปั จเจกพุทธเจ้ าร้ อยครังก็ไม่เท่าถวายแด่พระพุทธเจ้ าหนึ่งครัง ถวาย ่ ้ ้ ้ แด่พระพุทธเจ้ าร้ อยครังก็ไม่เท่าถวายแก่สงฆ์หนึงครัง ๑๖ ้ ่ ้ 15 จากตัวอย่างนี ้จะเห็นว่า การถวายทานแก่พระอรหันต์ครังเดียวมีผลมากกว่าการถวาย ้ แก่พระอนาคามีร้อยครัง ซึ่งพระอนาคามีนนก็ถือว่าเป็ นผู้มีคุณธรรมสูงอยู่แล้ วเป็ นบุคคลที่หาได้ ้ ั้ ยากเช่นเดียวกัน แต่เมื่อเปรี ยบบิดามารดาเหมือนพระอรหันต์ของบุตรธิ ดา การที่บุตรธิ ดาได้ ดูแล เลี ้ยงดูบิดามารดาจนตลอดอายุไขของท่านซึ่งนับครั งไม่ได้ นนจะมี ผลานิสงส์มากเพียงไร จาก ้ ั้ หลักฐานตรงนี ้จึงสมกับพระพุทธพจน์ว่า “การบํารุ งบิดามารดาเป็ นมงคลสูงสุด” บิดามารดาเป็ น บุพการรี ของบุตรธิดา เป็ นบุคคลที่หาได้ ยาก การได้ บํารุ งบุคคลที่หาได้ ยากย่อมจะมีอานิสงส์มาก เช่ น เดี ย วกัน จึ ง ไม่ มี ข้ อ สงสัย ว่า การเลี ้ยงดูม ารดบิ ด าจะทํ า ให้ ก ารดํ า เนิ น ชี วิ ต ของบุ ต รธิ ด า เจริ ญรุ่งเรื องอย่างแน่นอน ๑๖ ดูรายละเอียดใน ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๓๗๖/๔๒๔-๔๓๒.
  • 9. บรรณานุกรม ๑. ภาษาบาลี – ไทย : ก. ข้ อมูลปฐมภูมิ มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย . พระไตรปิ ฎกภาษาบาลี ฉบั บ มหาจุ ฬ าเตปิ ฏกํ . กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๐๐. __________. พระไตรปิ ฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙. __________. อรรถกถาบาลี ฉบับมหาจุฬาอฏฺฐกถา. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์วิญญาณ, ๒๔๙๙,๒๕๓๓-๒๕๓๔. มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระไตรปิ ฎกพร้ อมอรรถกถาแปล. ชุด ๙๑ เล่ ม. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔. ข. ข้ อมูลทุติยภูมิ (๑) หนังสือ พระธรรมปิ ฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครังที่ ๑๒. ้ กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ . พิมพ์ครังที่ ้ ๑๖. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ บริ ษัท สหธรรมิก จํากัด, ๒๕๕๔. พระสิ ริ มัง คลาจารย์ . มั ง คลั ต ถที ป นี แ ปล. แปลโดย สภาวิ ช าการมหามกุฏ ราชวิ ท ยาลัย . กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๔๘๑. (๒) สื่ออิเล็กทรอนิกส์ พ.อ.(พิ เ ศษ) ทองคํ า ศรี โ ยธิ น , หยุ ด ความชั่ วที่ ไ ล่ ล่ า ตั ว คุ ณ , [ออนไลน์ ] แหล่ง ที่ ม า : http://www.thaimonarchy.com (๔ กันยายน ๒๕๕๕).