SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 13
Descargar para leer sin conexión
6




                                                  บทที่ 2
                                    เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                                            ่
                 ในการวิจยครั้งนี้เป็ นการวิจยที่ตองการศึกษากรณี ตวอย่างเพื่อพัฒนาความ
                         ั                   ั ้                  ั
รับผิดชอบของนักเรี ยน ผูวจยได้ทาการศึกษาค้นคว้าเอกสาร และงานวิจยที่เกี่ยวข้องและนาเสนอ
                        ้ิั                                    ั
ประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
                 1. หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
                 2. พฤติกรรมความรับผิดชอบ
                 3. องค์ประกอบความรับผิดชอบ
                 4. ความสาคัญของความรับผิดชอบ
                 5. ประเภทของความรับผิดชอบ
                 6. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบ
                 7. การวัดพฤติกรรมความรับผิดชอบ
                 8. การจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้กรณี ตวอย่าง
                                                   ั
                 9. งานวิจยที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบ
                          ั
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551
                              ้
คุณภาพของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพืนฐาน
                                    ้
วิสัยทัศน์ ของหลักสู ตร
        หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนทุกคนซึ่ งเป็ นกาลังขอชาติให้เป็ น
มนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่ างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและเป็ น
พลโลก ยึดมันในการปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข มี
           ่                                                  ์
ความรู ้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จาเป็ นต่ อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษา
ตลอดชีวต โดยมุ่งเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรี ยนรู ้และพัฒนา
       ิ
ตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
7




จุดหมายของหลักสู ตร
       1. มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวนยและปฏิบติ
                                                                            ิ ั      ั
ตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
           2. มีความรู้อนเป็ นสากลและมีความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้
                        ั
เทคโนโลยีและมีทกษะชีวต
               ั     ิ
            3. มีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกาลังกาย
            4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมันในวิถีชีวตและ
                                                                          ่         ิ
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข
                                              ์
                 5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
                                            ั
สิ่ งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุงทาประโยชน์และสร้างสิ่ งที่ดีงามในสังคม และอยูร่วมกันในสังคม
                              ่                                             ่
อย่างมีความสุ ข
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
          1. ความสามารถในการสื่ อสาร
          2. ความสามารถในการคิด
          3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
          4. ความสามารถในการใช้ทกษะชีวต
                                ั     ิ
          5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียน
          1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์                  ่
                                                 5. อยูอย่างพอเพียง
          2. ซื่อสัตย์สุจริ ต                    6. มุ่งมันในการทางาน
                                                          ่
          3. มีวนย
                ิ ั                              7. รักความเป็ นไทย
          4. ใฝ่ เรี ยนรู้                       8. มีจิตสาธารณะ
8




มาตรฐานการเรียนรู้
         กาหนดให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ 8 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ดังนี้
         1. ภาษาไทย
         2. คณิ ตศาสตร์
         3. วิทยาศาสตร์
         4. สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
         5. สุ ขศึกษาและพลศึกษา
         6. ศิลปะ
         7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี
         8. ภาษาต่างประเทศ
         ในแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ได้กาหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้ เป็ นเป้ าหมายสาคัญของการ
พัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยน มาตรฐานการเรี ยนรู ้ ระบุสิ่งที่ผเู ้ รี ยนพึงรู ้และปฏิบติได้ มีคุณธรรม จริ ยธรรม
                                                                               ั
และค่านิยมที่พ่ ึงประสงค์ ที่ตองการให้เกิดแก่ผเู ้ รี ยนเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมาตรฐานการ
                              ้
เรี ยนรู้ยงสะท้อนให้ทราบว่า ต้องการอะไร ต้องสอนอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร
          ั
รวมทั้งเป็ นเครื่ องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
         กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน มุ่งให้ผเู ้ รี ยนได้พฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อ
                                                      ั
ความเป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่ างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริ มสร้างให้เป็ นผูมีศีลธรรม
                                                                                     ้
จริ ยธรรม มีระเบียบวินย ปลูกฝังและสร้างจิตสานึกของการทาประโยชน์เพื่อสังคมสามารถจัดการ
                      ั
ตนเองได้ และอยูร่วมกับผูอื่นอย่างมีความสุ ข กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน แบ่งเป็ น 3 ลักษณะดังนี้
               ่        ้
                  1. กิจกรรมแนะแนว
                  2. กิจกรรมนักเรี ยน
                  3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
9




        กิจกรรมแนะแนว เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มและพัฒนาผูเ้ รี ยนให้รู้จกตนเอง รู ้รักษ์
                                                                       ั
สิ่ งแวดล้อม สามารถคิดตัดสอนใจ คิดแก้ปัญหา กาหนดเป้ าหมาย วางแผนชีวตทั้งด้านการเรี ยน
                                                                   ิ
และอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยงช่วยให้ครู รู้จกและเข้าใจผูเ้ รี ยนทั้งยังเป็ น
                                               ั               ั
กิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คาปรึ กษาแก่ผปกครองในการมีส่วนร่ วมพัฒนาผูเ้ รี ยน
                                      ู้
(กระทรวงศึกษาธิการ,2551:11,28)
พฤติกรรมความรับผิดชอบ
         1. ความหมายพฤติกรรมความรับผิดชอบ
        จากการศึกษาความหมายของความรับผิดชอบซึ่งมีนก การศึกษาและนักจิตวิทยาได้ให้
                                                  ั
คานิยามความหมายของความรับผิดชอบไว้ดงนี้
                                   ั
        เฉลิม คาแก้ว (2530) ให้ความหมายของความรับผิดชอบ หมายถึง ความสนใจความตั้งใจ
ที่จะปฏิบติหน้าที่ดวยความเพียรพยายาม และละเอียดรอบคอบ ให้บรรลุเป้ าหมายรักษาสิ ทธิและ
         ั         ้
หน้าที่ของตน ยอมรับผลการกระทาของตน ทั้งในด้านที่เป็ นผลดี และผลเสี ยพยายามปรับปรุ งการ
ปฏิบติหน้าที่ให้ดียงขึ้น
    ั              ิ่
        อุรุดา สุ ดมี (2533) ให้ความหมายของความรับผิดชอบ หมายถึง พฤติกรรมของบุคคล
เกี่ยวกับการทางาน การศึกษาเล่าเรี ยน การใช้จาย การปฏิบติตนต่อตนเองและผูอื่นซึ่ งแสดงออกใน
                                            ่         ั                ้
ลักษณะการปฏิบติดวยความละเอียดรอบคอบ มีความตั้งใจเอาใจใส่ และขยันหมันเพียร ปฏิบติตาม
             ั ้                                                   ่          ั
กฎเกณฑ์ของบังคับ มีวนยในตนเอง มีความซื่ อสัตย์และตรงต่อเวลา ยอมรับในสิ่ งที่ตนกระทาทั้งที่
        ้           ิ ั
                                                   ่
เป็ นผลดีและผลเสี ย ช่วยเหลือตนเองและผูอื่นได้ ใช้จายในสิ่ งที่จาเป็ นเหมาะสม
                                       ้
        พีรพล ยศธสาร (2534) ให้ความหมายของความรับผิดชอบ เป็ นการรู้ ถึงภารกิจหน้าที่โดย
ไม่ตองมีคาสั่งจากผูอื่นมาบังคับ ยอมรับผลการกระทาของตนเอง การมีความรับผิดชอบจะ
    ้              ้
ก่อให้เกิดความระมัดระวัง ไม่ประมาท ไม่ละทิงหน้าที่ คานึงถึงผลเสี ยหายที่จะเกิดขึ้นจากคาพูด
                                          ้
หรื อการกระทาของตน
10




        จงจิตร ศิริทรัพย์จนันท์ (2538) ให้ความหมายของความรับผิดชอบ หมายถึง การ
แสดงออกของบุคคลที่ปฏิบติตามกฎระเบียบด้วยความพากเพียร ละเอียดรอบคอบ โดยไม่ตองมีการ
                      ั                                                   ้
ควบคุมจากผูอื่น ยอมรับผลการกระทาของตนเอง พยายามปรับปรุ งงานให้ดียงขึ้น เพื่อประสบ
           ้                                                     ิ่
ความสาเร็ จตามความมุ่งหมาย
        จุจีรัตน์ ขันทัยทวีกล (2543) ให้ความหมายความรับผิดชอบ หมายถึง การที่นกเรี ยนมี
                            ู                                                ั
ความมุ่งมัน ตั้งใจปฏิบติตนตามกฎระเบียบของโรงเรี ยนและการยอมรับของผลการปฏิบติตนตาม
          ่           ั                                                   ั
กฎระเบียบของโรงเรี ยน การปฏิบ ัติตนในการเรี ยนและการยอมรับผลการกระทาของตนตน
        Cattell (1936 อ้างถึงใน อภิสิทธิ์ วงษา, 2517) ได้กล่าวถึงลักษณะของบุคคลที่มี
ความสามารถในการรับผิดชอบว่าเป็ นบุคคลที่รับผิดชอบในหน้าที่ มีความขยันหมันเพียรถือศักดิ์ศรี
                                                                        ่
ยึดมันในกฎหมาย ส่ วนผูทีมีความรับผิดชอบน้อยคือบุคคลที่ถือความสะดวกเป็ นเกณฑ์ และหมัก
     ่                ้
หลีกเลี่ยงข้องบังคับ
                                                       ่
        Flippo (1966) สรุ ปความหมายของความรับผิดชอบไว้วา เป็ นความผูกพันในการปฏิบติ
                                                                                 ั
หน้าที่ให้สาเร็ จลุล่วงไปด้วยดี โดยมีปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 3 ประการ คือ พันธะผูกพัน หน้าที การงาน
และวัตถุประสงค์
องค์ ประกอบของความรับผิดชอบ
        เพ็ชริ นทร์ ปฐมวนิชกะ (2535) ได้รวบรวมสรุ ปองค์ประกอบของความรับผิดชอบที่ได้จา
การวิจยของนักการศึกษา และนักจิตวิทยาไว้มี 4 ลักษณะ ดังนี้ 1) วิธีการจัดการศึกษา อบรมมี
      ั
อิทธิ พลอย่างมากต่อการแสดงพฤติกรรมรับผิดชอบ ซึ่ งลักษณะของการจัดการศึกษาอบรมที่มีผล
ต่อความรับผิดชอบอย่างสู งได้แก่ การให้ความเอาใจใส่ การเลี้ยงดูอย่างประชาธิ ปไตย การอบรมให้
มีวนยโดยการใช้เหตุผล ในทางตรงกันข้ามการฝึ กอบรมด้วยการให้รางวัลและการใช้อานาจมาก
   ิ ั
เกินไปจะส่ งผลให้ความรู ้สึกรับผิดชอบของเด็กต่า 2) ผลที่ได้รับจากการศึกษาอบรมเป็ นอีกลักษณะ
หนึ่งขององค์ประกอบที่อิทธิ พลต่อความรับผิดชอบของนักเรี ยน ลักษณะดังกล่าวประกอบด้วย
ลักษณะนิสัยในการเรี ยน การได้รับทุนการศึกษา เจตคติต่อวิชาชีพครู และความมีน้ าใจของครู
11




3) ลักษณะทางสังคมเศรษฐกิจซึ่ งประกอบด้วยเพศ อายุ สภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัว
สมรรถภาพในการปฏิบติหน้าที่การงาน และ 4) ลักษณะทางสังคมจิตวิทยา ซึ่งเป็ นองค์ประกอบที่
                 ั
สาคัญมากลักษณะต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านนี้ คือ ลาดับการเกิดความเชื่อมันในตนเอง ความมี
                                                                       ่
ระเบียบวินย ความซื่ อสัตย์ การปรับตัว ความคิดสร้างสรรค์ และความวิตกกังวล เป็ นต้น
          ั

ความสาคัญของความรับผิดชอบ

         ดวงเดือน พันธุมนาวิน (2539 ) ได้กล่าวถึงความรับผิดชอบมีความสาคัญในการแสดงถึง
ความเป็ นพลเมืองอย่างหนึ่ง นอกจากความมีวนยทางสังคม ความเอื้อเฟื้ อ และความเกรงใจ
                                             ิ ั
เนื่องจากความรับผิดชอบนั้นเป็ นลักษณะนิสัยและทัศนคติของบุคคลซึ่ งเป็ นเครื่ องมือผลักดันให้
บุคคลปฏิบติตามกฎระเบียบเคารพสิ ทธิของผูอื่นตามหน้าที่ของตนและมีความซื่อสัตย์ สุ จริ ต การ
            ั                              ้
เป็ นคนดีมีความรับผิดชอบจะช่วยในการอยูร่วมกันในสังคมเป็ นไปด้วยความราบรื่ น สงบสุ ข สิ่ ง
                                         ่
สาคัญมากคือความรับผิดชอบยังเป็ นคุณธรรมที่สาคัญในการพัฒนาประเทศอีกด้วย และถ้าบุคคล
ในสังคมมีความรับผิดชอบจะส่ งผล คือ 1) คนที่มีความรับผิดชอบย่อมทางานทุกอย่างสาเร็ จตาม
จุดมุ่งหมายทันเวลา 2) คนที่มีความรับผิดชอบ ย่อมเป็ นที่นบถือ ในการยกย่องสรรเสริ ญและเป็ น
                                                        ั
คุณประโยชน์ต่อตนเองและสังคม 3) ความรับผิดชอบเป็ นสิ่ งที่เกื้อหนุนให้บุคคลปฏิบติงานให้
                                                                                  ั
สอดคล้องกับกฎจริ ยธรรมและหลักเกณฑ์ของสังคมโดยไม่ตองมีการบังคับจากผูอื่น 4) ทาให้เกิด
                                                          ้                  ้
ความก้าวหน้า สงบสุ ขก้าวหน้าในสังคม และ 5) ไม่เป็ นต้นเหตุแห่งความเสื่ อมและความเสี ยหาย
ของส่ วนรวม

          หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมสามัญศึกษา (2528, อ้างถึงใน จงจิตร ศิริทรัพย์จนันท์, 2528) ได้
กล่าวถึงความสาคัญของการรู ้จกรับผิดชอบไว้ดงนี้ 1) ทาให้เป็ นคนมีความตั้งใจจริ ง รักหน้าที่การ
                                ั              ั
งานทั้งที่เป็ นของส่ วนตัวและส่ วนรวม 2) เป็ นการสร้างความมันใจให้แก่ตนเอง และ หมู่คณะและ
                                                            ่
ประเทศชาติ 3) เป็ นคุณสมบัติอนสาคัญของคนในชาติที่เจริ ญแล้ว 4) เป็ นคุณสมบัติที่จาเป็ น
                                   ั
สาหรับการดารงชีวตในสังคมระบบประชาธิปไตย 5) เป็ นการเสริ มสร้างคุณลักษณะของ ความเป็ น
                      ิ
ผูนาที่ดี และ 6) ทาให้สังคมและประเทศชาติมีความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย
  ้
12




ประเภทของความรับผิดชอบ

          จากการศึกษาประเภทของความรับผิดชอบได้มีนกศึกษาและนักจิตวิทยาได้ให้คานิยาม
                                                        ั
ความหมายของความรับผิดชอบ สรุ ปได้ดงต่อไปนี้
                                          ั
          1. ความรับผิดชอบต่อตนเอง หมายถึง การที่บุคคลมีความรู ้ความเข้าใจ สนใจและตั้งใจใน
การดูแลรักษาสุ ขภาพของตน มีความสามารถในการจัดหาเครื่ องอุปโภคบริ โภค รู้จกประมาณการ
                                                                              ั
ใช้จ่าย ประพฤติตนให้เหมาะสมมีคุณธรรม ไม่ประพฤติชว ตั้งใจศึกษาเล่าเรี ยน ปรับตัวเข้ากับคน
                                                          ั่
อื่นได้ดี และยอมรับผลการกระทาของตนเอง ประภัสสร ไชยชนะใหญ่ (2529) กล่าวถึง คุณลักษณะ
ความรับผิดชอบต่อตนเองว่า หมายถึง การรักษาป้ องกันตนเองให้ปลอดภัยจากอันตราย โรคภัยไข้
เจ็บ รักษาร่ างกายให้แข็งแรง บังคับ ควบคุมจิตใจไม่ให้ตกเป็ นธาตุของกิเลส ประพฤติตนอยูใน่
ศีลธรรม ละเว้นความชัว รู ้จกประมาณการใช้จ่ายตามสมควรแก่ฐานะ จัดหาเครื่ องอุปโภคบริ โภคที่
                        ่ ั
เหมาะสม และหมันศึกษาเล่าเรี ยน จนประสบผลสาเร็ จ นอกจากนั้น ดุษฎี ทรัพย์บารุ ง (2529) ให้
                   ่
ความหมายของความรับผิดชอบต่อหน้าที่การงาน หมายถึง พฤติกรรมของบุคคลที่แสดงออกมาด้วย
การปฏิบติหน้าที่การงานของตนในด้านต่างๆ ดังนี้ 1) ความเอาใจใส่ ในการทางาน หมายถึง
           ั
ลักษณะพฤติกรรมที่แสดงถึงการปฏิบติงานด้วยความตั้งใจจริ งที่จะทางานในหน้าที่ของตนหรื องาน
                                      ั
ที่ตนได้รับมอบหมายให้เสร็ จเรี ยบร้อยไม่ละเลยทอดทิ้งหรื อหลีกเลี่ยงและหาทางป้ องกันไม่ให้เกิด
ความบกพร่ องเสื่ อมเสี ยในงานที่ตนรับผิดชอบ 2) ความเพียรพยายาม หมายถึง ลักษณะหรื อ
                                            ่
พฤติกรรมที่แสดงออกถึงความอดทน ไม่ยอท้อต่อการทางาน เมื่อเกิดปั ญหาหรื ออุปสรรคในการ
ทางานซึ่ งเป็ นหน้าที่ของตนที่จะต้องรับผิดชอบนั้นจะต้องพยายามแก้ไขปั ญหาและอุปสรรคนั้น
ด้วยตนเองอย่างสุ ดความสามรถ 3) ความละเอียดรอบคอบ หมายถึง ลักษณะหรื อพฤติกรรมที่
แสดงออกถึงการรู ้จกคิดใคร่ ครวญในงาน ทาเพื่อให้ถูกต้องและรู ้จกคิดก่อนว่างานนั้นมีผลดี ผลเสี ย
                     ั                                         ั
อย่างไร และเมื่อทางานเสร็ จแล้วต้องตรวจสอบความถูกต้องให้เรี ยบร้อย 4) การตรงต่อเวลา
หมายถึง ลักษณะหรื อพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการทางานให้เสร็ จทันเวลาที่กาหนด รู ้จกว่าเวลา
                                                                                  ั
ไหนควรจะทาอะไร 5) การยอมรับผลการกระทาของตนเอง หมายถึง ลักษณะหรื อพฤติกรรมที่
แสดงออกถึงการยอมรับในสิ่ งที่ตนเองกระทาลงไปไม่วาผลของงานนั้นจะออกมาดีหรื อไม่ดีก็ตาม
                                                      ่
6) การปรับปรุ งงานของตนให้ดียงขึ้น หมายถึง ลักษณะหรื อพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการติดตาม
                                 ิ่
ผลงานที่ได้ทาไปแล้ว ถ้าไม่ดีตองพยายามแก้ไขปรับปรุ งให้ดีข้ ึน
                               ้
13




                                                                                  ่
                    จากความหมายของความรับผิดชอบต่อตนเองดังกล่าว สรุ ปได้วา ความรับผิดชอบ
ต่อตนเอง หมายถึง พฤติกรรมการรู ้จกระมัดระวังรักษาสุ ขภาพอนามัยของตนเองให้สมบูรณ์
                                      ั
ปลอดภัยจากอันตรายอยูเ่ สทอ รู ้จกประพฤติปฏิบติให้เหมาะสม ละเว้นความชัว รู ้จกประมาณใน
                                  ั              ั                            ่ ั
การใช้จ่ายและมีความประหยัด สามารถจัดหารเครื่ องอุปโภคบริ โภคสาหรับตนเองได้อย่าง
เหมาะสมถูกกาลเทศะในแต่ละวัย สานึกในบทบาทและหน้าที่ของตน หมันใฝ่ หาความรู ้และฝึ กฝน
                                                                          ่
ตนเองให้มีประสบการณ์ในด้านต่างๆ จนประสบความสาเร็ จในการดารงชีวต ยอมรับผลการ ิ
กระทาของตนเองทั้งที่เป็ นผลดีและผลเสี ย ไม่ปัดความรับผิดชอบในการกระทาของตนเองให้แก่
ผูอื่น ไตร่ ตรองให้รอบคอบว่าสิ่ งที่ทาลงไปนั้นจะเกิดผลเสี ยหายขึ้นหรื อไม่ ปฏิบติแต่สิ่งที่ทาให้
  ้                                                                             ั
เกิดผลดี และพร้อมที่จะปรับปรุ งแก้ไขเพื่อให้ได้ผลดียงขึ้น
                                                       ิ่
           2. ความรับผิดชอบต่อครอบครัว หมายถึง การที่บุคคลมีความรู ้ ความเข้าใจ สนใจและตั้งใจ
ที่จะปฏิบติตนด้วยการเชื่อฟังคาแนะนาของ บิดามารดาช่วยเหลือกิจกรรมในบ้าน ตามโอกาสอัน
            ั
ควรไม่นาความเดือดร้อนมาสู่ ครอบครัวเป็ นคนสุ ภาพอ่อนน้อมต่อบิดามารดา และผูอาวุโสช่วย้
                                                                       ่
รักษาและเชิดชูชื่อเสี ยงวงศ์ตระกูล ภัสรา อรุ ณมีศรี (2533) ได้กล่าวไว้วา ความรับผิดชอบต่อ
ครอบครัว หมายถึง การกระทาหรื อพฤติกรรมต่อไปนี้ คือ เคารพเชื่อฟังคาสั่งสอนของผูปกครอง    ้
ช่วยเหลือการงานตามความสามารถ และโอกาส
           3. ความรับผิดชอบต่อเพื่อน หมายถึง การที่บุคคลมีความรู ้ความเข้าใจสนใจและตั้งใจ
ปฏิบติตนในการให้ความช่วยเหลือให้คาแนะนาแก่เพื่อนให้เขากระทาความดีมีความรักและความ
       ั
จริ งใจต่อกัน มีความเสี ยสละไม่เอาเปรี ยบเพื่อนและมีความเคารพในสิ ทธิ ซ่ ึ งกันและกัน ภัสรา อรุ ณ
                          ่
มีศรี (2533) ได้กล่าวไว้วา ความรับผิดชอบต่อชั้นเรี ยนและเพื่อนนักเรี ยนหมายถึง การกระทาหรื อ
พฤติกรรมที่ช่วยเหลือการงานของชั้นเรี ยนและเพื่อนนักเรี ยน
           4. ความรับผิดชอบต่อสถานศึกษา หมายถึง การที่บุคคลมีความรู ้ความเข้าใจ สนใจที่จะ
ปฏิบติตนตามระเบียบข้อบังคับของสถานศึกษามีความใส่ ใจ ขยันหมันเพียรที่จะศึกษาเล่าเรี ยน ณุ ้
         ั                                                          ่
จักรักษาทรัพย์สมบัติของสถานศึกษารู ้จกช่วยเหลืองานหรื อกิจกรรมของสถานศึกษา รักษาและเชิด
                                        ั
ชูเกียรติยศชื่อเสี ยงของสถานศึกษาตามความสามารถ กรมสามัญศึกษา(จินตนา ธนวิบูลย์ชย, 2541 )    ั
ได้อธิ บายความหมายของความรับผิดชอบต่อสถานศึกษาว่า หมายถึงการมีส่วนร่ วมในกิจกรรม
ต่างๆ ของสถานศึกษา การรักษาผลประโยชน์ เกียรติยศ ชื่อเสี ยงของสถานศึกษา ช่ วยกันรักษาความ
14




สะอาดของสถานศึกษา แต่งเครื่ องแบบเรี ยบร้อย ไม่ทะเลาะวิวาทกัน ไม่ทาให้สถานศึกษาเสี ย
ชื่อเสี ยง ให้ความร่ วมมือกับสถานศึกษาในกิจกรรมต่างๆ เพื่อสร้างชื่อเสี ยงให้แก่สถานศึกษา
สอดคล้องกับความหมายที่กระทรวงศึกษาธิ การ (2529) ที่ได้กล่าวถึงลักษณะของความรับผิดชอบ
ต่อสถานศึกษาว่า หมายถึง การที่ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในกิจกรรมต่างๆ ในสถานศึกษาและคอย
ตักเตือนเพื่อนที่หลงผิด อันจะทาให้เสี ยชื่อเสี ยงต่อสถานศึกษา จากการศึกษาของ เอมอร
กฤษณะ รังสรรค์ (2537) ที่ได้ศึกษาผลการฝึ กอบรมตามหลักไตรสิ กขาต่อความรับผิดชอบในหน้าที่
ของนักศึกษาวิชาชีพครู สถาบันราชภัฏพบว่า พฤติกรรมการปฏิบติตามระเบียบของสถาบัน เป็ น
                                                                 ั
พฤติกรรมความรับผิดชอบในหน้าที่ของ นักศึกษาครู ที่เด่นชัดเป็ นอันดับหนึ่งในทัศนะของ
นักศึกษาวิชาชีพครู และอาจารย์ สถาบันราชภัฏ

                                                                ่
                  จากความหมายและผลการวิจยที่กล่าวมา สรุ ปได้วา ความรับผิดชอบต่อ
                                              ั
สถานศึกษาหมายถึง พฤติกรรมการมีส่วนร่ วมในกิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษา การรักษา
ผลประโยชน์ เกียรติยศ ชื่อเสี ยงของสถานศึกษา ตลอดจนการสร้างสรรค์ความเจริ ญก้าวหน้าให้แก่
สถานศึกษา โดยแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ เช่น แต่งกายเครื่ องแบถูกต้อง ไม่ทะเลาะวิวาทกัน
ไม่ทาลายทรัพย์สินของสถานศึกษา
          5. ความรับผิดชอบต่อสังคม หมายถึง การที่บุคคลมีความรู ้ความเข้าใจสนใจและตั้งใจ
       ั        ่
ปฏิบติตนให้อยูในกรอบระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคม รู ้จกรับผิดชอบทรัพย์สมบัติของส่ วนรวม มี
                                                      ั
ความซื่ อสัตย์ ตรงต่อเวลา รู ้จกประพฤติตนเป็ นพลเมืองดีและสามารถช่วยเหลือผูอื่นด้วยความ เต็ม
                               ั                                            ้
                                       ่
ใจ ภัสรา อรุ ณมีศรี (2533) ได้กล่าวไว้วา ความรับผิดชอบต่อสังคม หมายถึง การปฏิบติตามหน้าที่ 5
                                                                                ั
ด้าน คือ รับผิดชอบต่อครอบครัว หมายถึงการกระทาหรื อพฤติกรรมต่อไปนี้ คือ เคารพเชื่อฟังคาสั่ง
สอนของผูปกครองช่วยเหลือการงานตามความสามารถและโอกาสรับผิดชอบต่อชั้นเรี ยนและเพื่อน
            ้
นักเรี ยน หมายถึง การกระทาหรื อพฤติกรรมที่ช่วยเหลือการงานของชั้นเรี ยนและเพื่อนนักเรี ยน
รับผิดชอบต่อโรงเรี ยน และรักษาชื่อเสี ยงของโรงเรี ยน รับผิดชอบต่อสังคม หมายถึงการกระทา
หรื อพฤติกรรมที่ให้ความร่ วมมือในกิจการงานของชุมชน รับผิดชอบต่อประเทศชาติ หมายถึง การ
กระทาหรื อพฤติกรรมที่แสดงถึง การปฏิบติตามกฎหมาย
                                          ั
15




                                                                ่
               จากความหมายและผลการวิจยที่กล่าวมา สรุ ปได้วา ความรับผิดชอบต่อสังคม
                                             ั
หมายถึง พฤติกรรมการให้ความร่ วมมือ และมีส่วนร่ วมในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชนและสังคม
บาเพ็ญประโยชน์ และสร้างสรรค์ความเจริ ญให้ชุมชนและสังคมอย่างเต็มความสามารถ ช่วย
สอดส่ องพฤติกรรมของบุคคลที่จะเป็ นภัยต่อสังคม ให้ความรู ้และช่วยเหลือผูอยูร่วมสังคมตาม
                                                                        ้ ่
ความสามารถของตนเอง ช่วยรักษาสาธารณสมบัติของชาติโดยส่ วนรวม ช่วยอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ ไม่เอาเปรี ยบผูอยูร่วมชุมชน ประพฤติและปฏิบติตนตามกฎหมาย งดเว้นการ
                                ้ ่                               ั
กระทาอันเป็ นผลเสี ยหายแก่ส่วนรวม ร่ วมทั้งช่วยคิดแก้ไขปั ญหาต่างๆ ของสังคม

ทฤษฎีทเี่ กียวข้ องกับความรั บผิดชอบ
            ่

        ทฤษฎีต้นไม้ จริยธรรมกับพฤติกรรมรับผิดชอบ

                   การที่จะทาให้เป็ นคนดีคนเก่งนั้นประกอบด้วยปั จจัยหลายประการ (ดวงเดือน
พันธุมนาวิน, 2539) ได้เสนอทฤษฎีที่ได้ขอสรุ ปจากการวิจยในสังคมไทย เพื่ออภิปรายสาเหตุของ
                                              ้              ั
พฤติกรรมของคนดีและคนเก่ง เช่น ความรับผิดชอบ ว่า พฤติกรรมเหล่านั้นเกิดมาจากสาเหตุทาง
จิตใจอะไรบ้างทฤษฎีตนไม้จริ ยธรรมแบ่งเป็ น 3 ส่ วน คือส่ วนที่เป็ นดอกและผล ส่ วนลาต้นและ
                         ้
ส่ วนที่เป็ นราก ในส่ วนแรกคือดอกและผลแสดงถึงพฤติกรรม การทาดีละเว้นชัว พฤติกรรมทาง
                                                                                 ่
สังคมต่างๆ ที่พึงประสงค์ และพฤติกรรม การทางานที่มีประสิ ทธิ ผล ผลที่ออกมาเป็ นพฤติกรรม
ต่างๆ ที่มีสาเหตุอยู่ 2 กลุ่ม กลุ่มแรกเป็ นส่ วนที่ 2 ของต้นไม้จริ ยธรรม คือ สาเหตุทางด้านจิตใจที่
เป็ นส่ วนลาต้นของต้นไม้ประกอบด้วย จิตลักษณะ 5 ด้าน คือ 1) เหตุผลเชิงจริ ยธรรม 2) ลักษณะมุ่ง
อนาคตและควบคุมตน 3) ความเชื่ออานาจในตน 4) แรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ และ5) เจตคติคุณธรรม
และค่านิยมและส่ วนที่สามของต้นไม้จริ ยธรรม คือรากของต้นไม้ ซึ่ งเป็ นจิตลักษณะกลุ่มที่สองมี 3
ด้านคือ 1) สติปัญญา 2) ประสบการณ์ทางสังคม และ 3) สุ ขภาพจิต
16
17
18

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

จิตวิทยาการเรียนรู้(1)
จิตวิทยาการเรียนรู้(1)จิตวิทยาการเรียนรู้(1)
จิตวิทยาการเรียนรู้(1)maymymay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 
จิตวิทยาการสอน
จิตวิทยาการสอนจิตวิทยาการสอน
จิตวิทยาการสอนphatcom10
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai7515
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมBoonlert Aroonpiboon
 
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอนSarawut Tikummul
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sarawut Tikummul
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 

La actualidad más candente (18)

จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้(1)
จิตวิทยาการเรียนรู้(1)จิตวิทยาการเรียนรู้(1)
จิตวิทยาการเรียนรู้(1)
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
แผนพระพุทธศาสนา
แผนพระพุทธศาสนาแผนพระพุทธศาสนา
แผนพระพุทธศาสนา
 
จิตวิทยาการสอน
จิตวิทยาการสอนจิตวิทยาการสอน
จิตวิทยาการสอน
 
จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
การศึกษาก..
การศึกษาก..การศึกษาก..
การศึกษาก..
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 

Similar a ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ

หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์nang_phy29
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ 5 ขวบ
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ   5 ขวบตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ   5 ขวบ
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ 5 ขวบkrusupap
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 

Similar a ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ (20)

หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ 5 ขวบ
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ   5 ขวบตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ   5 ขวบ
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ฯ 5 ขวบ
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียนบทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
บริหารกิจการนักเรียน
บริหารกิจการนักเรียนบริหารกิจการนักเรียน
บริหารกิจการนักเรียน
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
อ เกษตร
อ เกษตรอ เกษตร
อ เกษตร
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
แนวทาง Tok
แนวทาง Tokแนวทาง Tok
แนวทาง Tok
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 

ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ

  • 1. 6 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ ในการวิจยครั้งนี้เป็ นการวิจยที่ตองการศึกษากรณี ตวอย่างเพื่อพัฒนาความ ั ั ้ ั รับผิดชอบของนักเรี ยน ผูวจยได้ทาการศึกษาค้นคว้าเอกสาร และงานวิจยที่เกี่ยวข้องและนาเสนอ ้ิั ั ประเด็นต่าง ๆ ดังนี้ 1. หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. พฤติกรรมความรับผิดชอบ 3. องค์ประกอบความรับผิดชอบ 4. ความสาคัญของความรับผิดชอบ 5. ประเภทของความรับผิดชอบ 6. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบ 7. การวัดพฤติกรรมความรับผิดชอบ 8. การจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้กรณี ตวอย่าง ั 9. งานวิจยที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบ ั หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551 ้ คุณภาพของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพืนฐาน ้ วิสัยทัศน์ ของหลักสู ตร หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนทุกคนซึ่ งเป็ นกาลังขอชาติให้เป็ น มนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่ างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและเป็ น พลโลก ยึดมันในการปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข มี ่ ์ ความรู ้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จาเป็ นต่ อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษา ตลอดชีวต โดยมุ่งเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรี ยนรู ้และพัฒนา ิ ตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
  • 2. 7 จุดหมายของหลักสู ตร 1. มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวนยและปฏิบติ ิ ั ั ตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 2. มีความรู้อนเป็ นสากลและมีความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ ั เทคโนโลยีและมีทกษะชีวต ั ิ 3. มีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกาลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมันในวิถีชีวตและ ่ ิ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข ์ 5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา ั สิ่ งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุงทาประโยชน์และสร้างสิ่ งที่ดีงามในสังคม และอยูร่วมกันในสังคม ่ ่ อย่างมีความสุ ข สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่ อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทกษะชีวต ั ิ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียน 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ่ 5. อยูอย่างพอเพียง 2. ซื่อสัตย์สุจริ ต 6. มุ่งมันในการทางาน ่ 3. มีวนย ิ ั 7. รักความเป็ นไทย 4. ใฝ่ เรี ยนรู้ 8. มีจิตสาธารณะ
  • 3. 8 มาตรฐานการเรียนรู้ กาหนดให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ 8 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ดังนี้ 1. ภาษาไทย 2. คณิ ตศาสตร์ 3. วิทยาศาสตร์ 4. สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5. สุ ขศึกษาและพลศึกษา 6. ศิลปะ 7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8. ภาษาต่างประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ได้กาหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้ เป็ นเป้ าหมายสาคัญของการ พัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยน มาตรฐานการเรี ยนรู ้ ระบุสิ่งที่ผเู ้ รี ยนพึงรู ้และปฏิบติได้ มีคุณธรรม จริ ยธรรม ั และค่านิยมที่พ่ ึงประสงค์ ที่ตองการให้เกิดแก่ผเู ้ รี ยนเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมาตรฐานการ ้ เรี ยนรู้ยงสะท้อนให้ทราบว่า ต้องการอะไร ต้องสอนอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร ั รวมทั้งเป็ นเครื่ องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน มุ่งให้ผเู ้ รี ยนได้พฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อ ั ความเป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่ างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริ มสร้างให้เป็ นผูมีศีลธรรม ้ จริ ยธรรม มีระเบียบวินย ปลูกฝังและสร้างจิตสานึกของการทาประโยชน์เพื่อสังคมสามารถจัดการ ั ตนเองได้ และอยูร่วมกับผูอื่นอย่างมีความสุ ข กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน แบ่งเป็ น 3 ลักษณะดังนี้ ่ ้ 1. กิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมนักเรี ยน 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
  • 4. 9 กิจกรรมแนะแนว เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มและพัฒนาผูเ้ รี ยนให้รู้จกตนเอง รู ้รักษ์ ั สิ่ งแวดล้อม สามารถคิดตัดสอนใจ คิดแก้ปัญหา กาหนดเป้ าหมาย วางแผนชีวตทั้งด้านการเรี ยน ิ และอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยงช่วยให้ครู รู้จกและเข้าใจผูเ้ รี ยนทั้งยังเป็ น ั ั กิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คาปรึ กษาแก่ผปกครองในการมีส่วนร่ วมพัฒนาผูเ้ รี ยน ู้ (กระทรวงศึกษาธิการ,2551:11,28) พฤติกรรมความรับผิดชอบ 1. ความหมายพฤติกรรมความรับผิดชอบ จากการศึกษาความหมายของความรับผิดชอบซึ่งมีนก การศึกษาและนักจิตวิทยาได้ให้ ั คานิยามความหมายของความรับผิดชอบไว้ดงนี้ ั เฉลิม คาแก้ว (2530) ให้ความหมายของความรับผิดชอบ หมายถึง ความสนใจความตั้งใจ ที่จะปฏิบติหน้าที่ดวยความเพียรพยายาม และละเอียดรอบคอบ ให้บรรลุเป้ าหมายรักษาสิ ทธิและ ั ้ หน้าที่ของตน ยอมรับผลการกระทาของตน ทั้งในด้านที่เป็ นผลดี และผลเสี ยพยายามปรับปรุ งการ ปฏิบติหน้าที่ให้ดียงขึ้น ั ิ่ อุรุดา สุ ดมี (2533) ให้ความหมายของความรับผิดชอบ หมายถึง พฤติกรรมของบุคคล เกี่ยวกับการทางาน การศึกษาเล่าเรี ยน การใช้จาย การปฏิบติตนต่อตนเองและผูอื่นซึ่ งแสดงออกใน ่ ั ้ ลักษณะการปฏิบติดวยความละเอียดรอบคอบ มีความตั้งใจเอาใจใส่ และขยันหมันเพียร ปฏิบติตาม ั ้ ่ ั กฎเกณฑ์ของบังคับ มีวนยในตนเอง มีความซื่ อสัตย์และตรงต่อเวลา ยอมรับในสิ่ งที่ตนกระทาทั้งที่ ้ ิ ั ่ เป็ นผลดีและผลเสี ย ช่วยเหลือตนเองและผูอื่นได้ ใช้จายในสิ่ งที่จาเป็ นเหมาะสม ้ พีรพล ยศธสาร (2534) ให้ความหมายของความรับผิดชอบ เป็ นการรู้ ถึงภารกิจหน้าที่โดย ไม่ตองมีคาสั่งจากผูอื่นมาบังคับ ยอมรับผลการกระทาของตนเอง การมีความรับผิดชอบจะ ้ ้ ก่อให้เกิดความระมัดระวัง ไม่ประมาท ไม่ละทิงหน้าที่ คานึงถึงผลเสี ยหายที่จะเกิดขึ้นจากคาพูด ้ หรื อการกระทาของตน
  • 5. 10 จงจิตร ศิริทรัพย์จนันท์ (2538) ให้ความหมายของความรับผิดชอบ หมายถึง การ แสดงออกของบุคคลที่ปฏิบติตามกฎระเบียบด้วยความพากเพียร ละเอียดรอบคอบ โดยไม่ตองมีการ ั ้ ควบคุมจากผูอื่น ยอมรับผลการกระทาของตนเอง พยายามปรับปรุ งงานให้ดียงขึ้น เพื่อประสบ ้ ิ่ ความสาเร็ จตามความมุ่งหมาย จุจีรัตน์ ขันทัยทวีกล (2543) ให้ความหมายความรับผิดชอบ หมายถึง การที่นกเรี ยนมี ู ั ความมุ่งมัน ตั้งใจปฏิบติตนตามกฎระเบียบของโรงเรี ยนและการยอมรับของผลการปฏิบติตนตาม ่ ั ั กฎระเบียบของโรงเรี ยน การปฏิบ ัติตนในการเรี ยนและการยอมรับผลการกระทาของตนตน Cattell (1936 อ้างถึงใน อภิสิทธิ์ วงษา, 2517) ได้กล่าวถึงลักษณะของบุคคลที่มี ความสามารถในการรับผิดชอบว่าเป็ นบุคคลที่รับผิดชอบในหน้าที่ มีความขยันหมันเพียรถือศักดิ์ศรี ่ ยึดมันในกฎหมาย ส่ วนผูทีมีความรับผิดชอบน้อยคือบุคคลที่ถือความสะดวกเป็ นเกณฑ์ และหมัก ่ ้ หลีกเลี่ยงข้องบังคับ ่ Flippo (1966) สรุ ปความหมายของความรับผิดชอบไว้วา เป็ นความผูกพันในการปฏิบติ ั หน้าที่ให้สาเร็ จลุล่วงไปด้วยดี โดยมีปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 3 ประการ คือ พันธะผูกพัน หน้าที การงาน และวัตถุประสงค์ องค์ ประกอบของความรับผิดชอบ เพ็ชริ นทร์ ปฐมวนิชกะ (2535) ได้รวบรวมสรุ ปองค์ประกอบของความรับผิดชอบที่ได้จา การวิจยของนักการศึกษา และนักจิตวิทยาไว้มี 4 ลักษณะ ดังนี้ 1) วิธีการจัดการศึกษา อบรมมี ั อิทธิ พลอย่างมากต่อการแสดงพฤติกรรมรับผิดชอบ ซึ่ งลักษณะของการจัดการศึกษาอบรมที่มีผล ต่อความรับผิดชอบอย่างสู งได้แก่ การให้ความเอาใจใส่ การเลี้ยงดูอย่างประชาธิ ปไตย การอบรมให้ มีวนยโดยการใช้เหตุผล ในทางตรงกันข้ามการฝึ กอบรมด้วยการให้รางวัลและการใช้อานาจมาก ิ ั เกินไปจะส่ งผลให้ความรู ้สึกรับผิดชอบของเด็กต่า 2) ผลที่ได้รับจากการศึกษาอบรมเป็ นอีกลักษณะ หนึ่งขององค์ประกอบที่อิทธิ พลต่อความรับผิดชอบของนักเรี ยน ลักษณะดังกล่าวประกอบด้วย ลักษณะนิสัยในการเรี ยน การได้รับทุนการศึกษา เจตคติต่อวิชาชีพครู และความมีน้ าใจของครู
  • 6. 11 3) ลักษณะทางสังคมเศรษฐกิจซึ่ งประกอบด้วยเพศ อายุ สภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัว สมรรถภาพในการปฏิบติหน้าที่การงาน และ 4) ลักษณะทางสังคมจิตวิทยา ซึ่งเป็ นองค์ประกอบที่ ั สาคัญมากลักษณะต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านนี้ คือ ลาดับการเกิดความเชื่อมันในตนเอง ความมี ่ ระเบียบวินย ความซื่ อสัตย์ การปรับตัว ความคิดสร้างสรรค์ และความวิตกกังวล เป็ นต้น ั ความสาคัญของความรับผิดชอบ ดวงเดือน พันธุมนาวิน (2539 ) ได้กล่าวถึงความรับผิดชอบมีความสาคัญในการแสดงถึง ความเป็ นพลเมืองอย่างหนึ่ง นอกจากความมีวนยทางสังคม ความเอื้อเฟื้ อ และความเกรงใจ ิ ั เนื่องจากความรับผิดชอบนั้นเป็ นลักษณะนิสัยและทัศนคติของบุคคลซึ่ งเป็ นเครื่ องมือผลักดันให้ บุคคลปฏิบติตามกฎระเบียบเคารพสิ ทธิของผูอื่นตามหน้าที่ของตนและมีความซื่อสัตย์ สุ จริ ต การ ั ้ เป็ นคนดีมีความรับผิดชอบจะช่วยในการอยูร่วมกันในสังคมเป็ นไปด้วยความราบรื่ น สงบสุ ข สิ่ ง ่ สาคัญมากคือความรับผิดชอบยังเป็ นคุณธรรมที่สาคัญในการพัฒนาประเทศอีกด้วย และถ้าบุคคล ในสังคมมีความรับผิดชอบจะส่ งผล คือ 1) คนที่มีความรับผิดชอบย่อมทางานทุกอย่างสาเร็ จตาม จุดมุ่งหมายทันเวลา 2) คนที่มีความรับผิดชอบ ย่อมเป็ นที่นบถือ ในการยกย่องสรรเสริ ญและเป็ น ั คุณประโยชน์ต่อตนเองและสังคม 3) ความรับผิดชอบเป็ นสิ่ งที่เกื้อหนุนให้บุคคลปฏิบติงานให้ ั สอดคล้องกับกฎจริ ยธรรมและหลักเกณฑ์ของสังคมโดยไม่ตองมีการบังคับจากผูอื่น 4) ทาให้เกิด ้ ้ ความก้าวหน้า สงบสุ ขก้าวหน้าในสังคม และ 5) ไม่เป็ นต้นเหตุแห่งความเสื่ อมและความเสี ยหาย ของส่ วนรวม หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมสามัญศึกษา (2528, อ้างถึงใน จงจิตร ศิริทรัพย์จนันท์, 2528) ได้ กล่าวถึงความสาคัญของการรู ้จกรับผิดชอบไว้ดงนี้ 1) ทาให้เป็ นคนมีความตั้งใจจริ ง รักหน้าที่การ ั ั งานทั้งที่เป็ นของส่ วนตัวและส่ วนรวม 2) เป็ นการสร้างความมันใจให้แก่ตนเอง และ หมู่คณะและ ่ ประเทศชาติ 3) เป็ นคุณสมบัติอนสาคัญของคนในชาติที่เจริ ญแล้ว 4) เป็ นคุณสมบัติที่จาเป็ น ั สาหรับการดารงชีวตในสังคมระบบประชาธิปไตย 5) เป็ นการเสริ มสร้างคุณลักษณะของ ความเป็ น ิ ผูนาที่ดี และ 6) ทาให้สังคมและประเทศชาติมีความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย ้
  • 7. 12 ประเภทของความรับผิดชอบ จากการศึกษาประเภทของความรับผิดชอบได้มีนกศึกษาและนักจิตวิทยาได้ให้คานิยาม ั ความหมายของความรับผิดชอบ สรุ ปได้ดงต่อไปนี้ ั 1. ความรับผิดชอบต่อตนเอง หมายถึง การที่บุคคลมีความรู ้ความเข้าใจ สนใจและตั้งใจใน การดูแลรักษาสุ ขภาพของตน มีความสามารถในการจัดหาเครื่ องอุปโภคบริ โภค รู้จกประมาณการ ั ใช้จ่าย ประพฤติตนให้เหมาะสมมีคุณธรรม ไม่ประพฤติชว ตั้งใจศึกษาเล่าเรี ยน ปรับตัวเข้ากับคน ั่ อื่นได้ดี และยอมรับผลการกระทาของตนเอง ประภัสสร ไชยชนะใหญ่ (2529) กล่าวถึง คุณลักษณะ ความรับผิดชอบต่อตนเองว่า หมายถึง การรักษาป้ องกันตนเองให้ปลอดภัยจากอันตราย โรคภัยไข้ เจ็บ รักษาร่ างกายให้แข็งแรง บังคับ ควบคุมจิตใจไม่ให้ตกเป็ นธาตุของกิเลส ประพฤติตนอยูใน่ ศีลธรรม ละเว้นความชัว รู ้จกประมาณการใช้จ่ายตามสมควรแก่ฐานะ จัดหาเครื่ องอุปโภคบริ โภคที่ ่ ั เหมาะสม และหมันศึกษาเล่าเรี ยน จนประสบผลสาเร็ จ นอกจากนั้น ดุษฎี ทรัพย์บารุ ง (2529) ให้ ่ ความหมายของความรับผิดชอบต่อหน้าที่การงาน หมายถึง พฤติกรรมของบุคคลที่แสดงออกมาด้วย การปฏิบติหน้าที่การงานของตนในด้านต่างๆ ดังนี้ 1) ความเอาใจใส่ ในการทางาน หมายถึง ั ลักษณะพฤติกรรมที่แสดงถึงการปฏิบติงานด้วยความตั้งใจจริ งที่จะทางานในหน้าที่ของตนหรื องาน ั ที่ตนได้รับมอบหมายให้เสร็ จเรี ยบร้อยไม่ละเลยทอดทิ้งหรื อหลีกเลี่ยงและหาทางป้ องกันไม่ให้เกิด ความบกพร่ องเสื่ อมเสี ยในงานที่ตนรับผิดชอบ 2) ความเพียรพยายาม หมายถึง ลักษณะหรื อ ่ พฤติกรรมที่แสดงออกถึงความอดทน ไม่ยอท้อต่อการทางาน เมื่อเกิดปั ญหาหรื ออุปสรรคในการ ทางานซึ่ งเป็ นหน้าที่ของตนที่จะต้องรับผิดชอบนั้นจะต้องพยายามแก้ไขปั ญหาและอุปสรรคนั้น ด้วยตนเองอย่างสุ ดความสามรถ 3) ความละเอียดรอบคอบ หมายถึง ลักษณะหรื อพฤติกรรมที่ แสดงออกถึงการรู ้จกคิดใคร่ ครวญในงาน ทาเพื่อให้ถูกต้องและรู ้จกคิดก่อนว่างานนั้นมีผลดี ผลเสี ย ั ั อย่างไร และเมื่อทางานเสร็ จแล้วต้องตรวจสอบความถูกต้องให้เรี ยบร้อย 4) การตรงต่อเวลา หมายถึง ลักษณะหรื อพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการทางานให้เสร็ จทันเวลาที่กาหนด รู ้จกว่าเวลา ั ไหนควรจะทาอะไร 5) การยอมรับผลการกระทาของตนเอง หมายถึง ลักษณะหรื อพฤติกรรมที่ แสดงออกถึงการยอมรับในสิ่ งที่ตนเองกระทาลงไปไม่วาผลของงานนั้นจะออกมาดีหรื อไม่ดีก็ตาม ่ 6) การปรับปรุ งงานของตนให้ดียงขึ้น หมายถึง ลักษณะหรื อพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการติดตาม ิ่ ผลงานที่ได้ทาไปแล้ว ถ้าไม่ดีตองพยายามแก้ไขปรับปรุ งให้ดีข้ ึน ้
  • 8. 13 ่ จากความหมายของความรับผิดชอบต่อตนเองดังกล่าว สรุ ปได้วา ความรับผิดชอบ ต่อตนเอง หมายถึง พฤติกรรมการรู ้จกระมัดระวังรักษาสุ ขภาพอนามัยของตนเองให้สมบูรณ์ ั ปลอดภัยจากอันตรายอยูเ่ สทอ รู ้จกประพฤติปฏิบติให้เหมาะสม ละเว้นความชัว รู ้จกประมาณใน ั ั ่ ั การใช้จ่ายและมีความประหยัด สามารถจัดหารเครื่ องอุปโภคบริ โภคสาหรับตนเองได้อย่าง เหมาะสมถูกกาลเทศะในแต่ละวัย สานึกในบทบาทและหน้าที่ของตน หมันใฝ่ หาความรู ้และฝึ กฝน ่ ตนเองให้มีประสบการณ์ในด้านต่างๆ จนประสบความสาเร็ จในการดารงชีวต ยอมรับผลการ ิ กระทาของตนเองทั้งที่เป็ นผลดีและผลเสี ย ไม่ปัดความรับผิดชอบในการกระทาของตนเองให้แก่ ผูอื่น ไตร่ ตรองให้รอบคอบว่าสิ่ งที่ทาลงไปนั้นจะเกิดผลเสี ยหายขึ้นหรื อไม่ ปฏิบติแต่สิ่งที่ทาให้ ้ ั เกิดผลดี และพร้อมที่จะปรับปรุ งแก้ไขเพื่อให้ได้ผลดียงขึ้น ิ่ 2. ความรับผิดชอบต่อครอบครัว หมายถึง การที่บุคคลมีความรู ้ ความเข้าใจ สนใจและตั้งใจ ที่จะปฏิบติตนด้วยการเชื่อฟังคาแนะนาของ บิดามารดาช่วยเหลือกิจกรรมในบ้าน ตามโอกาสอัน ั ควรไม่นาความเดือดร้อนมาสู่ ครอบครัวเป็ นคนสุ ภาพอ่อนน้อมต่อบิดามารดา และผูอาวุโสช่วย้ ่ รักษาและเชิดชูชื่อเสี ยงวงศ์ตระกูล ภัสรา อรุ ณมีศรี (2533) ได้กล่าวไว้วา ความรับผิดชอบต่อ ครอบครัว หมายถึง การกระทาหรื อพฤติกรรมต่อไปนี้ คือ เคารพเชื่อฟังคาสั่งสอนของผูปกครอง ้ ช่วยเหลือการงานตามความสามารถ และโอกาส 3. ความรับผิดชอบต่อเพื่อน หมายถึง การที่บุคคลมีความรู ้ความเข้าใจสนใจและตั้งใจ ปฏิบติตนในการให้ความช่วยเหลือให้คาแนะนาแก่เพื่อนให้เขากระทาความดีมีความรักและความ ั จริ งใจต่อกัน มีความเสี ยสละไม่เอาเปรี ยบเพื่อนและมีความเคารพในสิ ทธิ ซ่ ึ งกันและกัน ภัสรา อรุ ณ ่ มีศรี (2533) ได้กล่าวไว้วา ความรับผิดชอบต่อชั้นเรี ยนและเพื่อนนักเรี ยนหมายถึง การกระทาหรื อ พฤติกรรมที่ช่วยเหลือการงานของชั้นเรี ยนและเพื่อนนักเรี ยน 4. ความรับผิดชอบต่อสถานศึกษา หมายถึง การที่บุคคลมีความรู ้ความเข้าใจ สนใจที่จะ ปฏิบติตนตามระเบียบข้อบังคับของสถานศึกษามีความใส่ ใจ ขยันหมันเพียรที่จะศึกษาเล่าเรี ยน ณุ ้ ั ่ จักรักษาทรัพย์สมบัติของสถานศึกษารู ้จกช่วยเหลืองานหรื อกิจกรรมของสถานศึกษา รักษาและเชิด ั ชูเกียรติยศชื่อเสี ยงของสถานศึกษาตามความสามารถ กรมสามัญศึกษา(จินตนา ธนวิบูลย์ชย, 2541 ) ั ได้อธิ บายความหมายของความรับผิดชอบต่อสถานศึกษาว่า หมายถึงการมีส่วนร่ วมในกิจกรรม ต่างๆ ของสถานศึกษา การรักษาผลประโยชน์ เกียรติยศ ชื่อเสี ยงของสถานศึกษา ช่ วยกันรักษาความ
  • 9. 14 สะอาดของสถานศึกษา แต่งเครื่ องแบบเรี ยบร้อย ไม่ทะเลาะวิวาทกัน ไม่ทาให้สถานศึกษาเสี ย ชื่อเสี ยง ให้ความร่ วมมือกับสถานศึกษาในกิจกรรมต่างๆ เพื่อสร้างชื่อเสี ยงให้แก่สถานศึกษา สอดคล้องกับความหมายที่กระทรวงศึกษาธิ การ (2529) ที่ได้กล่าวถึงลักษณะของความรับผิดชอบ ต่อสถานศึกษาว่า หมายถึง การที่ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในกิจกรรมต่างๆ ในสถานศึกษาและคอย ตักเตือนเพื่อนที่หลงผิด อันจะทาให้เสี ยชื่อเสี ยงต่อสถานศึกษา จากการศึกษาของ เอมอร กฤษณะ รังสรรค์ (2537) ที่ได้ศึกษาผลการฝึ กอบรมตามหลักไตรสิ กขาต่อความรับผิดชอบในหน้าที่ ของนักศึกษาวิชาชีพครู สถาบันราชภัฏพบว่า พฤติกรรมการปฏิบติตามระเบียบของสถาบัน เป็ น ั พฤติกรรมความรับผิดชอบในหน้าที่ของ นักศึกษาครู ที่เด่นชัดเป็ นอันดับหนึ่งในทัศนะของ นักศึกษาวิชาชีพครู และอาจารย์ สถาบันราชภัฏ ่ จากความหมายและผลการวิจยที่กล่าวมา สรุ ปได้วา ความรับผิดชอบต่อ ั สถานศึกษาหมายถึง พฤติกรรมการมีส่วนร่ วมในกิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษา การรักษา ผลประโยชน์ เกียรติยศ ชื่อเสี ยงของสถานศึกษา ตลอดจนการสร้างสรรค์ความเจริ ญก้าวหน้าให้แก่ สถานศึกษา โดยแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ เช่น แต่งกายเครื่ องแบถูกต้อง ไม่ทะเลาะวิวาทกัน ไม่ทาลายทรัพย์สินของสถานศึกษา 5. ความรับผิดชอบต่อสังคม หมายถึง การที่บุคคลมีความรู ้ความเข้าใจสนใจและตั้งใจ ั ่ ปฏิบติตนให้อยูในกรอบระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคม รู ้จกรับผิดชอบทรัพย์สมบัติของส่ วนรวม มี ั ความซื่ อสัตย์ ตรงต่อเวลา รู ้จกประพฤติตนเป็ นพลเมืองดีและสามารถช่วยเหลือผูอื่นด้วยความ เต็ม ั ้ ่ ใจ ภัสรา อรุ ณมีศรี (2533) ได้กล่าวไว้วา ความรับผิดชอบต่อสังคม หมายถึง การปฏิบติตามหน้าที่ 5 ั ด้าน คือ รับผิดชอบต่อครอบครัว หมายถึงการกระทาหรื อพฤติกรรมต่อไปนี้ คือ เคารพเชื่อฟังคาสั่ง สอนของผูปกครองช่วยเหลือการงานตามความสามารถและโอกาสรับผิดชอบต่อชั้นเรี ยนและเพื่อน ้ นักเรี ยน หมายถึง การกระทาหรื อพฤติกรรมที่ช่วยเหลือการงานของชั้นเรี ยนและเพื่อนนักเรี ยน รับผิดชอบต่อโรงเรี ยน และรักษาชื่อเสี ยงของโรงเรี ยน รับผิดชอบต่อสังคม หมายถึงการกระทา หรื อพฤติกรรมที่ให้ความร่ วมมือในกิจการงานของชุมชน รับผิดชอบต่อประเทศชาติ หมายถึง การ กระทาหรื อพฤติกรรมที่แสดงถึง การปฏิบติตามกฎหมาย ั
  • 10. 15 ่ จากความหมายและผลการวิจยที่กล่าวมา สรุ ปได้วา ความรับผิดชอบต่อสังคม ั หมายถึง พฤติกรรมการให้ความร่ วมมือ และมีส่วนร่ วมในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชนและสังคม บาเพ็ญประโยชน์ และสร้างสรรค์ความเจริ ญให้ชุมชนและสังคมอย่างเต็มความสามารถ ช่วย สอดส่ องพฤติกรรมของบุคคลที่จะเป็ นภัยต่อสังคม ให้ความรู ้และช่วยเหลือผูอยูร่วมสังคมตาม ้ ่ ความสามารถของตนเอง ช่วยรักษาสาธารณสมบัติของชาติโดยส่ วนรวม ช่วยอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ ไม่เอาเปรี ยบผูอยูร่วมชุมชน ประพฤติและปฏิบติตนตามกฎหมาย งดเว้นการ ้ ่ ั กระทาอันเป็ นผลเสี ยหายแก่ส่วนรวม ร่ วมทั้งช่วยคิดแก้ไขปั ญหาต่างๆ ของสังคม ทฤษฎีทเี่ กียวข้ องกับความรั บผิดชอบ ่ ทฤษฎีต้นไม้ จริยธรรมกับพฤติกรรมรับผิดชอบ การที่จะทาให้เป็ นคนดีคนเก่งนั้นประกอบด้วยปั จจัยหลายประการ (ดวงเดือน พันธุมนาวิน, 2539) ได้เสนอทฤษฎีที่ได้ขอสรุ ปจากการวิจยในสังคมไทย เพื่ออภิปรายสาเหตุของ ้ ั พฤติกรรมของคนดีและคนเก่ง เช่น ความรับผิดชอบ ว่า พฤติกรรมเหล่านั้นเกิดมาจากสาเหตุทาง จิตใจอะไรบ้างทฤษฎีตนไม้จริ ยธรรมแบ่งเป็ น 3 ส่ วน คือส่ วนที่เป็ นดอกและผล ส่ วนลาต้นและ ้ ส่ วนที่เป็ นราก ในส่ วนแรกคือดอกและผลแสดงถึงพฤติกรรม การทาดีละเว้นชัว พฤติกรรมทาง ่ สังคมต่างๆ ที่พึงประสงค์ และพฤติกรรม การทางานที่มีประสิ ทธิ ผล ผลที่ออกมาเป็ นพฤติกรรม ต่างๆ ที่มีสาเหตุอยู่ 2 กลุ่ม กลุ่มแรกเป็ นส่ วนที่ 2 ของต้นไม้จริ ยธรรม คือ สาเหตุทางด้านจิตใจที่ เป็ นส่ วนลาต้นของต้นไม้ประกอบด้วย จิตลักษณะ 5 ด้าน คือ 1) เหตุผลเชิงจริ ยธรรม 2) ลักษณะมุ่ง อนาคตและควบคุมตน 3) ความเชื่ออานาจในตน 4) แรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ และ5) เจตคติคุณธรรม และค่านิยมและส่ วนที่สามของต้นไม้จริ ยธรรม คือรากของต้นไม้ ซึ่ งเป็ นจิตลักษณะกลุ่มที่สองมี 3 ด้านคือ 1) สติปัญญา 2) ประสบการณ์ทางสังคม และ 3) สุ ขภาพจิต
  • 11. 16
  • 12. 17
  • 13. 18