SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 23
Descargar para leer sin conexión
แบบฝึ กเสริมทักษะคณิตศาสตร์
             ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5
     เรื่อง การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น
                                    ้
                    ชุ ดที่ 5
   การวัดการกระจายของข้ อมูล




                 โดย
       นายปกรณ์ สิทธิ์ อุ่นทรัพย์
         ครู โรงเรียนบ่ อกรุวทยา
                             ิ
สานักงานเขตพืนที่การศึกษาสุ พรรณบุรี เขต 3
              ้
133



แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 5.1




การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น
                      ้
              เรื่อง
         พิสัย (Range)
134



                                   เกร็ดความรู้

          พิสัย (Range) คือ ค่าที่ใช้วดการกระจายที่ได้จากผลต่างระหว่างข้อมูลที่มี
                                      ั
ค่าสู งสุ ดและข้อมูลที่มีค่าต่าสุ ด และเป็ นการวัดการกระจายข้อมูลที่ค่อนข้างหยาบ
เพราะเป็ นค่าที่คานวณจากค่าเพียงสองค่าเท่านั้น แต่การวัดการกระจายโดยใช้พสัย     ิ
สามารถวัดได้สะดวกและรวดเร็วกว่าวิธีอื่น ๆ
สามารถหาได้จากสู ตร พิสัย = X max  X min

                                      ตัวอย่ าง
        จากการตรวจสอบความสู งของนักเรี ยนหญิงกลุ่มหนึ่ งเมื่อวัดเป็ นเซนติเมตรได้
ข้อมูลเป็ นดังนี้ 159, 157 , 152, 157, 150, 151, 149, 154 จงหาค่าพิสัยจากข้อมูลชุดนี้
        จากข้อมูลดังกล่าวนักเรี ยนคนที่สูงที่สุดสู ง 159 เซนติเมตร และนักเรี ยนหญิง
          ที่ต่าที่สุดสู ง 149 เซนติเมตร
                      หาค่าพิสยได้จาก X max  X min
                              ั
                ดังนั้น ค่าพิสัยของความสู งนักเรี ยนหญิงกลุ่มนี้ = 159 – 149
                                                                 = 10

                                                                   หนูสูงที่สุด

     หนูต่าที่สุด




    149 154            157 152              150        151       159          157
135




                           แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 5.1

        จากตารางข้อมูลข้างล่างนี้ ให้นกเรี ยนหาค่าพิสัยโดยเติมข้อความลงในช่ องว่าง
                                      ั
ให้ถูกต้อง

ข้อที่               ข้อมูล                ค่าสู งสุ ด ค่าต่าสุ ด      พิสัย
  1 11, 14, 14, 15, 19, 20, 21, 24, 26, 42
  2 20, 35, 150, 80, 10, 9, 36, 15
  3 3, 5, 9, 12, 15
  4 2, 6, 8, 12, 18, 20, 22, 30, 40
  5 9, 14, 6, 8, 12 ,5 ,8, 8, 6, 11
  6 2.5, 3.5, 4.5, 8.5, 9.5, 10.5, 12.5
  7 11.2, 8.2, 7.2, 12.2, 14.2, 13.2,16.2,
    17.2, 18.2, 6.2, 5.2, 4.2
 8 150, 152, 154, 156, 158, 160
 9 26, 25, 48, 57, 60, 68, 73, 85, 90, 92
 10    13 8 9 7 7
       14 3 4 5 5 6
       15 5 8 1 3 2 1 1 4
       16 1 3 2




คะแนนเต็ม 10 คะแนน
136




              แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 5.2




                  การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น
                                        ้

                                เรื่อง
                    ส่ วนเบียงเบนมาตรฐาน
                            ่




                             X i  X 
N                           N
 X 2i
                                         2

i 1          2             i 1
         X
    N                              N




  X
        X                  S.D. = s = ????
         N
137




                                             เกร็ดความรู้

        ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) เป็ นค่าที่ใช้วดการกระจายของ
                                                                  ั
ข้อมูลที่ได้จากการหารากที่สองของค่าเฉลี่ยยกกาลังสองของผลต่างระหว่างค่าของข้อมูล
แต่ละค่ากับค่าเฉลี่ยของข้อมูลชุดนั้น ซึ่งเป็ นวิธีการวัดการกระจายที่นิยม และเชื่อถือได้
มากที่สุด
                             X i  X 
                            N            2                                 N
                                                                           Xi
                                                                                     2

หาได้จากสู ตร       s   =   i 1
                                                 หรื อ สู ตร     s   =    i 1
                                                                                         X
                                                                                              2

                                   N                                             N

หรื อเขียนในรู ปย่อได้ดงนี้
                       ั
                         (X  X )
                                     2
            s   =                            หรื อ       s   =        X 2  (X) 2
                            N                                         N
         สรุ ปได้ว่า ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็ นการวัดการกระจายของข้อมูล ที่คานวณ
จากข้อมูลทุกตัวโดยหาว่า โดยเฉลี่ยแล้วข้อมูลแต่ละค่าอยู่ห่างจากค่าเฉลี่ย ( X ) ของ
ข้อมูลชุ ดนั้นมากน้อยเพียงใด กล่าวคือ ถ้าข้อมูลทุกตัวมีค่าเท่ากันหมด ค่า s เท่ากับ 0
แสดงว่าข้อมูลไม่มีการกระจายเลย ถ้าข้อมูลแต่ละตัวมีค่าใกล้เคียงกัน จะมีค่า s น้อยไปด้วย
แสดงว่าข้อมูลมีการกระจายน้อย ถ้าข้อมูลแต่ละตัวมีค่าแตกต่างกันมาก จะมีค่า s มากไป
ด้วย แสดงว่าข้อมูลมีการกระจายมาก

                                              ตัวอย่ าง
         จงหาส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูล 5, 6, 6, 6, 7, 8
วิธีทา    1) หา         X   ก่อน จากสู ตร       X    =   X
                                            N
                                   566678
                              =
                                        6
                              =    38
                                    6
                              = 6.3
138



2) หา   XX     และ X  X2 จากตาราง ดังนี้

           ค่ า X               XX                     X  X2
              5             5 - 6.33 = 1.33          1.33 2 = 1.77
              6            6 – 6.33 = - 0.33          0.33 2 =0.11
              6            6 – 6.33 = - 0.33          0.33 2 =0.11
              6            6 – 6.33 = - 0.33          0.33 2 =0.11
              7            7 – 6.33 = 0.67           0.67 2 = 0.45
              8            8 – 6.33 = 1.67            1.67 2 = 2.79
                       
                       XX   2                          5.34

                                     (X  X )
                                                 2
        3) หา   s   จากสู ตร s =
                                         N



                     แทนค่า s =      5.34
                                       6
                          = 0.89
                        = 0.94
ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูล เท่ากัน 0.94
139



หรื อ หาจากสู ตร s =    X 2  (X) 2   โดยหาค่า  X 2 จากตารางต่อไปนี้
                          N
                              ค่ า X                  X2
                                 5                 5 5 =   25
                                 6                 6 6 =   36
                                 6                 6 6 =   36
                                 6                 6 6 =   36
                                 7                 7 7 =   49
                                 8                 8 8 =   64
                               X2                    246


หาค่า    2
        X  6.33  6.33   = 40.07 แทนค่าสู ตร s =        X 2  (X) 2
                                                            N

                                           s   =    246
                                                         40 . 07
                                                     6
                                           s = 41  40 .07
                                           s =      0 . 93

                                         s = 0.96

เมื่อนาค่าทั้งสองสู ตรมาเทียบแล้วจะใกล้เคียงเนื่องจากค่า X เป็ นค่าไม่ลงตัว
ที่จริ งแล้วจะได้ 6.33… จะทาให้เกิดค่าผิดพลาดเล็กน้อย
ดังนั้นเราจึงนิยมหาจากสู ตรแรก


                                                    ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานก็
                                                    คือการวัดการกระจายของ
                                                       ผลต่างระหว่างค่าของ
                                                         ข้อมูลหรื อเปล่า
                              แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 5.2
140




        5.2.1     จงหาส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐานของอายุบุตรครอบครั วหนึ่ งซึ่ งมีดังนี้
3, 5, 11, 13, 18 (โดยใช้สูตรแรกสู ตรเดียว)
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
คะแนนเต็ม 10 คะแนน
        5.2.2 ให้นกเรี ยนหาส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของข้อมูลแต่ละข้อต่อไปนี้เติมลง
                   ั
ในช่องว่างให้ถกต้องสมบูรณ์
                ู
141



ข้ อ                                                        ส่ วนเบี่ยงเบน
           ข้ อมูล                           X  X 
                                                     2

ที่                             X
                                                            มาตรฐาน ( s )
Ex 2, 3, 5, 4              14
                                = 3.5 2.25+0.25+2.25+0.25   5
                                                               1.25   = 1.12
                            4                               4
                                       =5
1 4, 5, 6, 9

2 3, 4, 5, 6

3 1, 3, 6, 4, 8, 3, 5, 2

4 2, 4, 7, 5, 9, 4, 6, 3

5 13, 9, 14, 6, 8, 11,
  5, 8, 8, 6, 11, 9
6 3, 5, 7, 9

7 6, 8, 4, 2, 7, 3

8 2, 4, 14, 15, 20, 53,
  71, 101
9 5.2, 1.8, 7.1, 7.1

10 157, 156, 160, 156,
    175, 160, 156
คะแนนเต็ม 10 คะแนน
142




 แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 5.3




   การวิเคราะห์ขอมูลเบื้องต้น
                ้

               เรื่ อง



ความแปรปรวน
    3, 4, 6, 7,..., 5
        s2  
                 
               XX       2
               N
143




                                       เกร็ดความรู้

              ความแปรปรวน (Variance) เป็ นค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานยกกาลังสอง ซึ่ง
ความแปรปรวนสามรถใช้วดการกระจายของข้อมูลได้ ใช้สัญลักษณ์ s 2 หรื อ S.D.2
                                ั
หมายความว่า ค่าเฉลี่ยของกาลังสองของความแตกต่างของข้อมูลแต่ละตัวที่แตกต่างไป
จากค่ า เฉลี่ ย ของข้อ มู ล ชุ ด นั้น ซึ่ งส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานเป็ นรากที่ ส องของความ
แปรปรวน


                                            ตัวอย่ าง

กาหนดข้อมูลเป็ น 3 5 7 9 11 จงหาความแปรปรวนของข้อมูลชุดนี้
                                  X  X 
                                                 2
วิธีทา วิธีที่ 1 ใช้สูตร     s 
                              2
                                       N
                           X
                                  X
                                   N
                                  3  5  7  9  11
                               
                                            5

                       s2      
                                    3  7 2  5  7 2  7  7 2  9  7 2  11  7 2
                                                                5
                                 16  4  0  4  16
                               
                                            5
                              8

   วิธีที่ 2   ใช้สูตร   s2 
                               x2  X
                               N
                                           2



                   X 2  32  52  7 2  9 2  112

                             285
               แทนค่า    s2 
                              285
                                   7 2
                               5
                             57  49

                             8
144




                        แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 5.3

ให้นกเรี ยนหาคาความแปรปรวนของข้อมูลแต่ละข้อต่อไปนี้ แล้วเติมลงในช่องว่างให้
    ั
สมบูรณ์

                                                                           ความ
ข้ อ      ข้ อมูล                               X  X                 แปรปรวน
                                                          2
                         N      X
                                                                              s 
                                                                               2


Ex. 5, 7, 8, 4           4      6     5  62  7  62  8  62 +   10
                                                                          4
                                                                              = 2.5
                                      4  62 = 1+1+4+4 = 10
 1 12, 13, 17, 18

 2 3, 5, 7, 9, 11,
   13, 15
 3 2, 4, 8, 16, 32,
   64, 7
 4 8, 6, 32, 64,
   128, 254
 5 10, 20, 30, 40,
   50

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
145




   แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 5.4




     การวิเคราะห์ขอมูลเบื้องต้น
                  ้


                 เรื่ อง



“ The 95% Rule ”
146



                                      เกร็ดความรู้
                 ข้อมูลโดยทัวไปจะมีการแจกแจงปกติหรื อแจกแจงข้อมูลตามธรรมชาติ
                            ่
ซึ่ งมี คุณสมบัติที่สาคัญประการหนึ่ งซึ่ งจานวนข้อมูลอยู่ในช่ วง X  2s มี ประมาณ
ร้อยละ 96 ของจานวนข้อมูลทั้งหมด “The 95% Rule” กล่าวว่าโดยทัวไปไม่ว่าข้อมูล
                                                                      ่
                                            ่
จะมีการกระจายในลักษณะใดจะมีขอมูลอยูประมาณ 95% ของข้อมูลทั้งหมดอยูในช่วง
                                  ้                                         ่
X  2s ดังตัวอย่างต่อไปนี้

                                        ตัวอย่ าง
ตัวอย่ างที่ 1        จากแผนภาพต้น – ใบ ต่อไปนี้ จงตรวจสอบว่ามีขอมูลอยู่ในช่ วง
                                                                ้
                 X  2s และ X  2s ประมาณ 95% จริ งหรื อไม่



                  0   6   7   0
                  1   0   2   4
                  2   5   6   6677788888889
                  3   0   0   01111222223333
                  4   5   6   8

วิธีทา ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต X  เท่ากับ 27.78
                  ค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 9.17
                  เมื่อพิจารณาจานวนที่อยูในช่วง X  2s, X  2s
                                         ่
                        X  2s  27.78  29.17  9.44
                        X  2s  27.78  29.17  46.12
        จะพบว่ามีขอมูลที่มีค่าต่ากว่า 9.44 X  2s อยูสามข้อมูลได้แก่ 6, 7, และ 8
                     ้                                    ่
และมีขอมูลที่มีค่าสู งกว่า 46.12 X  2s อยูหนึ่งจานวน คือ 48
      ้                                       ่
           ข้อมูลทีมีค่าอยูระหว่าง X  2s และ
                            ่                        X  2s   มีท้ งหมด 40 – 4 หรื อ 36
                                                                   ั
ข้อมูลซึ่งคิดเป็ น 90% ของข้อมูลทั้งหมด
147



         สรุ ปได้ว่า ประมาณ 90% ของข้อมูลทั้งหมด ตกอยู่ในช่ วง X  2s ถึง
X  2s ซึ่ งไม่เป็ นตาม “The 95% Rule” เพราะว่าข้อมูลมีจานวนน้อยเกินไป

ตัวอย่ างที่ 2 จากข้อมูลคะแนนสอบของนักเรี ยน 200 คน ที่มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน
                                                         ่
               เป็ นดังนี้ จงแสดงว่ามีขอมูลประมาณ 96% อยูในช่วง X  2s
                                       ้
49 50 52 54 55 56 56 56 57 57 57 57 58 58 58 58 58 58 58 59
60 60 60 61 61 61 61 61 61 62 62 62 62 62 62 62 63 63 63 63 63 63 63
64 64 64 64 64 64 64 64 64 64 64 65 65 65 65 65 65 65 65 66 66 66
70 70 70 70 70 70 70 71 71 71 71 72 72 72 72 72 73 73 73 73 73
73 73 73 74 74 74 74 74 75 75 75 75 75 76 76 76 76 76 76 76 76 76 76
77 77 77 77 77 78 78 78 78 79 79 79 79 79 79 79 79 79 80 80 80 80 80
80 81 81 81 82 82 82 82 83 83 83 83 83 83 83 83 84 84 84 85 85 85 85
86 87 87 87 87 88 89 90 90 90 90 90 91 91 92 93 94 94 95 96 98

วิธีทา ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต   X  เท่ากับ 72.3 คะแนน
       ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน s  เท่ากับ 10.3 คะแนน
       เมื่อพิจารณาจานวนข้อมูลที่อยูในช่วง X  2s, X  2s
                                    ่
               X  2s  72.3  210.3  51.7
               X  2s  72.3  210.3  92.9
      จะพบว่ามีขอมูลที่มีค่าต่ากว่า 51.7 X  2s อยูสองข้อมูลได้แก่ 49 และ 50
                   ้                                 ่
และมีขอมูลที่มีค่าสู งกว่า 92.9 X  2s อยูหกข้อมูลได้แก่ 93, 94, 95, 95 และ 98
      ้                                        ่
ดังนั้นข้อมูลทีมีค่าอยูระหว่าง X - 2s และ X + 2s มีท้ งหมด 200 – 8 หรื อ 192 ข้อมูล
                       ่                              ั
ซึ่งคิดเป็ น 96% ของข้อมูลทั้งหมด
                  ่
         สรุ ปได้วา ประมาณ 96% ของข้อมูลทั้งหมดที่เป็ นคะแนนของนักเรี ยน 200 คน
       ่
ตกอยูในช่วง X - 2s ถึง X + 2s
148



                                  แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 5.4
  ข้อมูลต่อไปนี้ แสดงคะแนนสอบของนักเรี ยนจานวน 50 คน
     80 52 67 59 60 79 62 65 52 90 64 87 65 64 50 71 72
     64 71 67 40 56 74 69 97 67 81 77 77 57 35 86 71 99
     88 43 54 48 68 77 93 70 84 68 68 63 47 56 66 57 78
      จงใช้ขอมูลนี้ตอบคาถามข้อ 1 - 6
               ้
       1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต X  ของข้อมูลชุดนี้
            เท่ากับ…………………………………
       2. ค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน s  ของข้อมูลชุดนี้เท่ากับ……………………….
       3. ข้อ มู ล ที่ มี ค่ า ต่ า กว่ า X  2s มี ค่ า เท่ า กับ ................มี ………..ข้อ มู ล
            คือ…………………………..
       4. ข้อ มู ลที่ มี ค่ าสู ง กว่า X  2s                มี ค่า เท่ ากับ...............มี ………..ข้อ มู ล
            คือ………………………….
       5. ข้อมูลทีมีค่าอยูระหว่าง X  2s และ X  2s มี……………………ข้อมูล
                                    ่
                                                        ่
       6. คะแนนสอบของนักเรี ยนตกอยูในช่วง X  2s ถึง X  2s มีท้ งหมด                          ั
            ..................................ข้อมูล คิดเป็ นร้อยละ…………..ของข้อมูลทั้งหมด
       7. สรุ ปได้ว่าเป็ นตาม “The                          95%           Rule”หรื อไม่ ………………...
           เพราะว่า……………………………………………..

คะแนนเต็ม 12 คะแนน                          เธอคิดว่าความเสี่ ยงต่อการลงทุนของ
                                                                ่
                                             ครอบครัวเราตกอยูในช่วง X  2s
                                                 ถึง X  2s หรื อเปล่าเอ่ย
149



2. จงเติมข้ อมูลในตารางให้ สมบูรณ์

                      ค่าส่ วน
       ค่า X ของ
                     เบี่ยงเบน          หาค่าของ           หาค่าของ
ข้อที่ ข้อมูลชุด
                     มาตรฐาน             X  2s             X  2s
          หนึ่ง
                          (s)
 ตัว      60.7         2.15          = 60.7  22.15   = 60.7  22.15
อย่าง                                = 65               = 56.4
 1         77.6          12.2
 2        33.78         10.11
 3          78           9.13
 4         87.5           6.1
 5        54.77          7.21
 6        88.77          5.76
 7        159.5          12.6
 8        436.2         15.17
 9        49.15          11.7
 10        37.7          1.92

ให้คะแนนเต็ม 10 คะแนน
150




    แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 5.5




    การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น
                          ้


                     เรื่อง




ความสัมพันธ์ระหว่างการแจกแจงความถี่
    ค่ากลางและการกระจายข้อมูล

  การกระจายข้ อมูล




                              ค่ ากลาง
151




                                     เกร็ดความรู้
      โดยทัว ๆ ไปเส้นโค้งปกติของการแจกแจงความถี่ แบ่งออกได้ 3 ลักษณะ คือ
           ่
        1) เส้ นโค้ งปกติหรือรู ประฆังคว่า (Normal distribution) ข้อมูลที่มีเส้นโค้ง
             ความถี่ เป็ นเส้ นโค้งปกติ จะมี ค่ า เฉลี่ ยเลขคณิ ต มัธยฐาน และ ฐานนิ ย ม
             เท่ากัน
        2) เส้ นโค้ งเบ้ ทางขวา หรือทางบวก (Right-skewed distribution) คือ เส้นโค้งที่
             ส่ วนของเส้นโค้งมีความชันน้อยอยู่ทางด้านขวา ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตมีค่ามาก
             ที่สุด รองลงมา คือ มัธยฐาน และฐานนิยม ตามลาดับ
        3) เส้ นโค้ งเบ้ ทางซ้ าย หรือทางลบ (Left-skewed distribution) คือ เส้นโค้งที่
             ส่ วนของเส้นโค้งที่มีความชันน้อยอยู่ทางด้ายซ้าย ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตมีค่าน้อย
             ที่สุด ถัดขึ้นไป คือ มัธยฐาน และฐานนิยม ตามลาดับ

                                       ตัวอย่ าง
จงอธิบายความสัมพันธ์ของค่ากลางจากรู ปทั้งสามนี้

  1                                     2

                                                                       A
              3                                      4                     B
                                                                       ฤ



                                                             ่
      จากรู ปที่ 1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต มัธยฐาน และฐานนิยม อยูท่ีจุดเดียวกัน คือ จุดที่
มีความถี่สูงสุ ด นันคือ X  Mdn  Mod ดังนั้นจึงเป็ นเส้นโค้งปกติ
                   ่
152



                จากรู ปที่ 2 เส้นโค้ง ที่ ส่วนของเส้นโค้งมี ความชัน น้อยอยู่ทางด้านขวา
แสดงว่ า ค่ า เฉลี่ ย เลขคณิ ต มี ค่ า มากที่ สุ ด รองลงมา คื อ มัธ ยฐาน และฐานนิ ย ม
ตามลาดับนันเอง นันคือ X > Mdn > Mod ดังนั้นจึงเป็ นเส้นโค้งเบ้ขวา
                 ่       ่
           จากรู ปที่ 3 เส้นโค้งที่ส่วนของเส้นโค้งที่มีความชันน้อยอยูทางด้ายซ้าย แสดงว่า
                                                                        ่
ค่ า เฉลี่ ย เลขคณิ ตมี ค่ า น้อ ยที่ สุ ด ถัด ขึ้ นไป คื อ มัธ ยฐาน และฐานนิ ย ม ตามล าดับ
นันคือ X < Mdn < Mod ดังนั้นจึงเป็ นเส้นโค้งเบ้ซาย
   ่                                                               ้
        ส่ วนรู ปที่ 4 เป็ นเส้นโค้งปกติ 2 เส้น แต่มีการกระจายต่างกัน นันคือ ข้อมูลชุด B
                                                                             ่
มี ก ารกระจายมากเนื่ อ งจากเส้ น โค้ง ปกติ จ ะมี ค วามโด่ ง น้ อ ย หรื อ ค่ อ นข้า งแบน
ส่ วนข้อมูลชุด A มีการกระจายน้อยเนื่องจากเส้นโค้งปกติจะมีความโด่งมาก
            ข้ อสั งเกต
                                                                           ่
                      1. เส้นโค้งของความถี่เบ้ทางใด ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตจะอยูทางนั้น
                                               ่
                         และมัธยฐานจะอยูระหว่างค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต กับ ฐานนิยม
                      2. ใช้สัญลักษณ์
                             X         แทน ค่าเฉลี่ย
                             Mdn แทน มัธยฐาน
                             Mod แทน ฐานนิยม


                             แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 5.5
คาชี้แจง    ให้นกเรี ยนเติมคาตอบที่ถูกต้อง ลงในช่ องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ ให้ถูกต้อง
                ั
           สมบูรณ์

 รู ปที่ 1 ใช้ตอบคาถามข้อ 1 - 4




                             A      B C         D      E
153




   1.                         ่
         ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต อยูตรงกับตาแหน่ง……………………………
   2.                  ่
        ค่ามัธยฐาน อยูตรงกับตาแหน่ง…………………………………
   3.                    ่
        ค่าฐานนิยม อยูตรงตาแหน่ง……………………………………
   4.   เป็ นเส้นโค้งความถี่ประเภท……………………………………


รู ปที่ 2 ใช้ตอบคาถามข้อ 5 - 8



                                          A   B   C D E

   5.                        ่
        ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต อยูตรงกับตาแหน่ง………………………………
   6.                   ่
        ค่ามัธยฐาน อยูตรงกับตาแหน่ง……………………………………
   7.                     ่
        ค่าฐานนิยม อยูตรงตาแหน่ง………………………………………
   8.   เป็ นเส้นโค้งความถี่ประเภท………………………………………

รู ปที่ 3 ใช้ตอบคาถามข้อ 9 - 12




                 A     B     C    D   E

                           ่
   9. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต อยูตรงกับตาแหน่ง………………………………
                      ่
   10. ค่ามัธยฐาน อยูตรงกับตาแหน่ง……………………………………
154



                         ่
     11. ค่าฐานนิยม อยูตรงตาแหน่ง………………………………………
     12. เป็ นเส้นโค้งความถี่ประเภท……………………………………….



รู ปที่ 4 ใช้ตอบคาถามข้อ 13
                               D
                                   E
                                    F


     13. จากรู ปจงเรี ยงอักษรที่มีการกระจายของข้อมูลจากน้อยไปหามาก
         …………………………………………………………………………



                                               คะแนนเต็ม
                                               13 คะแนน
                                          เธอต้องช่วยอธิ บาย
                                             ให้เราเข้าใจนะ
                                          จะได้ทาคะแนนได้
                                           มากๆ เพื่อที่จะได้
                                          แสดงความกตัญญู
                                           ต่อพ่อและแม่ที่ส่ง
                                              ให้เรามาเรี ยน

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
kruood
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
Dhanee Chant
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
krupornpana55
 
ใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงานใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงาน
KrooIndy Csaru
 
ชุดที่ 4
ชุดที่ 4 ชุดที่ 4
ชุดที่ 4
krurutsamee
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ทับทิม เจริญตา
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
NU
 
2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx
2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx
2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx
JessadarLuksoom
 

La actualidad más candente (20)

แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
G6 Maths Circle
G6 Maths CircleG6 Maths Circle
G6 Maths Circle
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความ
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
 
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนาโครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
 
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
คิดเลขเร็วแข่งขันป.6
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 
ใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงานใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงาน
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
ชุดที่ 4
ชุดที่ 4 ชุดที่ 4
ชุดที่ 4
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx
2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx
2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx
 

Destacado

2.91 แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91  แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91  แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์
othanatoso
 
การแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติการแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติ
pattya0207
 
ค่าประมาณและการประมาณค่า
ค่าประมาณและการประมาณค่าค่าประมาณและการประมาณค่า
ค่าประมาณและการประมาณค่า
Jiraprapa Suwannajak
 
ใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่า
kanjana2536
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
Jiraprapa Suwannajak
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
AomJi Math-ed
 
แบบฝึกหัดเรื่อง อาหารและสารอาหาร1
แบบฝึกหัดเรื่อง อาหารและสารอาหาร1แบบฝึกหัดเรื่อง อาหารและสารอาหาร1
แบบฝึกหัดเรื่อง อาหารและสารอาหาร1
nonglakkrubom
 

Destacado (20)

6 statistic
6 statistic6 statistic
6 statistic
 
Final 32101 53
Final 32101 53Final 32101 53
Final 32101 53
 
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์381 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
2.91 แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91  แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91  แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
การแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติการแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติ
 
ค32201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติมม.5เทอม1
ค32201  คณิตศาสตร์เพิ่มเติมม.5เทอม1ค32201  คณิตศาสตร์เพิ่มเติมม.5เทอม1
ค32201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติมม.5เทอม1
 
ค่าประมาณและการประมาณค่า
ค่าประมาณและการประมาณค่าค่าประมาณและการประมาณค่า
ค่าประมาณและการประมาณค่า
 
Frequence
FrequenceFrequence
Frequence
 
Pretest
PretestPretest
Pretest
 
ใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่า
 
Stat
StatStat
Stat
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
Stat2
Stat2Stat2
Stat2
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
แบบฝึกหัดเรื่อง อาหารและสารอาหาร1
แบบฝึกหัดเรื่อง อาหารและสารอาหาร1แบบฝึกหัดเรื่อง อาหารและสารอาหาร1
แบบฝึกหัดเรื่อง อาหารและสารอาหาร1
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
 
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
 
แบบฝึกเสริมทักษะป.6
แบบฝึกเสริมทักษะป.6แบบฝึกเสริมทักษะป.6
แบบฝึกเสริมทักษะป.6
 

Similar a 7 statistic

หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังหน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
Fern Baa
 

Similar a 7 statistic (20)

10
10 10
10
 
Epi info unit09
Epi info unit09Epi info unit09
Epi info unit09
 
Statistic1
Statistic1Statistic1
Statistic1
 
ค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐานค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐาน
 
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
 
ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6ค่ามาตรฐาน ม.6
ค่ามาตรฐาน ม.6
 
80 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์2
80 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์280 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์2
80 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์2
 
statistic_research.ppt
statistic_research.pptstatistic_research.ppt
statistic_research.ppt
 
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
 
Chapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statisticChapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statistic
 
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังหน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
Week 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_frameworkWeek 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_framework
 
สถิติเชิงพรรณนา
สถิติเชิงพรรณนาสถิติเชิงพรรณนา
สถิติเชิงพรรณนา
 
การวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูลการวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายของข้อมูล
 
Ch06(stat1 normal curve(ok)
Ch06(stat1 normal curve(ok)Ch06(stat1 normal curve(ok)
Ch06(stat1 normal curve(ok)
 
Inferential Statistics & Regression
Inferential Statistics & RegressionInferential Statistics & Regression
Inferential Statistics & Regression
 
Spss
SpssSpss
Spss
 
ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6
 

Más de Aon Narinchoti

Más de Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

7 statistic

  • 1. แบบฝึ กเสริมทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 เรื่อง การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น ้ ชุ ดที่ 5 การวัดการกระจายของข้ อมูล โดย นายปกรณ์ สิทธิ์ อุ่นทรัพย์ ครู โรงเรียนบ่ อกรุวทยา ิ สานักงานเขตพืนที่การศึกษาสุ พรรณบุรี เขต 3 ้
  • 2. 133 แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 5.1 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น ้ เรื่อง พิสัย (Range)
  • 3. 134 เกร็ดความรู้ พิสัย (Range) คือ ค่าที่ใช้วดการกระจายที่ได้จากผลต่างระหว่างข้อมูลที่มี ั ค่าสู งสุ ดและข้อมูลที่มีค่าต่าสุ ด และเป็ นการวัดการกระจายข้อมูลที่ค่อนข้างหยาบ เพราะเป็ นค่าที่คานวณจากค่าเพียงสองค่าเท่านั้น แต่การวัดการกระจายโดยใช้พสัย ิ สามารถวัดได้สะดวกและรวดเร็วกว่าวิธีอื่น ๆ สามารถหาได้จากสู ตร พิสัย = X max  X min ตัวอย่ าง จากการตรวจสอบความสู งของนักเรี ยนหญิงกลุ่มหนึ่ งเมื่อวัดเป็ นเซนติเมตรได้ ข้อมูลเป็ นดังนี้ 159, 157 , 152, 157, 150, 151, 149, 154 จงหาค่าพิสัยจากข้อมูลชุดนี้ จากข้อมูลดังกล่าวนักเรี ยนคนที่สูงที่สุดสู ง 159 เซนติเมตร และนักเรี ยนหญิง ที่ต่าที่สุดสู ง 149 เซนติเมตร หาค่าพิสยได้จาก X max  X min ั ดังนั้น ค่าพิสัยของความสู งนักเรี ยนหญิงกลุ่มนี้ = 159 – 149 = 10 หนูสูงที่สุด หนูต่าที่สุด 149 154 157 152 150 151 159 157
  • 4. 135 แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 5.1 จากตารางข้อมูลข้างล่างนี้ ให้นกเรี ยนหาค่าพิสัยโดยเติมข้อความลงในช่ องว่าง ั ให้ถูกต้อง ข้อที่ ข้อมูล ค่าสู งสุ ด ค่าต่าสุ ด พิสัย 1 11, 14, 14, 15, 19, 20, 21, 24, 26, 42 2 20, 35, 150, 80, 10, 9, 36, 15 3 3, 5, 9, 12, 15 4 2, 6, 8, 12, 18, 20, 22, 30, 40 5 9, 14, 6, 8, 12 ,5 ,8, 8, 6, 11 6 2.5, 3.5, 4.5, 8.5, 9.5, 10.5, 12.5 7 11.2, 8.2, 7.2, 12.2, 14.2, 13.2,16.2, 17.2, 18.2, 6.2, 5.2, 4.2 8 150, 152, 154, 156, 158, 160 9 26, 25, 48, 57, 60, 68, 73, 85, 90, 92 10 13 8 9 7 7 14 3 4 5 5 6 15 5 8 1 3 2 1 1 4 16 1 3 2 คะแนนเต็ม 10 คะแนน
  • 5. 136 แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 5.2 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น ้ เรื่อง ส่ วนเบียงเบนมาตรฐาน ่  X i  X  N N  X 2i 2 i 1 2 i 1 X N N X X S.D. = s = ???? N
  • 6. 137 เกร็ดความรู้ ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) เป็ นค่าที่ใช้วดการกระจายของ ั ข้อมูลที่ได้จากการหารากที่สองของค่าเฉลี่ยยกกาลังสองของผลต่างระหว่างค่าของข้อมูล แต่ละค่ากับค่าเฉลี่ยของข้อมูลชุดนั้น ซึ่งเป็ นวิธีการวัดการกระจายที่นิยม และเชื่อถือได้ มากที่สุด  X i  X  N 2 N  Xi 2 หาได้จากสู ตร s = i 1 หรื อ สู ตร s = i 1 X 2 N N หรื อเขียนในรู ปย่อได้ดงนี้ ั  (X  X ) 2 s = หรื อ s =  X 2  (X) 2 N N สรุ ปได้ว่า ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็ นการวัดการกระจายของข้อมูล ที่คานวณ จากข้อมูลทุกตัวโดยหาว่า โดยเฉลี่ยแล้วข้อมูลแต่ละค่าอยู่ห่างจากค่าเฉลี่ย ( X ) ของ ข้อมูลชุ ดนั้นมากน้อยเพียงใด กล่าวคือ ถ้าข้อมูลทุกตัวมีค่าเท่ากันหมด ค่า s เท่ากับ 0 แสดงว่าข้อมูลไม่มีการกระจายเลย ถ้าข้อมูลแต่ละตัวมีค่าใกล้เคียงกัน จะมีค่า s น้อยไปด้วย แสดงว่าข้อมูลมีการกระจายน้อย ถ้าข้อมูลแต่ละตัวมีค่าแตกต่างกันมาก จะมีค่า s มากไป ด้วย แสดงว่าข้อมูลมีการกระจายมาก ตัวอย่ าง จงหาส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูล 5, 6, 6, 6, 7, 8 วิธีทา 1) หา X ก่อน จากสู ตร X = X N 566678 = 6 = 38 6 = 6.3
  • 7. 138 2) หา XX และ X  X2 จากตาราง ดังนี้ ค่ า X XX X  X2 5 5 - 6.33 = 1.33 1.33 2 = 1.77 6 6 – 6.33 = - 0.33  0.33 2 =0.11 6 6 – 6.33 = - 0.33  0.33 2 =0.11 6 6 – 6.33 = - 0.33  0.33 2 =0.11 7 7 – 6.33 = 0.67 0.67 2 = 0.45 8 8 – 6.33 = 1.67 1.67 2 = 2.79   XX 2 5.34  (X  X ) 2 3) หา s จากสู ตร s = N แทนค่า s = 5.34 6 = 0.89 = 0.94 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูล เท่ากัน 0.94
  • 8. 139 หรื อ หาจากสู ตร s =  X 2  (X) 2 โดยหาค่า  X 2 จากตารางต่อไปนี้ N ค่ า X X2 5 5 5 = 25 6 6 6 = 36 6 6 6 = 36 6 6 6 = 36 7 7 7 = 49 8 8 8 = 64  X2 246 หาค่า 2 X  6.33  6.33 = 40.07 แทนค่าสู ตร s =  X 2  (X) 2 N s = 246  40 . 07 6 s = 41  40 .07 s = 0 . 93 s = 0.96 เมื่อนาค่าทั้งสองสู ตรมาเทียบแล้วจะใกล้เคียงเนื่องจากค่า X เป็ นค่าไม่ลงตัว ที่จริ งแล้วจะได้ 6.33… จะทาให้เกิดค่าผิดพลาดเล็กน้อย ดังนั้นเราจึงนิยมหาจากสู ตรแรก ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานก็ คือการวัดการกระจายของ ผลต่างระหว่างค่าของ ข้อมูลหรื อเปล่า แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 5.2
  • 9. 140 5.2.1 จงหาส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐานของอายุบุตรครอบครั วหนึ่ งซึ่ งมีดังนี้ 3, 5, 11, 13, 18 (โดยใช้สูตรแรกสู ตรเดียว) ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… คะแนนเต็ม 10 คะแนน 5.2.2 ให้นกเรี ยนหาส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของข้อมูลแต่ละข้อต่อไปนี้เติมลง ั ในช่องว่างให้ถกต้องสมบูรณ์ ู
  • 10. 141 ข้ อ ส่ วนเบี่ยงเบน ข้ อมูล  X  X  2 ที่ X มาตรฐาน ( s ) Ex 2, 3, 5, 4 14 = 3.5 2.25+0.25+2.25+0.25 5  1.25 = 1.12 4 4 =5 1 4, 5, 6, 9 2 3, 4, 5, 6 3 1, 3, 6, 4, 8, 3, 5, 2 4 2, 4, 7, 5, 9, 4, 6, 3 5 13, 9, 14, 6, 8, 11, 5, 8, 8, 6, 11, 9 6 3, 5, 7, 9 7 6, 8, 4, 2, 7, 3 8 2, 4, 14, 15, 20, 53, 71, 101 9 5.2, 1.8, 7.1, 7.1 10 157, 156, 160, 156, 175, 160, 156 คะแนนเต็ม 10 คะแนน
  • 11. 142 แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 5.3 การวิเคราะห์ขอมูลเบื้องต้น ้ เรื่ อง ความแปรปรวน 3, 4, 6, 7,..., 5 s2    XX 2 N
  • 12. 143 เกร็ดความรู้ ความแปรปรวน (Variance) เป็ นค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานยกกาลังสอง ซึ่ง ความแปรปรวนสามรถใช้วดการกระจายของข้อมูลได้ ใช้สัญลักษณ์ s 2 หรื อ S.D.2 ั หมายความว่า ค่าเฉลี่ยของกาลังสองของความแตกต่างของข้อมูลแต่ละตัวที่แตกต่างไป จากค่ า เฉลี่ ย ของข้อ มู ล ชุ ด นั้น ซึ่ งส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานเป็ นรากที่ ส องของความ แปรปรวน ตัวอย่ าง กาหนดข้อมูลเป็ น 3 5 7 9 11 จงหาความแปรปรวนของข้อมูลชุดนี้  X  X  2 วิธีทา วิธีที่ 1 ใช้สูตร s  2 N X X N 3  5  7  9  11  5  s2  3  7 2  5  7 2  7  7 2  9  7 2  11  7 2 5 16  4  0  4  16  5 8 วิธีที่ 2 ใช้สูตร s2   x2  X N   2   X 2  32  52  7 2  9 2  112  285 แทนค่า s2  285  7 2 5  57  49 8
  • 13. 144 แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 5.3 ให้นกเรี ยนหาคาความแปรปรวนของข้อมูลแต่ละข้อต่อไปนี้ แล้วเติมลงในช่องว่างให้ ั สมบูรณ์ ความ ข้ อ ข้ อมูล  X  X  แปรปรวน 2 N X s  2 Ex. 5, 7, 8, 4 4 6 5  62  7  62  8  62 + 10 4 = 2.5 4  62 = 1+1+4+4 = 10 1 12, 13, 17, 18 2 3, 5, 7, 9, 11, 13, 15 3 2, 4, 8, 16, 32, 64, 7 4 8, 6, 32, 64, 128, 254 5 10, 20, 30, 40, 50 คะแนนเต็ม 10 คะแนน
  • 14. 145 แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 5.4 การวิเคราะห์ขอมูลเบื้องต้น ้ เรื่ อง “ The 95% Rule ”
  • 15. 146 เกร็ดความรู้ ข้อมูลโดยทัวไปจะมีการแจกแจงปกติหรื อแจกแจงข้อมูลตามธรรมชาติ ่ ซึ่ งมี คุณสมบัติที่สาคัญประการหนึ่ งซึ่ งจานวนข้อมูลอยู่ในช่ วง X  2s มี ประมาณ ร้อยละ 96 ของจานวนข้อมูลทั้งหมด “The 95% Rule” กล่าวว่าโดยทัวไปไม่ว่าข้อมูล ่ ่ จะมีการกระจายในลักษณะใดจะมีขอมูลอยูประมาณ 95% ของข้อมูลทั้งหมดอยูในช่วง ้ ่ X  2s ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่ าง ตัวอย่ างที่ 1 จากแผนภาพต้น – ใบ ต่อไปนี้ จงตรวจสอบว่ามีขอมูลอยู่ในช่ วง ้ X  2s และ X  2s ประมาณ 95% จริ งหรื อไม่ 0 6 7 0 1 0 2 4 2 5 6 6677788888889 3 0 0 01111222223333 4 5 6 8 วิธีทา ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต X  เท่ากับ 27.78 ค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 9.17 เมื่อพิจารณาจานวนที่อยูในช่วง X  2s, X  2s ่ X  2s  27.78  29.17  9.44 X  2s  27.78  29.17  46.12 จะพบว่ามีขอมูลที่มีค่าต่ากว่า 9.44 X  2s อยูสามข้อมูลได้แก่ 6, 7, และ 8 ้ ่ และมีขอมูลที่มีค่าสู งกว่า 46.12 X  2s อยูหนึ่งจานวน คือ 48 ้ ่  ข้อมูลทีมีค่าอยูระหว่าง X  2s และ ่ X  2s มีท้ งหมด 40 – 4 หรื อ 36 ั ข้อมูลซึ่งคิดเป็ น 90% ของข้อมูลทั้งหมด
  • 16. 147 สรุ ปได้ว่า ประมาณ 90% ของข้อมูลทั้งหมด ตกอยู่ในช่ วง X  2s ถึง X  2s ซึ่ งไม่เป็ นตาม “The 95% Rule” เพราะว่าข้อมูลมีจานวนน้อยเกินไป ตัวอย่ างที่ 2 จากข้อมูลคะแนนสอบของนักเรี ยน 200 คน ที่มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน ่ เป็ นดังนี้ จงแสดงว่ามีขอมูลประมาณ 96% อยูในช่วง X  2s ้ 49 50 52 54 55 56 56 56 57 57 57 57 58 58 58 58 58 58 58 59 60 60 60 61 61 61 61 61 61 62 62 62 62 62 62 62 63 63 63 63 63 63 63 64 64 64 64 64 64 64 64 64 64 64 65 65 65 65 65 65 65 65 66 66 66 70 70 70 70 70 70 70 71 71 71 71 72 72 72 72 72 73 73 73 73 73 73 73 73 74 74 74 74 74 75 75 75 75 75 76 76 76 76 76 76 76 76 76 76 77 77 77 77 77 78 78 78 78 79 79 79 79 79 79 79 79 79 80 80 80 80 80 80 81 81 81 82 82 82 82 83 83 83 83 83 83 83 83 84 84 84 85 85 85 85 86 87 87 87 87 88 89 90 90 90 90 90 91 91 92 93 94 94 95 96 98 วิธีทา ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต X  เท่ากับ 72.3 คะแนน ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน s  เท่ากับ 10.3 คะแนน เมื่อพิจารณาจานวนข้อมูลที่อยูในช่วง X  2s, X  2s ่ X  2s  72.3  210.3  51.7 X  2s  72.3  210.3  92.9 จะพบว่ามีขอมูลที่มีค่าต่ากว่า 51.7 X  2s อยูสองข้อมูลได้แก่ 49 และ 50 ้ ่ และมีขอมูลที่มีค่าสู งกว่า 92.9 X  2s อยูหกข้อมูลได้แก่ 93, 94, 95, 95 และ 98 ้ ่ ดังนั้นข้อมูลทีมีค่าอยูระหว่าง X - 2s และ X + 2s มีท้ งหมด 200 – 8 หรื อ 192 ข้อมูล ่ ั ซึ่งคิดเป็ น 96% ของข้อมูลทั้งหมด ่ สรุ ปได้วา ประมาณ 96% ของข้อมูลทั้งหมดที่เป็ นคะแนนของนักเรี ยน 200 คน ่ ตกอยูในช่วง X - 2s ถึง X + 2s
  • 17. 148 แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 5.4 ข้อมูลต่อไปนี้ แสดงคะแนนสอบของนักเรี ยนจานวน 50 คน 80 52 67 59 60 79 62 65 52 90 64 87 65 64 50 71 72 64 71 67 40 56 74 69 97 67 81 77 77 57 35 86 71 99 88 43 54 48 68 77 93 70 84 68 68 63 47 56 66 57 78 จงใช้ขอมูลนี้ตอบคาถามข้อ 1 - 6 ้ 1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต X  ของข้อมูลชุดนี้ เท่ากับ………………………………… 2. ค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน s  ของข้อมูลชุดนี้เท่ากับ………………………. 3. ข้อ มู ล ที่ มี ค่ า ต่ า กว่ า X  2s มี ค่ า เท่ า กับ ................มี ………..ข้อ มู ล คือ………………………….. 4. ข้อ มู ลที่ มี ค่ าสู ง กว่า X  2s มี ค่า เท่ ากับ...............มี ………..ข้อ มู ล คือ…………………………. 5. ข้อมูลทีมีค่าอยูระหว่าง X  2s และ X  2s มี……………………ข้อมูล ่ ่ 6. คะแนนสอบของนักเรี ยนตกอยูในช่วง X  2s ถึง X  2s มีท้ งหมด ั ..................................ข้อมูล คิดเป็ นร้อยละ…………..ของข้อมูลทั้งหมด 7. สรุ ปได้ว่าเป็ นตาม “The 95% Rule”หรื อไม่ ………………... เพราะว่า…………………………………………….. คะแนนเต็ม 12 คะแนน เธอคิดว่าความเสี่ ยงต่อการลงทุนของ ่ ครอบครัวเราตกอยูในช่วง X  2s ถึง X  2s หรื อเปล่าเอ่ย
  • 18. 149 2. จงเติมข้ อมูลในตารางให้ สมบูรณ์ ค่าส่ วน ค่า X ของ เบี่ยงเบน หาค่าของ หาค่าของ ข้อที่ ข้อมูลชุด มาตรฐาน X  2s X  2s หนึ่ง (s) ตัว 60.7 2.15 = 60.7  22.15 = 60.7  22.15 อย่าง = 65 = 56.4 1 77.6 12.2 2 33.78 10.11 3 78 9.13 4 87.5 6.1 5 54.77 7.21 6 88.77 5.76 7 159.5 12.6 8 436.2 15.17 9 49.15 11.7 10 37.7 1.92 ให้คะแนนเต็ม 10 คะแนน
  • 19. 150 แบบฝึ กเสริมทักษะชุดที่ 5.5 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบืองต้ น ้ เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างการแจกแจงความถี่ ค่ากลางและการกระจายข้อมูล การกระจายข้ อมูล ค่ ากลาง
  • 20. 151 เกร็ดความรู้ โดยทัว ๆ ไปเส้นโค้งปกติของการแจกแจงความถี่ แบ่งออกได้ 3 ลักษณะ คือ ่ 1) เส้ นโค้ งปกติหรือรู ประฆังคว่า (Normal distribution) ข้อมูลที่มีเส้นโค้ง ความถี่ เป็ นเส้ นโค้งปกติ จะมี ค่ า เฉลี่ ยเลขคณิ ต มัธยฐาน และ ฐานนิ ย ม เท่ากัน 2) เส้ นโค้ งเบ้ ทางขวา หรือทางบวก (Right-skewed distribution) คือ เส้นโค้งที่ ส่ วนของเส้นโค้งมีความชันน้อยอยู่ทางด้านขวา ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตมีค่ามาก ที่สุด รองลงมา คือ มัธยฐาน และฐานนิยม ตามลาดับ 3) เส้ นโค้ งเบ้ ทางซ้ าย หรือทางลบ (Left-skewed distribution) คือ เส้นโค้งที่ ส่ วนของเส้นโค้งที่มีความชันน้อยอยู่ทางด้ายซ้าย ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตมีค่าน้อย ที่สุด ถัดขึ้นไป คือ มัธยฐาน และฐานนิยม ตามลาดับ ตัวอย่ าง จงอธิบายความสัมพันธ์ของค่ากลางจากรู ปทั้งสามนี้ 1 2 A 3 4 B ฤ ่ จากรู ปที่ 1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต มัธยฐาน และฐานนิยม อยูท่ีจุดเดียวกัน คือ จุดที่ มีความถี่สูงสุ ด นันคือ X  Mdn  Mod ดังนั้นจึงเป็ นเส้นโค้งปกติ ่
  • 21. 152 จากรู ปที่ 2 เส้นโค้ง ที่ ส่วนของเส้นโค้งมี ความชัน น้อยอยู่ทางด้านขวา แสดงว่ า ค่ า เฉลี่ ย เลขคณิ ต มี ค่ า มากที่ สุ ด รองลงมา คื อ มัธ ยฐาน และฐานนิ ย ม ตามลาดับนันเอง นันคือ X > Mdn > Mod ดังนั้นจึงเป็ นเส้นโค้งเบ้ขวา ่ ่ จากรู ปที่ 3 เส้นโค้งที่ส่วนของเส้นโค้งที่มีความชันน้อยอยูทางด้ายซ้าย แสดงว่า ่ ค่ า เฉลี่ ย เลขคณิ ตมี ค่ า น้อ ยที่ สุ ด ถัด ขึ้ นไป คื อ มัธ ยฐาน และฐานนิ ย ม ตามล าดับ นันคือ X < Mdn < Mod ดังนั้นจึงเป็ นเส้นโค้งเบ้ซาย ่ ้ ส่ วนรู ปที่ 4 เป็ นเส้นโค้งปกติ 2 เส้น แต่มีการกระจายต่างกัน นันคือ ข้อมูลชุด B ่ มี ก ารกระจายมากเนื่ อ งจากเส้ น โค้ง ปกติ จ ะมี ค วามโด่ ง น้ อ ย หรื อ ค่ อ นข้า งแบน ส่ วนข้อมูลชุด A มีการกระจายน้อยเนื่องจากเส้นโค้งปกติจะมีความโด่งมาก ข้ อสั งเกต ่ 1. เส้นโค้งของความถี่เบ้ทางใด ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตจะอยูทางนั้น ่ และมัธยฐานจะอยูระหว่างค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต กับ ฐานนิยม 2. ใช้สัญลักษณ์ X แทน ค่าเฉลี่ย Mdn แทน มัธยฐาน Mod แทน ฐานนิยม แบบฝึ กเสริมทักษะที่ 5.5 คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเติมคาตอบที่ถูกต้อง ลงในช่ องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ ให้ถูกต้อง ั สมบูรณ์ รู ปที่ 1 ใช้ตอบคาถามข้อ 1 - 4 A B C D E
  • 22. 153 1. ่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต อยูตรงกับตาแหน่ง…………………………… 2. ่ ค่ามัธยฐาน อยูตรงกับตาแหน่ง………………………………… 3. ่ ค่าฐานนิยม อยูตรงตาแหน่ง…………………………………… 4. เป็ นเส้นโค้งความถี่ประเภท…………………………………… รู ปที่ 2 ใช้ตอบคาถามข้อ 5 - 8 A B C D E 5. ่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต อยูตรงกับตาแหน่ง……………………………… 6. ่ ค่ามัธยฐาน อยูตรงกับตาแหน่ง…………………………………… 7. ่ ค่าฐานนิยม อยูตรงตาแหน่ง……………………………………… 8. เป็ นเส้นโค้งความถี่ประเภท……………………………………… รู ปที่ 3 ใช้ตอบคาถามข้อ 9 - 12 A B C D E ่ 9. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต อยูตรงกับตาแหน่ง……………………………… ่ 10. ค่ามัธยฐาน อยูตรงกับตาแหน่ง……………………………………
  • 23. 154 ่ 11. ค่าฐานนิยม อยูตรงตาแหน่ง……………………………………… 12. เป็ นเส้นโค้งความถี่ประเภท………………………………………. รู ปที่ 4 ใช้ตอบคาถามข้อ 13 D E F 13. จากรู ปจงเรี ยงอักษรที่มีการกระจายของข้อมูลจากน้อยไปหามาก ………………………………………………………………………… คะแนนเต็ม 13 คะแนน เธอต้องช่วยอธิ บาย ให้เราเข้าใจนะ จะได้ทาคะแนนได้ มากๆ เพื่อที่จะได้ แสดงความกตัญญู ต่อพ่อและแม่ที่ส่ง ให้เรามาเรี ยน