SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 14
Descargar para leer sin conexión
เอกสารประกอบการบรรยาย
คณิตศาสตร์เสริม หลักสูตร EP
◙ โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด




     4         ประกอบสาระการเรียนรู้ พื้นฐาน
               ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


           ความสัมพันธ์ และ ฟังก์ชน
                                  ั
               (Relation and Function)




                                อ.วัฒนา เถาว์ทิพย์
                                  ◙ ภาควิชาคณิตศาสตร์
                                 มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP       โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด    ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4         หน้ า 1



                                        1     ความสั มพันธ์ และ ฟังก์ ชัน (Relation and Function)

                                        ความรู้พื้นฐาน (Basic Background)
    Who is George
    Cantor?                             ความหมายของเซต
                                                     ในวิชาคณิ ตศาสตร์ เราใช้คาว่า “เซต” เพื่อบ่งบอกถึงกลุ่มของสิ่ งต่างๆ โดย
                                        ต้องทราบอย่างแน่ชดว่า สิ่ งใดอยูในกลุ่ม และ สิ่ งใดไม่อยูในกลุ่มที่เรากล่าว และ เรี ยก
                                                                ั          ่                      ่
                                        สิ่ งที่อยูในเซตนั้นว่า สมาชิก
                                                   ่
                                        สั บเซต(Subset)
                                        บทนิยาม A เป็ นสับเซตของ B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็ นสมาชิกของ B
   …………………                                           A เป็ นสับเซตของ B เขียนแทนด้วย A  B
   …………………
   …………………                                           แต่ B  A เรี ยกว่า B เป็ น Supper set ของ A
   …………………                                           และ A ไม่เป็ นสับเซตของ B เขียนแทนด้วย A  B
   …………………
   …………………
                                        ข้ อตกลงเบืองต้นเกียวกับเซต
                                                   ้       ่
   …………………                              (1) เซตว่าง เป็ นสับเซตของทุกๆ เซต นันคือ   A เมื่อ A เป็ นเซตใดๆ
                                                                             ่
                                        (2) เซตทุกเซตเป็ นสับเซตของตัวมันเอง นันคือ A  A เมื่อ A เป็ นเซตใดๆ
                                                                               ่


◙True or False ?
                                        การหาจานวนสับเซต
1. a  a
      2                                 เซตที่มีสมาชิก k ตัว มีจานวนสับเซตทั้งหมด 2k สับเซต
2. 3.99999… is an integer               เพาเวอร์ เซต (Power set)
3. 27 is an integer.
    9                                   บทนิยาม ถ้า A เป็ นเซตใด เพาเวอร์ เซตของ A คือเซตของสับเซตของ A และเขียนแทน
4.   121 is an integer.                 ด้วย P(A)
5.   1.21 is a rational
number.                                             นันคือ P(A) ={x x  A}
                                                      ่
6. 12 is a rational                     ยูเนียน (Union)
number.
7. 2 is an irrational                   ให้ A และ B เป็ นเซตใดๆ
number.
                                              A  B  {x x  A หรื อ x  B หรื อ x เป็ นสมาชิกของทั้งสองเซต}
8. 3.99999...  2
                                        อินเตอร์ เซกชัน (Intersection)
☼ How to prove that                     ให้ A และ B เป็ นเซตใดๆ
3.9999...  4                                  A  B  {x x  A และ x  B}
…………………………                              ผลต่ าง และ คอมพลีเมนต์ (Difference and Complement)
…………………………                              ให้ A และ B เป็ นเซตใดๆ และ U เป็ นเอกภพสัมพัทธ์
…………………………
…………………………                                         A  B  {x x  A และ x  B}
…………………………
…………………………                                         A  B  {x x  B และ x  A}
…………………………
…………………………                              และ        A = U - A
………………………
………………………
………………………
   เรื่ อง Relations
………………………and Functions                                                 1 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
………………
คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP       โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด    ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4         หน้ า 2




                                            1.1 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน (Relation and Function)

                                            ความสั มพันธ์ (Relation )
True or False?
                                            ให้ A และ B เป็ นเซตใดๆ
(1) 1, 2,3  3, 2,1                           A  B  (a, b) a  A and b  B

(2) 1, 2,3  1, 2,3,1                   ถ้า r  A  B จะเรี ยก r ว่าความสัมพันธ์จาก A ไป B
(3) 1, 2,3  1, 2,1                      หมายเหตุ
(4) 1, 2,3  1, 2, 2,3
                                            ถ้า A มีสมาชิก m และ B มีสมาชิก n ตัว
(5) 1, 2,3  1,1, 2, 2,3,3
                                            จะมีความสัมพันธ์จาก A ไป B ทั้งหมด ................... ความสัมพันธ์
                                            และมีความสัมพันธ์จาก A ไป A ทั้งหมด ................... ความสัมพันธ์
(6) a a , b, a, b
                                            โดเมน และ เรนจ์ (Domain and Range)
(7) a a , b, a, b
                                            ให้ r ว่าความสัมพันธ์จาก A ไป B โดยที่ r  A  B
(8) b a , b, a, b
                                            โดเมนของ r เขียนแทนด้วย Dr โดยที่ Dr   x ( x, y)  r
(9) b a , b, a, b
(10) b a , b, b , a, b           เรนจ์ของ r เขียนแทนด้วย Rr โดยที่ Rr   y ( x, y)  r
(11) a, b a , b, a, b              Ex: ให้หาโดเมนและ เรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้
(12) a a , b, a, b                   ฟังก์ ชัน (Function)
                                            ฟังก์ชน คือ ความสัมพันธ์ที่สมาชิกในโดเมนแต่ละตัวจับคู่กบสมาชิกในเรนจ์ ของ
                                                    ั                                                  ั
                                            ความสัมพันธ์เพียงตัวเดี่ยวเท่านั้น
◙ Names of set of                           หมายเหตุ
number:                                     1) ถ้า ( x, y)  f แล้วเราจะกล่าวว่า ค่าของฟังก์ชน f ที่ x เท่ากับ y
                                                                                                  ั
                                                และเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ y  f ( x)
I  : Positive Integer
                                            2) ถ้า y  f ( x) เป็ นฟังก์ชน แล้วเส้นตรงที่ขนานกับแกน y จะตัดกราฟได้เพียงจุด
                                                                          ั
I  : Negative Integer
I : Integer                                    เดียวเท่านั้น
N : Natural Number                          Ex: 1) ให้วิเคราห์การเป็ นฟังก์ชน    ั
P : Prime Number                                      2) ให้ยกตัวอย่างกราฟที่เป็ น และ ไม่เป็ นฟังก์ชน
                                                                                                     ั
Q : Rational Number
R : Positive Integer                        โดเมน และ เรนจ์ (Domain and Range)

True or False?                              ให้ f ว่าความสัมพันธ์จาก A ไป B โดยที่ f  A  B
(1) N  I                                   โดเมนของ f เขียนแทนด้วย D f โดยที่ D f  x ( x, y)  f 
(2) I  R                                   เรนจ์ของ f เขียนแทนด้วย R f โดยที่ R f   y ( x, y)  f 
(3) 9  I                                   Ex: 1) ให้หาโดเมน และ เรนจ์ โดยการวิเคราะห์
(4)    2 Q                                               หาโดเมน โดยจัดค่าของ y ให้อยูในรู ปของ x
                                                                                            ่
(5) 2.9999...  Q                                         หาเรนจ์ โดยจัดค่าของ x ให้อยูในรู ปของ y
                                                                                          ่
(6) Q  R                                         2) ให้โดเมนและเรนจ์จากกราฟของฟังก์ชน
                                                                                     ั


            เรื่ อง Relations and Functions                                2 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP        โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด    ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4         หน้ า 3




Who is Venn?                              1.2 ฟังก์ชันเชิงเส้ น (LinearFunction)
Who is Euler?
……………………..                                ฟังก์ ชันเชิงเส้ น คือฟังก์ชนที่อยูในรู ป y  ax  b เมื่อ a, b เป็ นจานวนจริ ง และ
                                                                      ั      ่
……………………..                                a0
                                          หมายเหตุ
                                          1) กราฟของฟังก์ชน y  ax  b จะเป็ นเส้นตรงที่มีความชัน เท่ากับ a และตัด
                                                           ั
◙ Which is empty set ?
                                          แกน y ที่จุด (0, b)
(1)  x x  2  2                        2) ฟังก์ชน y  ax  b เมื่อ a  0 จะอยูในรู ป y  b และเรี ยกว่า ฟังก์ ชันคงตัว
                                                   ั                             ่
(2)  x x  2  x
                                          (Constant function)
                                          Ex: ให้เขียนกราฟของฟังก์ชนที่กานด
                                                                   ั
(3)  x x  2  x                        1. y  x  1
    
(4) x x 2  x                            2. y  x  2
                                          3. y   x  3
(5)  x x   2
                 x                      4. y   x  3
(6)  x x   2
                 x                      5. y  2 x  1
                                          6. y  3x  1
                                                  x
◙ Which is finite set ?                   7. y   3
                                                  2
(1)  x x  2  2
                                                    3
                                          8. y   x  5
                                                    4
(2)  x x  2  x                                9
                                          9. F  C  32
(3)  x x  2  x                                5

    
(4) x x 2  x                            1.3 ฟังก์ชันกาลังสอง (Quadratic Function)
(5)  x x   2
                 x                      ฟังก์ ชันเชิงเส้ น คือฟังก์ชนที่อยูในรู ป y  ax2  bx  c เมื่อ a, b, c เป็ นจานวนจริ ง
                                                                      ั      ่
(6)  x x   2
                 x                      และ a  0
                                          หมายเหตุ
◙ Which is infinite set ?                 1) กราฟของฟังก์ชน y  ax 2  bx  c จะเป็ นเส้นโค้งพาราโบลา ชนิดที่
                                                                ั
                                                 หงาย เมื่อ a  0
(1)  x x  2  2                               คว่า เมื่อ a  0
(2)  x x  2  x                        2) ฟังก์ชน y  ax 2  bx  c เมื่อ a  0 จะอยูในรู ป y  bx  c ซึ่ งก็คือ
                                                      ั                                         ่
(3)  x x  2  x                        ฟังก์ ชันเชิงเส้ น (Linear function)
    
(4) x x 2  x                            3) ฟังก์ชน y  ax 2  bx  c เมื่อ a, b, c เป็ นจานวนจริ ง และ a  0 จะมีจุด
                                                        ั
                                                      b 4ac  b 2 
(5)  x x   2
                 x                      วกกลับที่  ,              และจุดวกกลับนี้จะเป็ น
                                                     2a      4a 
(6)  x x   2
                 x                          จุดสู งสุ ด เมื่อ a  0
                                              จุดต่าสุ ด เมื่อ a  0



                เรื่ อง Relations and Functions                           3 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP       โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด    ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4         หน้ า 4




                                         กราฟของฟังก์ ชันกาลังสอง (Graph of Quadratic Function)
The vertex of a
parabola                                 Ex: ให้เขียนกราฟของฟังก์ชนกาลังสองต่อไปนี้ พร้อมทั้งบอกจุดวกกลับ และระบุว่าจุด
                                                                          ั
y  ax 2  bx  c                        วกกลับเป็ นจุดสู งสุ ดหรื อจุดต่าสุ ด พร้อมทั้งหาโดเมน และ เรนจ์
   b b 2  4ac                                    1) y  x2  2 x  5
is (  ,         )
   2a     2a
                                                   2) y  x2  2 x  5
True or False?
                                                   3) y   x2  2 x  5
                                                   4) y  2 x2  4 x  3
                       ?                           5) y  2 x2  4 x  3
                                                   6) y  2 x2  4 x  3
                                                   7) y  2 x2  4 x
                                                   8) y  4 x2  4 x
                                         การแก้ สมการโดยใช้ กราฟของฟังก์ ชั น (Solving Equation using Graph)




                                         พิจารณาว่ากราฟของฟังก์ชน y  ax2  bx  c ในรู ปใดที่ตดกับแกน X ซึ่ งจะทาให้
                                                                ั                                  ั
                                         สมการ ax2  bx  c  0 เป็ นจริ ง และพิจารณาว่ามี x กี่ค่าที่ทาให้สมการเป็ นจริ ง
                                         หมายเหตุ : การแก้สมการ ax2  bx  c  0 เป็ นการหาจุดตัดที่แกน X ของกราฟของ
                                         ฟังก์ชน y  ax2  bx  c
                                               ั

                                         Ex: จงแก้สมการต่อไปนี้โดยใช้กราฟ
                                                   1)     x2  5  0
                                                   2)     x2  5  0
                                                   3)     x2  2 x  5  0
                                                   4)     x2  x  6  0
                                                   5)     2( x  1)2  2  0
                                                   6)     2( x  1)2  2  0
                                                   7)     2  2( x  1)2  0
                                                   8)     6  5x  x2  0




        เรื่ อง Relations and Functions                                 4 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP     โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด    ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4         หน้ า 5



                                   การแก้ อสมการโดยใช้ กราฟของฟังก์ ชั น (Solving Inequality using Graph)
                                   พิจารณาอสมการกาลังสองที่อยูในรู ป
                                                              ่
◙  Some of the most
beautiful mathematical                                    ax2  bx  c  0
formulas:
                                                          ax2  bx  c  0
 9 The roots of a                  สามารถหาคาตอบได้โดยการเขียนกราฟของฟังก์ชน
                                                                           ั
quadratic equation :
If ax  bx  c  0
       2                                                  y  ax 2  bx  c
where a  0 , then                       ช่วงของ x ที่ทาให้ y  0 จะเป็ นคาตอบของอสมการ ax2  bx  c  0
                                         ช่วงของ x ที่ทาให้ y  0 จะเป็ นคาตอบของอสมการ ax2  bx  c  0
     b  b 2  4ac
x                  .
          2a
10 The golden ratio:
    1 5
      2
11 Imaginary numbers:              Ex: จงแก้อสมการต่อไปนี้โดยใช้กราฟ
i  1                                        1)     x2  5  0
                                              2)     x2  5  0
                                              3)     x2  x  6  0
                                              4)     x2  x  6  0
                                              5)     2( x  1)2  2  0
                                              6)     2( x  1)2  2  0
                                              7)     2  2( x  1)2  0
                                              8)     6  5x  x2  0

                                   การประยุกต์ ของฟังก์ ชันกาลังสอง (Applications of Quadratic Function)

                                   การเคลื่อนที่ที่มีจุดวกกลับเพียงครั้งเดียว สามารถอธิบายได้ดวยกราฟของฟังก์ชนกาลัง
                                                                                              ้                  ั
                                   สอง และปัญหาในโลกของความเป็ นจริ ง ที่มีตวแบบเชิงคณิ ตศาสตร์ (Mathematical
                                                                                   ั
                                   Model) เป็ นฟังก์ชนกาลังสอง สามารถวิเคราะห์หาค่าต่าสุ ด หรื อค่าสู งสุ ด ได้โดยย
                                                       ั
                                   พิจารณาจากจุดวกกลับของพาราโบลาหงาย หรื อ พาราโบลาคว่า ตามลาดับ ดังตัวอย่าง
                                   ต่อไปนี้

                                   Ex: โยนลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่ง ถ้าความสู งของลูกบอลหาได้จากสู ตร
                                          f (t )  t 2  4t เมื่อ t แทนเวลาเป็ นวินาที
                                         1) จงหาเวลาในขณะที่ลกบอลอยูสูงที่สุดจากพื้น
                                                             ู      ่
                                         2) จงหาว่านานเท่าใดลูกบอลจึงจะตกถึงพื้น




    เรื่ อง Relations and Functions                             5 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP   โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด       ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4      หน้ า 6




                                   Ex: ต้องการทารั้วให้เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า โดยที่ดานหนึ่งติดกับแม่น้ าซึ่ งไม่ตองกั้นรั้ว
                                                                                         ้                            ้
                                   ถ้ามีวสดุที่จะทารั้วได้ยาว 100 เมตร
                                         ั
      If a x  a y
      then x  y                           1) จงหาความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ และ ด้านกว้างของบริ เวณที่ก้ นรั้ว
                                                                                                          ั
                                           2) จงหาด้านกว้างที่ทาให้ได้พ้ืนที่มากที่สุด
               ?                           3) จงหาพื้นที่ที่มากที่สุดที่เป็ นไปได้ในการกั้นรั้ว

                                   Ex: ถ้าอัตราการตายของทารกในระหว่างปี พ.ศ. 2540 – 2550 ของประเทศหนึ่งหา
                                   ได้จากสู ตร
                                           y  0.2 x 2  0.5x  12.5
  …………………                          เมื่อ y แทนจานวนทารกที่เสี ยชีวิตจากทารกที่เกิดมา 1000 คน และให้ x เป็ น
  …………………
  …………………                          จานวนปี ที่นบจากปี พ.ศ. 2540
                                               ั
  …………………                                1) จงหาว่าในปี พ.ศ. 2545 จะมีทารกรอดชีวิตกี่เปอร์ เซนต์
  …………………                                2) จงหาว่าแนวโน้วในการเสี ยชีวิตของทารกในปี 2551 จะเป็ นกี่เปอร์ เซ็นต์
  …………………
  …………………
  …………………                          Ex: จงหาค่าต่าสุ ดของ m2  n2 เมื่อ m  n  4 โดยใช้ความรู ้เรื่ องกราฟของ
  ………………....                       ฟังก์ชนกาลังสอง
                                         ั

                                   Ex: จงหาจานวนเต็มสองจานวนที่ต่างกัน 16 และมีผลคูณมากที่สุด

                                   1.4 ฟังก์ชันเอกซ์ โพเนนเชียล (Exponential Function)
                                    หมายถึง ฟังก์ชนที่อยูในรู ป
                                                  ั      ่
                                                                         y  a x เมื่อ a  0 และ a  1
                                   หมายเหตู : พิจารณากรณี ที่
                                               1) a  0
                                               2) a  0
                                               3) a  1

                                   Ex: จงเขียนกราฟของฟังก์ชนเอกซ์โพเนนเชียลต่อไปนี้พร้อมทั้งพิจารณาโดเมน และ
                                                           ั
                                   เรนจ์ของฟังก์ชนในแต่ละข้อ
                                                 ั

                                               1) y  2 x
                                               2) y  3x
                                                       1
                                               3) y  ( ) x
                                                       2
                                                       2
                                               4) y  ( ) x
                                                       3
                                                       3
                                               5) y  ( ) x
                                                       2



 เรื่ อง Relations and Functions                             6 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP   โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด    ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4         หน้ า 7




                                   ข้ อสังเกต
                                       1) กราฟของฟังก์ชน y  a x เมื่อ a  0 และ a  1 จะผ่านจุด (0,1)
                                                         ั
       ax  a y  x  y
                                   เสมอทั้งนี้เพราะ a  1
                                                     0



               Right   ?
                                         2) ถ้า a  1 เมื่อ x มี่ค่าเพิ่ม แล้ว y จะมีค่าเพิ่ม
                                            ถ้า 0  a  1 เมื่อ x มี่ค่าเพิ่ม แล้ว y จะมีค่าลด


  …………………
  …………………
  …………………                                 3) a x  a y ก็ต่อเมื่อ x  y
  …………………
  …………………
  …………………
  …………………
  …………………
                                   Ex. จงแก้สมการต่อไปนี้
  ………………....                       1)     1
                                              81
                                          3x
                                   2)    4x  2
                                   3)    8x  4



                                   การประยุกต์ ของฟังก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียล
                                   (Applications of Exponential Function)


                                   1) ดอกเบียทบต้น
                                            ้
                                                       Sn  P(1  i)n




                                   2) การเพิม และ การลด ของประชากร
                                            ่
                                                        A(t )  kat




                                   1.5 ฟังก์ชันค่าสมบูรณ์ (Absolute Value Function)

 เรื่ อง Relations and Functions                             7 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP   โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด    ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4         หน้ า 8




                                   Exercise
       xa  y a  x  y             จงเขียนกราฟ ของฟังกัชนต่อไปนี้พร้อมทั้ง บอกโดเมน และ เรนจ์
                                                         ั
                                               1) y  2 x  1
               Right   ?                       2) y  3x  1
                                                       1
                                               3) y  ( ) x  2
                                                       2
                                               4) y  2 x 1
                                                       3
                                               5) y  ( ) x 1
                                                       2
  …………………
  …………………                          จงแก้สมการต่อไปนี้
  …………………
  …………………                                      1) 2x  1  0
  …………………                                      2) 3x  1  0
  …………………                                          1
                                               3) x  2  0
  …………………                                         2
  …………………                                      4) 32 x  3  0
  ………………....                                   5) 32 x  4(3x )  3  0

                                   จงใช้สูตรดอกเบี้ยทบต้น แก้ปัญหาโจทย์ต่อไปนี้
                                   1) จงหาเงินรวม และ ดอกเบี้ยของเงินต้น 2,000 บาท ที่ลงทุนเป็ นเวลา 2 ปี
                                       โดยได้รับดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7 คิดทบต้นทุกปี
                                   2) จงหาเงินรวม และ ดอกเบี้ยของเงินต้น 20,000 บาท ที่ลงทุนเป็ นเวลา 5
                                       ปี โดยได้รับดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 8 คิดทบต้นไตรมาส
                                       < กาหนดให้ (1  0.02)20  1.4859 >
                                   3) จงหาดอกเบี่ยจากการลงทุนเงินต้น 60,000 บาท เป็ นเวลา 20 ปี และ
                                       ได้รับดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 6 คิดทบต้นทุกครึ่ งปี
                                      < กาหนดให้ (1  0.03)40  3.2620 >
                                   4) ถ้าต้องการฝากเงินจานวนหนึ่งโดยได้รับดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 4 คิด
                                       ทบต้นทุกไตรมาสเป็ นระยะเวลา 10 ปี และต้องการได้รับเงินรวมทั้งสิ้น
                                       20,000 บาท จะต้องฝากเงินต้นครั้งแรกเป็ นจานวนเท่าใด
                                      < กาหนดให้ (1  0.01)40  1.4888 >
                                   5) ถ้าผลตอบแทนจากการลงทุนเป็ นดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 8 คิดทบต้นทุก
                                       ครึ่ งปี จะต้องลงทุนนานเท่าใดจึงจะได้เงินรวมเป็ นสองเท่าของเงินต้น
                                      < กาหนดให้ (1  0.04)17  1.9479 และ (1  0.04)18  2.0258 >


 เรื่ อง Relations and Functions                             8 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP   โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด    ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4         หน้ า 9




               x x                1.5 ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ (Absolute Value Function)
              Right   ?            ฟังก์ชนค่าสัมบูรณ์ที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้อยูในรู ป y  x  h  k เมื่อ h และ k เป็ น
                                         ั                                   ่
                                   ค่าคงที่ที่เป็ นจานวนจริ งใดๆ

                                   จงเขียนกราฟ ของฟังกัชนต่อไปนี้พร้อมทั้ง บอกโดเมน และ เรนจ์
                                                        ั
                                               1) y  x
                                               2) y  x  1
  …………………
                                               3) y  x  2
  …………………
  …………………                                      4) y  x  1
  …………………                                      5) y  x  2
  …………………
  …………………                                      6) y  x  2  3
  …………………                                      7) y  x  2  3
  …………………
  ………………....
                                   ◙รุปลักษณะของกราฟของฟังก์ ชัน y  x  h  k
                                   ส

                                   Exercise
                                    จงเขียนกราฟ ของฟังกัชนต่อไปนี้พร้อมทั้ง บอกโดเมน และ เรนจ์
                                                         ั
                                               8) y   x
                                               9) y  x  1  1
                                               10) y  x  2  2
                                               11) y  x  1  2
                                               12) y  x  2  3
                                               13) y  x  2  3
                                               14) y  2 x  3  4
                                   จงแก้สมการต่อไปนี้
                                               15) x  2  0
                                               16) x  3  0
                                               17) x  1  2
                                               18) x  2  3  0
                                               19) x  2  3  0




 เรื่ อง Relations and Functions                             9 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP   โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด    ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4         หน้ า
10




                                   1.6 ฟังก์ชันบันได(Step Function)
       A B  B  A

               ?                   พิจารณา ฟังก์ชน y  [ x] เมื่อ [ x] หมายถึงจานวนเต็มที่มากที่สุดที่นอยกว่า หรื อ
                                                 ั                                                     ้
                                   เท่ากับ x




  …………………
  …………………
  …………………
  …………………
  …………………
  …………………
  …………………
  …………………
  ………………....
                                   ฟังก์ชนที่มีกราฟลักษณะดังกล่าว เรี ยกว่า ฟังก์ชนขั้นบันได (Step function)
                                         ั                                        ั

                                   Ex. อัตราค่าไปรษณี ยากรสาหรับส่ งจดหมายในประเทศ มีดงนี้
                                                                                      ั

                                                                   พิกัดน้าหนัก                             อัตรา (บาท)
                                        ไม่เกิน 20 กรัม                                                         2.00
                                        เกิน 20 กรัม           แต่ไม่เกิน 100     กรัม                          3.00
                                        เกิน 100 กรัม         แต่ไม่เกิน 250      กรัม                          5.00
                                        เกิน 250 กรัม         แต่ไม่เกิน 500      กรัม                          9.00
                                        เกิน 500 กรัม         แต่ไม่เกิน 1000     กรัม                         16.00
                                        เกิน 1000 กรัม        แต่ไม่เกิน 2000     กรัม                         30.00

                                   สามารถเขียนในรู ปฟั งก์ชนขั้นบันไดดังนี้
                                                           ั
                                                                           2.00,      0  x  20
                                                                           3.00,   20  x  100
                                                                          
                                                                           5.00,  100  x  250
                                                                 f ( x)  
                                                                           9.00, 250  x  500
                                                                           16.00, 500  x  1000
                                                                          
                                                                          30.00, 1000  x  2000




 เรื่ อง Relations and Functions                            10 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP       โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด        ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4              หน้ า
11



◙ ตัวอย่ างข้ อสอบที่ท้าทายเรื่องความสั มพันธ์ และฟังก์ ชัน

      ความสัมพันธ์
1. ให้ A = {0 , 1 , 2 , 3} และ P(A) คือเพาเวอร์ เซตของ A ถ้า r เป็ นความสัมพันธ์จาก A ไป
    ยัง P(A) กาหนดโดย r = {(a , B) | a  2 , a  B และ a+1  B} แล้ว r มีจานวน
    สมาชิกกี่จานวน

2. ถ้าความสัมพันธ์ r = {(x, y)  R  R | y =                            2         4       }
                                                                             (x  1) 2  4
    แล้วข้อใดต่อไปนี้คือเรนจ์ของ r
    1.     (– , 2)  [3 , )                                      2.        (– , 2)  (3 , )
    3.     (– , 2]  [3 , )                                      4.        (– , 2]  (3 , )

3. กาหนดให้ r เป็ นความสัมพันธ์ในเซตของจานวนจริ ง โดยที่ r = {(x, y) | y =                                     1  x2    }
                                                                                                               1  x2
    ข้อใดต่อไปนี้ถูก
    1.     Dr   = [–1 , 1] , Dr1 = [–1 , 1]                       2.        Dr   = [–1 , 1] , Dr1 = [0 , 1]
    3.     Dr   = [0 , 1] , Dr1 = [–1 , 1]                        4.        Dr   = [0 , 1] , Dr1 = [0 , 1]


4. กาหนดให้ S เป็ นเซตคาตอบของอสมการ                       x2    8x + 20
    ถ้า A = {x  S | x เป็ นจานวนเฉพาะบวก} และ B = {x S | x เป็ นจานวนเต็มคี}
                                                                             ่
    แล้ว (A  B) – (B  A) มีจานวนสมาชิกเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
    1.     11                                                      2.        15
    3.     21                                                      4.        23

5. กาหนดให้ r = {(x , y) | y =                       9  x 2 } และ           s = {(x , y) | y =                1     }
                                                                                                              x2  9
    พิจารณาข้อความต่อไปนี้
    ก. D r  R 1 =                                                              ข.          R r  D 1       = (0 , )
                    s                                                                                s
    ข้อใดต่อไปนี้ถูก
    1. ก ถูก และ ข ถูก                                             2. ก ถูก และ ข ผิด
    3. ก ผิด และ ข ถูก                                             4. ก ผิด และ ข ผิด




 เรื่ อง Relations and Functions                                11 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP   โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด        ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4     หน้ า
12

6. กาหนด ความสัมพันธ์ r = {         (x, y ) | | y |  21 } พิจารณาข้อความต่อไปนี้
                                                      x 1
    ก.     Dr     =    (– , –1)  (1 , )              ข. r 1  { (x, y) | y   1  x }
                                                                                     x
    ข้อใดต่อไปนี้ถูก
    1. ก ถูก และ ข ถูก                                         2. ก ถูก และ ข ผิด
    3. ก ผิด และ ข ถูก                                         4. ก ผิด และ ข ผิด

7. ถ้า r = { (x , y)  R  R |             2x 3  3xy 2  x 2  y 2 = 0 แล้ว เรนจ์ของ r 1 เท่ากับข้อใด
    1.     (–
             1 , 1]                                            2.        [–
                                                                              1 , 1)
              3 2                                                             2 3
    3.
                   1
           (–  , – )  (–
                           1      , )                         4.        (–  , )
                   3       3
8. กาหนดให้ r = {(x, y) | 0  x , 0  y  5 และ                          x 2  y 2 – 2x + 6y  8}
    พิจารณาข้อความต่อไปนี้
    ก. D r = [0, 3]
    ข. ถ้า 0  c และ (3, c)  r แล้ว c = 5
    ข้อใดต่อไปนี้ถูก
    1. ก ถูก และ ข ถูก                     2. ก ถูก และ ข ผิด
    3. ก ผิด และ ข ถูก                     4. ก ผิด และ ข ผิด


9. ให้ r = { (x, y ) | y 
                                  x2 4 }
                                    x 2
    พิจารณาข้อความต่อไปนี้
    ก. 4  R r
    ข. R 1 = [0, 4)  (4, )
           r
    ข้อใดต่อไปนี้ถูก
    1. ก ถูก และ ข ถูก                                         2. ก ถูก และ ข ผิด
    3. ก ผิด และ ข ถูก                                         4. ก ผิด และ ข ผิด

10.      กาหนดให้ r = {(x, y) | x  y และ y 2 = x 2 + 2x – 3 } พิจารณาข้อความต่อไปนี้
    ก. D r = [1, )                           ข. R r = (–, )
    ข้อใดต่อไปนี้ถูก
    1. ก ถูก และ ข ถูก                        2. ก ถูก และ ข ผิด
    3. ก ผิด และ ข ถูก                        4. ก ผิด และ ข ผิด




 เรื่ อง Relations and Functions                            12 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP      โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด    ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4         หน้ า
13

      ฟังก์ชัน
1. กาหนดให้ k เป็ นค่าคงตัว และ r = {(x, y)  R+  R+ | x + k x = y + k y }
   พิจารณาข้อความต่อไปนี้
   ก. ถ้า k = 1 แล้ว r เป็ นฟังก์ชน
                                  ั         ข. ถ้า k = –1 แล้ว r เป็ นฟังก์ชน
                                                                            ั
   ข้อใดต่อไปนี้ถก
                 ู
   1. ก ถูก และ ข ถูก                       2. ก ถูก และ ข ผิด
   3. ก ผิด และ ข ถูก                       4. ก ผิด และ ข ผิด
                   2                           เมือ x   1
                                                      ่
                   
2. กาหนดให้ f(x) =  (x  1) 2                 เมือ  1  x  2
                                                    ่                       และ        g(x)       f(x)  2
                    x 1                      เมือ x  2
                                                  ่
                   
    ถ้า k เป็ นจานวนเต็มที่นอยที่สุดที่ทาให้ g(k)  5 แล้ว g(f(k)) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
                            ้
    1. 5                                          2. 6
    3. 7                                          4. 8

3. กาหนดให้ a  0 และ
                          x
           f(x) =           ,       x,a > 0
                          a
           g(x) = x3
                                         f (64)
    ถ้า     f ( g (4))  2        แล้ว              มีค่าเท่ากับเท่าใด
                                         g (64)


4. ให้ A = {1, 2, 3, 4} และ B = {1, 2, 3, 4, 5} f เป็ นฟังก์ชน จาก A ไป B
                                                             ั
   โดยที่ f(1) = 2
   หรื อ f(2) = m เมื่อ m เป็ นจานวนคี่
   แล้ว จานวนฟังก์ชน f ที่มีสมบัติดงกล่าวเท่ากับข้อใด
                   ั               ั
   1. 75                                      2. 150
   3. 425                                     4. 500

                                    ==============================




 เรื่ อง Relations and Functions                               13 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุงkrupornpana55
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นChakkrawut Mueangkhon
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41Angkana Potha
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6KruGift Girlz
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซNawamin Wongchai
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์Jiraporn
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟFern Monwalee
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น Wijitta DevilTeacher
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กSakad Rinrith
 

La actualidad más candente (20)

หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
 
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กไฟฟ้าสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
 
2
22
2
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
 

Destacado

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นAon Narinchoti
 
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรมLecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรมAon Narinchoti
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAon Narinchoti
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)Aon Narinchoti
 

Destacado (20)

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
Function
FunctionFunction
Function
 
Inverse of relation
Inverse of relationInverse of relation
Inverse of relation
 
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรมLecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
 
Uprightschool
UprightschoolUprightschool
Uprightschool
 
Plan2
Plan2Plan2
Plan2
 
Plan 4
Plan 4Plan 4
Plan 4
 
02
0202
02
 
Final 31201 53
Final 31201 53Final 31201 53
Final 31201 53
 
Test of relation
Test of relationTest of relation
Test of relation
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Matrix
MatrixMatrix
Matrix
 
Cross
CrossCross
Cross
 
Function3
Function3Function3
Function3
 
Relations
RelationsRelations
Relations
 
Onet information-2553
Onet information-2553Onet information-2553
Onet information-2553
 
Sttstc e
Sttstc eSttstc e
Sttstc e
 

Similar a ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชันYingying Apinya
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 sensehaza
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]
สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]
สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]aon04937
 
Pat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typePat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typeTKAomerz
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตตSomrak Sokhuma
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตChokchai Taveecharoenpun
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตTutor Ferry
 

Similar a ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน (20)

Set
SetSet
Set
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
 
M4 1-เซต
M4 1-เซตM4 1-เซต
M4 1-เซต
 
Pat15603
Pat15603Pat15603
Pat15603
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]
สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]
สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]
 
Pat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typePat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 type
 
Pat1 มีค57
Pat1 มีค57 Pat1 มีค57
Pat1 มีค57
 
Pat1 53-10+key
Pat1 53-10+keyPat1 53-10+key
Pat1 53-10+key
 
Set krupom
Set krupomSet krupom
Set krupom
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตต
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 

Más de Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

Más de Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

  • 1. เอกสารประกอบการบรรยาย คณิตศาสตร์เสริม หลักสูตร EP ◙ โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด 4 ประกอบสาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ความสัมพันธ์ และ ฟังก์ชน ั (Relation and Function) อ.วัฒนา เถาว์ทิพย์ ◙ ภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2. คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4 หน้ า 1 1 ความสั มพันธ์ และ ฟังก์ ชัน (Relation and Function) ความรู้พื้นฐาน (Basic Background) Who is George Cantor? ความหมายของเซต ในวิชาคณิ ตศาสตร์ เราใช้คาว่า “เซต” เพื่อบ่งบอกถึงกลุ่มของสิ่ งต่างๆ โดย ต้องทราบอย่างแน่ชดว่า สิ่ งใดอยูในกลุ่ม และ สิ่ งใดไม่อยูในกลุ่มที่เรากล่าว และ เรี ยก ั ่ ่ สิ่ งที่อยูในเซตนั้นว่า สมาชิก ่ สั บเซต(Subset) บทนิยาม A เป็ นสับเซตของ B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็ นสมาชิกของ B ………………… A เป็ นสับเซตของ B เขียนแทนด้วย A  B ………………… ………………… แต่ B  A เรี ยกว่า B เป็ น Supper set ของ A ………………… และ A ไม่เป็ นสับเซตของ B เขียนแทนด้วย A  B ………………… ………………… ข้ อตกลงเบืองต้นเกียวกับเซต ้ ่ ………………… (1) เซตว่าง เป็ นสับเซตของทุกๆ เซต นันคือ   A เมื่อ A เป็ นเซตใดๆ ่ (2) เซตทุกเซตเป็ นสับเซตของตัวมันเอง นันคือ A  A เมื่อ A เป็ นเซตใดๆ ่ ◙True or False ? การหาจานวนสับเซต 1. a  a 2 เซตที่มีสมาชิก k ตัว มีจานวนสับเซตทั้งหมด 2k สับเซต 2. 3.99999… is an integer เพาเวอร์ เซต (Power set) 3. 27 is an integer. 9 บทนิยาม ถ้า A เป็ นเซตใด เพาเวอร์ เซตของ A คือเซตของสับเซตของ A และเขียนแทน 4. 121 is an integer. ด้วย P(A) 5. 1.21 is a rational number. นันคือ P(A) ={x x  A} ่ 6. 12 is a rational ยูเนียน (Union) number. 7. 2 is an irrational ให้ A และ B เป็ นเซตใดๆ number. A  B  {x x  A หรื อ x  B หรื อ x เป็ นสมาชิกของทั้งสองเซต} 8. 3.99999...  2 อินเตอร์ เซกชัน (Intersection) ☼ How to prove that ให้ A และ B เป็ นเซตใดๆ 3.9999...  4 A  B  {x x  A และ x  B} ………………………… ผลต่ าง และ คอมพลีเมนต์ (Difference and Complement) ………………………… ให้ A และ B เป็ นเซตใดๆ และ U เป็ นเอกภพสัมพัทธ์ ………………………… ………………………… A  B  {x x  A และ x  B} ………………………… ………………………… A  B  {x x  B และ x  A} ………………………… ………………………… และ A = U - A ……………………… ……………………… ……………………… เรื่ อง Relations ………………………and Functions 1 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น ………………
  • 3. คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4 หน้ า 2 1.1 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน (Relation and Function) ความสั มพันธ์ (Relation ) True or False? ให้ A และ B เป็ นเซตใดๆ (1) 1, 2,3  3, 2,1 A  B  (a, b) a  A and b  B (2) 1, 2,3  1, 2,3,1 ถ้า r  A  B จะเรี ยก r ว่าความสัมพันธ์จาก A ไป B (3) 1, 2,3  1, 2,1 หมายเหตุ (4) 1, 2,3  1, 2, 2,3 ถ้า A มีสมาชิก m และ B มีสมาชิก n ตัว (5) 1, 2,3  1,1, 2, 2,3,3 จะมีความสัมพันธ์จาก A ไป B ทั้งหมด ................... ความสัมพันธ์ และมีความสัมพันธ์จาก A ไป A ทั้งหมด ................... ความสัมพันธ์ (6) a a , b, a, b โดเมน และ เรนจ์ (Domain and Range) (7) a a , b, a, b ให้ r ว่าความสัมพันธ์จาก A ไป B โดยที่ r  A  B (8) b a , b, a, b โดเมนของ r เขียนแทนด้วย Dr โดยที่ Dr   x ( x, y)  r (9) b a , b, a, b (10) b a , b, b , a, b เรนจ์ของ r เขียนแทนด้วย Rr โดยที่ Rr   y ( x, y)  r (11) a, b a , b, a, b Ex: ให้หาโดเมนและ เรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ (12) a a , b, a, b ฟังก์ ชัน (Function) ฟังก์ชน คือ ความสัมพันธ์ที่สมาชิกในโดเมนแต่ละตัวจับคู่กบสมาชิกในเรนจ์ ของ ั ั ความสัมพันธ์เพียงตัวเดี่ยวเท่านั้น ◙ Names of set of หมายเหตุ number: 1) ถ้า ( x, y)  f แล้วเราจะกล่าวว่า ค่าของฟังก์ชน f ที่ x เท่ากับ y ั และเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ y  f ( x) I  : Positive Integer 2) ถ้า y  f ( x) เป็ นฟังก์ชน แล้วเส้นตรงที่ขนานกับแกน y จะตัดกราฟได้เพียงจุด ั I  : Negative Integer I : Integer เดียวเท่านั้น N : Natural Number Ex: 1) ให้วิเคราห์การเป็ นฟังก์ชน ั P : Prime Number 2) ให้ยกตัวอย่างกราฟที่เป็ น และ ไม่เป็ นฟังก์ชน ั Q : Rational Number R : Positive Integer โดเมน และ เรนจ์ (Domain and Range) True or False? ให้ f ว่าความสัมพันธ์จาก A ไป B โดยที่ f  A  B (1) N  I โดเมนของ f เขียนแทนด้วย D f โดยที่ D f  x ( x, y)  f  (2) I  R เรนจ์ของ f เขียนแทนด้วย R f โดยที่ R f   y ( x, y)  f  (3) 9  I Ex: 1) ให้หาโดเมน และ เรนจ์ โดยการวิเคราะห์ (4) 2 Q  หาโดเมน โดยจัดค่าของ y ให้อยูในรู ปของ x ่ (5) 2.9999...  Q  หาเรนจ์ โดยจัดค่าของ x ให้อยูในรู ปของ y ่ (6) Q  R 2) ให้โดเมนและเรนจ์จากกราฟของฟังก์ชน ั เรื่ อง Relations and Functions 2 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
  • 4. คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4 หน้ า 3 Who is Venn? 1.2 ฟังก์ชันเชิงเส้ น (LinearFunction) Who is Euler? …………………….. ฟังก์ ชันเชิงเส้ น คือฟังก์ชนที่อยูในรู ป y  ax  b เมื่อ a, b เป็ นจานวนจริ ง และ ั ่ …………………….. a0 หมายเหตุ 1) กราฟของฟังก์ชน y  ax  b จะเป็ นเส้นตรงที่มีความชัน เท่ากับ a และตัด ั ◙ Which is empty set ? แกน y ที่จุด (0, b) (1)  x x  2  2 2) ฟังก์ชน y  ax  b เมื่อ a  0 จะอยูในรู ป y  b และเรี ยกว่า ฟังก์ ชันคงตัว ั ่ (2)  x x  2  x (Constant function) Ex: ให้เขียนกราฟของฟังก์ชนที่กานด ั (3)  x x  2  x 1. y  x  1  (4) x x 2  x  2. y  x  2 3. y   x  3 (5)  x x 2  x 4. y   x  3 (6)  x x 2  x 5. y  2 x  1 6. y  3x  1 x ◙ Which is finite set ? 7. y   3 2 (1)  x x  2  2 3 8. y   x  5 4 (2)  x x  2  x 9 9. F  C  32 (3)  x x  2  x 5  (4) x x 2  x  1.3 ฟังก์ชันกาลังสอง (Quadratic Function) (5)  x x 2  x ฟังก์ ชันเชิงเส้ น คือฟังก์ชนที่อยูในรู ป y  ax2  bx  c เมื่อ a, b, c เป็ นจานวนจริ ง ั ่ (6)  x x 2  x และ a  0 หมายเหตุ ◙ Which is infinite set ? 1) กราฟของฟังก์ชน y  ax 2  bx  c จะเป็ นเส้นโค้งพาราโบลา ชนิดที่ ั  หงาย เมื่อ a  0 (1)  x x  2  2  คว่า เมื่อ a  0 (2)  x x  2  x 2) ฟังก์ชน y  ax 2  bx  c เมื่อ a  0 จะอยูในรู ป y  bx  c ซึ่ งก็คือ ั ่ (3)  x x  2  x ฟังก์ ชันเชิงเส้ น (Linear function)  (4) x x 2  x  3) ฟังก์ชน y  ax 2  bx  c เมื่อ a, b, c เป็ นจานวนจริ ง และ a  0 จะมีจุด ั  b 4ac  b 2  (5)  x x 2  x วกกลับที่  ,  และจุดวกกลับนี้จะเป็ น  2a 4a  (6)  x x 2  x  จุดสู งสุ ด เมื่อ a  0  จุดต่าสุ ด เมื่อ a  0 เรื่ อง Relations and Functions 3 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
  • 5. คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4 หน้ า 4 กราฟของฟังก์ ชันกาลังสอง (Graph of Quadratic Function) The vertex of a parabola Ex: ให้เขียนกราฟของฟังก์ชนกาลังสองต่อไปนี้ พร้อมทั้งบอกจุดวกกลับ และระบุว่าจุด ั y  ax 2  bx  c วกกลับเป็ นจุดสู งสุ ดหรื อจุดต่าสุ ด พร้อมทั้งหาโดเมน และ เรนจ์ b b 2  4ac 1) y  x2  2 x  5 is ( , ) 2a 2a 2) y  x2  2 x  5 True or False? 3) y   x2  2 x  5 4) y  2 x2  4 x  3 ? 5) y  2 x2  4 x  3 6) y  2 x2  4 x  3 7) y  2 x2  4 x 8) y  4 x2  4 x การแก้ สมการโดยใช้ กราฟของฟังก์ ชั น (Solving Equation using Graph) พิจารณาว่ากราฟของฟังก์ชน y  ax2  bx  c ในรู ปใดที่ตดกับแกน X ซึ่ งจะทาให้ ั ั สมการ ax2  bx  c  0 เป็ นจริ ง และพิจารณาว่ามี x กี่ค่าที่ทาให้สมการเป็ นจริ ง หมายเหตุ : การแก้สมการ ax2  bx  c  0 เป็ นการหาจุดตัดที่แกน X ของกราฟของ ฟังก์ชน y  ax2  bx  c ั Ex: จงแก้สมการต่อไปนี้โดยใช้กราฟ 1) x2  5  0 2) x2  5  0 3) x2  2 x  5  0 4) x2  x  6  0 5) 2( x  1)2  2  0 6) 2( x  1)2  2  0 7) 2  2( x  1)2  0 8) 6  5x  x2  0 เรื่ อง Relations and Functions 4 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
  • 6. คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4 หน้ า 5 การแก้ อสมการโดยใช้ กราฟของฟังก์ ชั น (Solving Inequality using Graph) พิจารณาอสมการกาลังสองที่อยูในรู ป ่ ◙ Some of the most beautiful mathematical ax2  bx  c  0 formulas: ax2  bx  c  0 9 The roots of a สามารถหาคาตอบได้โดยการเขียนกราฟของฟังก์ชน ั quadratic equation : If ax  bx  c  0 2 y  ax 2  bx  c where a  0 , then ช่วงของ x ที่ทาให้ y  0 จะเป็ นคาตอบของอสมการ ax2  bx  c  0 ช่วงของ x ที่ทาให้ y  0 จะเป็ นคาตอบของอสมการ ax2  bx  c  0 b  b 2  4ac x . 2a 10 The golden ratio: 1 5 2 11 Imaginary numbers: Ex: จงแก้อสมการต่อไปนี้โดยใช้กราฟ i  1 1) x2  5  0 2) x2  5  0 3) x2  x  6  0 4) x2  x  6  0 5) 2( x  1)2  2  0 6) 2( x  1)2  2  0 7) 2  2( x  1)2  0 8) 6  5x  x2  0 การประยุกต์ ของฟังก์ ชันกาลังสอง (Applications of Quadratic Function) การเคลื่อนที่ที่มีจุดวกกลับเพียงครั้งเดียว สามารถอธิบายได้ดวยกราฟของฟังก์ชนกาลัง ้ ั สอง และปัญหาในโลกของความเป็ นจริ ง ที่มีตวแบบเชิงคณิ ตศาสตร์ (Mathematical ั Model) เป็ นฟังก์ชนกาลังสอง สามารถวิเคราะห์หาค่าต่าสุ ด หรื อค่าสู งสุ ด ได้โดยย ั พิจารณาจากจุดวกกลับของพาราโบลาหงาย หรื อ พาราโบลาคว่า ตามลาดับ ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้ Ex: โยนลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่ง ถ้าความสู งของลูกบอลหาได้จากสู ตร f (t )  t 2  4t เมื่อ t แทนเวลาเป็ นวินาที 1) จงหาเวลาในขณะที่ลกบอลอยูสูงที่สุดจากพื้น ู ่ 2) จงหาว่านานเท่าใดลูกบอลจึงจะตกถึงพื้น เรื่ อง Relations and Functions 5 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
  • 7. คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4 หน้ า 6 Ex: ต้องการทารั้วให้เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า โดยที่ดานหนึ่งติดกับแม่น้ าซึ่ งไม่ตองกั้นรั้ว ้ ้ ถ้ามีวสดุที่จะทารั้วได้ยาว 100 เมตร ั If a x  a y then x  y 1) จงหาความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ และ ด้านกว้างของบริ เวณที่ก้ นรั้ว ั 2) จงหาด้านกว้างที่ทาให้ได้พ้ืนที่มากที่สุด ? 3) จงหาพื้นที่ที่มากที่สุดที่เป็ นไปได้ในการกั้นรั้ว Ex: ถ้าอัตราการตายของทารกในระหว่างปี พ.ศ. 2540 – 2550 ของประเทศหนึ่งหา ได้จากสู ตร y  0.2 x 2  0.5x  12.5 ………………… เมื่อ y แทนจานวนทารกที่เสี ยชีวิตจากทารกที่เกิดมา 1000 คน และให้ x เป็ น ………………… ………………… จานวนปี ที่นบจากปี พ.ศ. 2540 ั ………………… 1) จงหาว่าในปี พ.ศ. 2545 จะมีทารกรอดชีวิตกี่เปอร์ เซนต์ ………………… 2) จงหาว่าแนวโน้วในการเสี ยชีวิตของทารกในปี 2551 จะเป็ นกี่เปอร์ เซ็นต์ ………………… ………………… ………………… Ex: จงหาค่าต่าสุ ดของ m2  n2 เมื่อ m  n  4 โดยใช้ความรู ้เรื่ องกราฟของ ……………….... ฟังก์ชนกาลังสอง ั Ex: จงหาจานวนเต็มสองจานวนที่ต่างกัน 16 และมีผลคูณมากที่สุด 1.4 ฟังก์ชันเอกซ์ โพเนนเชียล (Exponential Function) หมายถึง ฟังก์ชนที่อยูในรู ป ั ่ y  a x เมื่อ a  0 และ a  1 หมายเหตู : พิจารณากรณี ที่ 1) a  0 2) a  0 3) a  1 Ex: จงเขียนกราฟของฟังก์ชนเอกซ์โพเนนเชียลต่อไปนี้พร้อมทั้งพิจารณาโดเมน และ ั เรนจ์ของฟังก์ชนในแต่ละข้อ ั 1) y  2 x 2) y  3x 1 3) y  ( ) x 2 2 4) y  ( ) x 3 3 5) y  ( ) x 2 เรื่ อง Relations and Functions 6 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
  • 8. คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4 หน้ า 7 ข้ อสังเกต 1) กราฟของฟังก์ชน y  a x เมื่อ a  0 และ a  1 จะผ่านจุด (0,1) ั ax  a y  x  y เสมอทั้งนี้เพราะ a  1 0 Right ? 2) ถ้า a  1 เมื่อ x มี่ค่าเพิ่ม แล้ว y จะมีค่าเพิ่ม ถ้า 0  a  1 เมื่อ x มี่ค่าเพิ่ม แล้ว y จะมีค่าลด ………………… ………………… ………………… 3) a x  a y ก็ต่อเมื่อ x  y ………………… ………………… ………………… ………………… ………………… Ex. จงแก้สมการต่อไปนี้ ……………….... 1) 1  81 3x 2) 4x  2 3) 8x  4 การประยุกต์ ของฟังก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียล (Applications of Exponential Function) 1) ดอกเบียทบต้น ้ Sn  P(1  i)n 2) การเพิม และ การลด ของประชากร ่ A(t )  kat 1.5 ฟังก์ชันค่าสมบูรณ์ (Absolute Value Function) เรื่ อง Relations and Functions 7 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
  • 9. คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4 หน้ า 8 Exercise xa  y a  x  y จงเขียนกราฟ ของฟังกัชนต่อไปนี้พร้อมทั้ง บอกโดเมน และ เรนจ์ ั 1) y  2 x  1 Right ? 2) y  3x  1 1 3) y  ( ) x  2 2 4) y  2 x 1 3 5) y  ( ) x 1 2 ………………… ………………… จงแก้สมการต่อไปนี้ ………………… ………………… 1) 2x  1  0 ………………… 2) 3x  1  0 ………………… 1 3) x  2  0 ………………… 2 ………………… 4) 32 x  3  0 ……………….... 5) 32 x  4(3x )  3  0 จงใช้สูตรดอกเบี้ยทบต้น แก้ปัญหาโจทย์ต่อไปนี้ 1) จงหาเงินรวม และ ดอกเบี้ยของเงินต้น 2,000 บาท ที่ลงทุนเป็ นเวลา 2 ปี โดยได้รับดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7 คิดทบต้นทุกปี 2) จงหาเงินรวม และ ดอกเบี้ยของเงินต้น 20,000 บาท ที่ลงทุนเป็ นเวลา 5 ปี โดยได้รับดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 8 คิดทบต้นไตรมาส < กาหนดให้ (1  0.02)20  1.4859 > 3) จงหาดอกเบี่ยจากการลงทุนเงินต้น 60,000 บาท เป็ นเวลา 20 ปี และ ได้รับดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 6 คิดทบต้นทุกครึ่ งปี < กาหนดให้ (1  0.03)40  3.2620 > 4) ถ้าต้องการฝากเงินจานวนหนึ่งโดยได้รับดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 4 คิด ทบต้นทุกไตรมาสเป็ นระยะเวลา 10 ปี และต้องการได้รับเงินรวมทั้งสิ้น 20,000 บาท จะต้องฝากเงินต้นครั้งแรกเป็ นจานวนเท่าใด < กาหนดให้ (1  0.01)40  1.4888 > 5) ถ้าผลตอบแทนจากการลงทุนเป็ นดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 8 คิดทบต้นทุก ครึ่ งปี จะต้องลงทุนนานเท่าใดจึงจะได้เงินรวมเป็ นสองเท่าของเงินต้น < กาหนดให้ (1  0.04)17  1.9479 และ (1  0.04)18  2.0258 > เรื่ อง Relations and Functions 8 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
  • 10. คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4 หน้ า 9 x x 1.5 ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ (Absolute Value Function) Right ? ฟังก์ชนค่าสัมบูรณ์ที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้อยูในรู ป y  x  h  k เมื่อ h และ k เป็ น ั ่ ค่าคงที่ที่เป็ นจานวนจริ งใดๆ จงเขียนกราฟ ของฟังกัชนต่อไปนี้พร้อมทั้ง บอกโดเมน และ เรนจ์ ั 1) y  x 2) y  x  1 ………………… 3) y  x  2 ………………… ………………… 4) y  x  1 ………………… 5) y  x  2 ………………… ………………… 6) y  x  2  3 ………………… 7) y  x  2  3 ………………… ……………….... ◙รุปลักษณะของกราฟของฟังก์ ชัน y  x  h  k ส Exercise จงเขียนกราฟ ของฟังกัชนต่อไปนี้พร้อมทั้ง บอกโดเมน และ เรนจ์ ั 8) y   x 9) y  x  1  1 10) y  x  2  2 11) y  x  1  2 12) y  x  2  3 13) y  x  2  3 14) y  2 x  3  4 จงแก้สมการต่อไปนี้ 15) x  2  0 16) x  3  0 17) x  1  2 18) x  2  3  0 19) x  2  3  0 เรื่ อง Relations and Functions 9 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
  • 11. คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4 หน้ า 10 1.6 ฟังก์ชันบันได(Step Function) A B  B  A ? พิจารณา ฟังก์ชน y  [ x] เมื่อ [ x] หมายถึงจานวนเต็มที่มากที่สุดที่นอยกว่า หรื อ ั ้ เท่ากับ x ………………… ………………… ………………… ………………… ………………… ………………… ………………… ………………… ……………….... ฟังก์ชนที่มีกราฟลักษณะดังกล่าว เรี ยกว่า ฟังก์ชนขั้นบันได (Step function) ั ั Ex. อัตราค่าไปรษณี ยากรสาหรับส่ งจดหมายในประเทศ มีดงนี้ ั พิกัดน้าหนัก อัตรา (บาท) ไม่เกิน 20 กรัม 2.00 เกิน 20 กรัม แต่ไม่เกิน 100 กรัม 3.00 เกิน 100 กรัม แต่ไม่เกิน 250 กรัม 5.00 เกิน 250 กรัม แต่ไม่เกิน 500 กรัม 9.00 เกิน 500 กรัม แต่ไม่เกิน 1000 กรัม 16.00 เกิน 1000 กรัม แต่ไม่เกิน 2000 กรัม 30.00 สามารถเขียนในรู ปฟั งก์ชนขั้นบันไดดังนี้ ั  2.00, 0  x  20  3.00, 20  x  100   5.00, 100  x  250 f ( x)    9.00, 250  x  500  16.00, 500  x  1000  30.00, 1000  x  2000 เรื่ อง Relations and Functions 10 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
  • 12. คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4 หน้ า 11 ◙ ตัวอย่ างข้ อสอบที่ท้าทายเรื่องความสั มพันธ์ และฟังก์ ชัน  ความสัมพันธ์ 1. ให้ A = {0 , 1 , 2 , 3} และ P(A) คือเพาเวอร์ เซตของ A ถ้า r เป็ นความสัมพันธ์จาก A ไป ยัง P(A) กาหนดโดย r = {(a , B) | a  2 , a  B และ a+1  B} แล้ว r มีจานวน สมาชิกกี่จานวน 2. ถ้าความสัมพันธ์ r = {(x, y)  R  R | y = 2 4 } (x  1) 2  4 แล้วข้อใดต่อไปนี้คือเรนจ์ของ r 1. (– , 2)  [3 , ) 2. (– , 2)  (3 , ) 3. (– , 2]  [3 , ) 4. (– , 2]  (3 , ) 3. กาหนดให้ r เป็ นความสัมพันธ์ในเซตของจานวนจริ ง โดยที่ r = {(x, y) | y = 1  x2 } 1  x2 ข้อใดต่อไปนี้ถูก 1. Dr = [–1 , 1] , Dr1 = [–1 , 1] 2. Dr = [–1 , 1] , Dr1 = [0 , 1] 3. Dr = [0 , 1] , Dr1 = [–1 , 1] 4. Dr = [0 , 1] , Dr1 = [0 , 1] 4. กาหนดให้ S เป็ นเซตคาตอบของอสมการ x2  8x + 20 ถ้า A = {x  S | x เป็ นจานวนเฉพาะบวก} และ B = {x S | x เป็ นจานวนเต็มคี} ่ แล้ว (A  B) – (B  A) มีจานวนสมาชิกเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 11 2. 15 3. 21 4. 23 5. กาหนดให้ r = {(x , y) | y = 9  x 2 } และ s = {(x , y) | y = 1 } x2  9 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. D r  R 1 =  ข. R r  D 1 = (0 , ) s s ข้อใดต่อไปนี้ถูก 1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด เรื่ อง Relations and Functions 11 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
  • 13. คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4 หน้ า 12 6. กาหนด ความสัมพันธ์ r = { (x, y ) | | y |  21 } พิจารณาข้อความต่อไปนี้ x 1 ก. Dr = (– , –1)  (1 , ) ข. r 1  { (x, y) | y   1  x } x ข้อใดต่อไปนี้ถูก 1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด 7. ถ้า r = { (x , y)  R  R | 2x 3  3xy 2  x 2  y 2 = 0 แล้ว เรนจ์ของ r 1 เท่ากับข้อใด 1. (– 1 , 1] 2. [– 1 , 1) 3 2 2 3 3. 1 (–  , – )  (– 1 , ) 4. (–  , ) 3 3 8. กาหนดให้ r = {(x, y) | 0  x , 0  y  5 และ x 2  y 2 – 2x + 6y  8} พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. D r = [0, 3] ข. ถ้า 0  c และ (3, c)  r แล้ว c = 5 ข้อใดต่อไปนี้ถูก 1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด 9. ให้ r = { (x, y ) | y  x2 4 } x 2 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. 4  R r ข. R 1 = [0, 4)  (4, ) r ข้อใดต่อไปนี้ถูก 1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด 10. กาหนดให้ r = {(x, y) | x  y และ y 2 = x 2 + 2x – 3 } พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. D r = [1, ) ข. R r = (–, ) ข้อใดต่อไปนี้ถูก 1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด เรื่ อง Relations and Functions 12 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
  • 14. คณิ ตศาสตร์ เสริ ม หลักสู ตร EP โรงเรี ยนสตรี ศึกษา จังหวัดร้ อยเอ็ด ระดับมั ธยมศึ กษาปี ที่ 4 หน้ า 13  ฟังก์ชัน 1. กาหนดให้ k เป็ นค่าคงตัว และ r = {(x, y)  R+  R+ | x + k x = y + k y } พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. ถ้า k = 1 แล้ว r เป็ นฟังก์ชน ั ข. ถ้า k = –1 แล้ว r เป็ นฟังก์ชน ั ข้อใดต่อไปนี้ถก ู 1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด 2 เมือ x   1 ่  2. กาหนดให้ f(x) =  (x  1) 2 เมือ  1  x  2 ่ และ g(x)  f(x)  2  x 1 เมือ x  2 ่  ถ้า k เป็ นจานวนเต็มที่นอยที่สุดที่ทาให้ g(k)  5 แล้ว g(f(k)) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ้ 1. 5 2. 6 3. 7 4. 8 3. กาหนดให้ a  0 และ x f(x) = , x,a > 0 a g(x) = x3 f (64) ถ้า f ( g (4))  2 แล้ว มีค่าเท่ากับเท่าใด g (64) 4. ให้ A = {1, 2, 3, 4} และ B = {1, 2, 3, 4, 5} f เป็ นฟังก์ชน จาก A ไป B ั โดยที่ f(1) = 2 หรื อ f(2) = m เมื่อ m เป็ นจานวนคี่ แล้ว จานวนฟังก์ชน f ที่มีสมบัติดงกล่าวเท่ากับข้อใด ั ั 1. 75 2. 150 3. 425 4. 500 ============================== เรื่ อง Relations and Functions 13 ดร.วัฒนา เถาว์ ทิพย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น