SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 5
Descargar para leer sin conexión
ใบความรู้ที่ 19
เรื่อง อสมการ
อสมการ (Inequalities)
ถ้า a และ b เป็นจานวนจริง เราสามารถเปรียบเทียบตาแหน่ง a และ b บนเส้นจานวน
โดยใช้ความสัมพันธ์น้อยกว่า มากกว่า น้อยกว่าหรือเท่ากับ และมากกว่าหรือเท่ากับ โดยมี สัญลักษณ์บอก
ความสัมพันธ์เป็น <, >,  และ  ตามลาดับ เช่น
กราฟนี้แสดงว่า b < a หรือ a > b
เป็นข้อความที่สมมูลกับข้อความ a - b เป็นจานวนบวก
เป็นข้อความที่บอกตาแหน่ง คือ a อยู่ทางขวาของ b
ตาราง แสดงประโยคคณิตศาสตร์ข้อความที่สมมูลกัน และข้อความบอกตาแหน่งของจุดบนเส้นจานวน
ประโยคคณิตศาสตร์ ข้อความที่สมมูลกัน ข้อความบอกตาแหน่ง
a > 0 a เป็นจานวนบวก a อยู่ทางขวาของจุดกาเนิด
a < 0 a เป็นจานวนลบ a อยู่ทางซ้ายของจุดกาเนิด
a > b a-b เป็นจานวนบวก a อยู่ทางขวาของ b
a < b a-b เป็นจานวนลบ a อยู่ทางซ้ายของ b
a  b a-b เป็นศูนย์หรือจานวนบวก a อยู่จุดเดียวกับ หรือ a
อยู่ทางขวาของ b
a  b a-b เป็นศูนย์หรือจานวนลบ a อยู่จุดเดียวกับ หรือ a
อยู่ทางซ้ายของ b
ประโยคคณิตศาสตร์ที่ใช้สัญลักษณ์อสมการ เช่น a > b, a < b, a  b หรือ a  b เรียกว่า อสมการ
(inequalities)
ตัวอย่าง การอ่านสัญลักษณ์ของอสมการ
1) a < b อ่านว่า a น้อยกว่า b หมายถึง a มีค่าน้อยกว่า b
2) a  b อ่านว่า a น้อยกว่าหรือเท่ากับ b หมายถึง a มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ b
3) a > b อ่านว่า a มากกว่า b หมายถึง a มีค่ามากกว่า b
4) a  b อ่านว่า a มากกว่าหรือเท่ากับ b หมายถึง a มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ b
5) a < b < c อ่านว่า a น้อยกว่า b และ b น้อยกว่า c หมายถึง a มีค่าน้อยกว่า b
และ b มีค่าน้อยกว่า c
6) a  b  c อ่านว่า a น้อยกว่าหรือเท่ากับ b และ b น้อยกว่าหรือเท่ากับ c
หมายถึง a มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ b และ b มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ c
7) a < b  c อ่านว่า a น้อยกว่า b และ b น้อยกว่าหรือเท่ากับ c หมายถึง
a มีค่าน้อยกว่า b และ b มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ c
8) a  b < c อ่านว่า a น้อยกว่าหรือเท่ากับ b และ b น้อยกว่า c
หมายถึง a มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ b และ b น้อยกว่า c
จานวนจริงจะสอดคล้องกับสมบัติของอสมการต่อไปนี้
สมบัติของอสมการ
ให้ a, b และ c แทนจานวนจริง
1. มีความสัมพันธ์เพียงอย่างเดียวเท่านั้น คือ
a < b, a > b, a = b
เรียกสมบัติไตรวิภาค (trichotomy property)
2. ถ้า a < b และ b < c แล้ว a < c
เรียกสมบัติถ่ายทอด (transitive property)
2 < 6 และ 6 < 10
ดังนั้น 2 < 10
3. ถ้า a < b แล้ว a + c < b + c
เรียกสมบัติการบวก (addition property)
-4 < 2 ดังนั้น -4 + 6 < 2 + 6
3 < 6
ดังนั้น > และ
3  6
4.ถ้า a < b และ c > 0 แล้ว ac < bc
เรียกสมบัติการคูณ (multiplication property)
-5 < 1 ดังนั้น(-5) x4 < 1 x 4
หรือ -20 < 4
นั่นคือ เมื่อคูณอสมการด้วยจานวนบวก สัญลักษณ์อสมการยังคงเหมือนเดิม
5.ถ้า a < b และ c < 0 แล้ว ac > bc
เรียกสมบัติการคูณ (multiplication property)
-3 < 2 ดังนั้น(-3)(-4) > (2)(-4)
หรือ 12 > -8
นั่นคือ เมื่อคูณอสมการด้วยจานวนลบสัญลักษณ์อสมการจะเปลี่ยนไป เช่น
เปลี่ยนจาก < เป็น >,  เป็น , > เป็น < และ  เป็น 
สรุป
สมบัติที่เกี่ยวกับอสมการของจานวนจริง มีดังนี้
ให้ a , b และ c แทนจานวนจริง
1. มีความสัมพันธ์อย่างเดียวเท่านั้น คือ a < b , a > b , a = b
เรียกว่าสมบัติไตรวิภาค
2. ถ้า a < b และ b < c แล้ว a < c เรียกว่าสมบัติถ่ายทอด
3. ถ้า a < b แล้ว a + c < b + c เรียกว่าสมบัติการบวก
4. ถ้า a < b และ c > 0 แล้ว ac < bc เรียกว่าสมบัติการคูณ
5. ถ้า a < b และ c < 0 แล้ว ac > bc เรียกว่าสมบัติคูณด้วยจานวนลบ
แบบฝึกทักษะที่ 19
เรื่อง อสมการ
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. a มีค่าน้อยกว่า -8 แทนด้วยสัญลักษณ์ ……………………………………………….
2. b มีค่ามากกว่า 10 แทนด้วยสัญลักษณ์ ……………………………………………….
3. x มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 แทนด้วยสัญลักษณ์ ……………………………………
4. y มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 20 แทนด้วยสัญลักษณ์ ……………………………………
5. a  4 จานวนสามจานวนที่สอดคล้องกับอสมการ คือ ………………………………
6. a  -4 จานวนสามจานวนที่สอดคล้องกับอสมการ คือ ……………………………..
7. ถ้า 7 > 4 และ 4 > 2 แล้ว ………………………………………………………….
8. ถ้า 8 > 2 แล้ว 8 + 6 > ……………………………………………………………..
9. ถ้า 10 + 5 > 6 + 5 แล้ว ………………………………………………………………
10. ถ้า 12 > 7 แล้ว 12  3 > ………………………………………………………….
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 19
เรื่อง อสมการ
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. a มีค่าน้อยกว่า -8 แทนด้วยสัญลักษณ์ ……………… a < -8……………………….
2. b มีค่ามากกว่า 10 แทนด้วยสัญลักษณ์ ……………… b > 10……………………….
3. x มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 แทนด้วยสัญลักษณ์ …… x  5………………………
4. y มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 20 แทนด้วยสัญลักษณ์ …… y  20………………………
5. a  4 จานวนสามจานวนที่สอดคล้องกับอสมการ คือ …………4, 5, 6……………
6. a  -4 จานวนสามจานวนที่สอดคล้องกับอสมการ คือ …………-4, -5, -6………..
7. ถ้า 7 > 4 และ 4 > 2 แล้ว …………………7 > 2…………………………….
8. ถ้า 8 > 2 แล้ว 8 + 6 > ……………………2 + 6 ………………………………..
9. ถ้า 10 + 5 > 6 + 5 แล้ว ……………………10 > 6…………………………………
10. ถ้า 12 > 7 แล้ว 12  3 > …………………7  3……………………………….

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555
wongsrida
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3
krookay2012
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
krutew Sudarat
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
narong2508
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พัน พัน
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
Piyanouch Suwong
 
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอนวิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
ทับทิม เจริญตา
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
krusongkran
 
คณิตศาสตร์ ป.6 การแก้สมการ
คณิตศาสตร์ ป.6 การแก้สมการคณิตศาสตร์ ป.6 การแก้สมการ
คณิตศาสตร์ ป.6 การแก้สมการ
Win Assawin
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนาม
krookay2012
 

La actualidad más candente (20)

อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555
 
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
lesson 1
lesson 1lesson 1
lesson 1
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอนวิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
คณิตศาสตร์ ป.6 การแก้สมการ
คณิตศาสตร์ ป.6 การแก้สมการคณิตศาสตร์ ป.6 การแก้สมการ
คณิตศาสตร์ ป.6 การแก้สมการ
 
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนาม
 

Destacado (8)

18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
32201mid522
32201mid52232201mid522
32201mid522
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2
การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2
การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2
 

Más de Aon Narinchoti

Más de Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

อสมการ

  • 1. ใบความรู้ที่ 19 เรื่อง อสมการ อสมการ (Inequalities) ถ้า a และ b เป็นจานวนจริง เราสามารถเปรียบเทียบตาแหน่ง a และ b บนเส้นจานวน โดยใช้ความสัมพันธ์น้อยกว่า มากกว่า น้อยกว่าหรือเท่ากับ และมากกว่าหรือเท่ากับ โดยมี สัญลักษณ์บอก ความสัมพันธ์เป็น <, >,  และ  ตามลาดับ เช่น กราฟนี้แสดงว่า b < a หรือ a > b เป็นข้อความที่สมมูลกับข้อความ a - b เป็นจานวนบวก เป็นข้อความที่บอกตาแหน่ง คือ a อยู่ทางขวาของ b ตาราง แสดงประโยคคณิตศาสตร์ข้อความที่สมมูลกัน และข้อความบอกตาแหน่งของจุดบนเส้นจานวน ประโยคคณิตศาสตร์ ข้อความที่สมมูลกัน ข้อความบอกตาแหน่ง a > 0 a เป็นจานวนบวก a อยู่ทางขวาของจุดกาเนิด a < 0 a เป็นจานวนลบ a อยู่ทางซ้ายของจุดกาเนิด a > b a-b เป็นจานวนบวก a อยู่ทางขวาของ b a < b a-b เป็นจานวนลบ a อยู่ทางซ้ายของ b a  b a-b เป็นศูนย์หรือจานวนบวก a อยู่จุดเดียวกับ หรือ a อยู่ทางขวาของ b a  b a-b เป็นศูนย์หรือจานวนลบ a อยู่จุดเดียวกับ หรือ a อยู่ทางซ้ายของ b ประโยคคณิตศาสตร์ที่ใช้สัญลักษณ์อสมการ เช่น a > b, a < b, a  b หรือ a  b เรียกว่า อสมการ (inequalities)
  • 2. ตัวอย่าง การอ่านสัญลักษณ์ของอสมการ 1) a < b อ่านว่า a น้อยกว่า b หมายถึง a มีค่าน้อยกว่า b 2) a  b อ่านว่า a น้อยกว่าหรือเท่ากับ b หมายถึง a มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ b 3) a > b อ่านว่า a มากกว่า b หมายถึง a มีค่ามากกว่า b 4) a  b อ่านว่า a มากกว่าหรือเท่ากับ b หมายถึง a มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ b 5) a < b < c อ่านว่า a น้อยกว่า b และ b น้อยกว่า c หมายถึง a มีค่าน้อยกว่า b และ b มีค่าน้อยกว่า c 6) a  b  c อ่านว่า a น้อยกว่าหรือเท่ากับ b และ b น้อยกว่าหรือเท่ากับ c หมายถึง a มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ b และ b มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ c 7) a < b  c อ่านว่า a น้อยกว่า b และ b น้อยกว่าหรือเท่ากับ c หมายถึง a มีค่าน้อยกว่า b และ b มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ c 8) a  b < c อ่านว่า a น้อยกว่าหรือเท่ากับ b และ b น้อยกว่า c หมายถึง a มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ b และ b น้อยกว่า c จานวนจริงจะสอดคล้องกับสมบัติของอสมการต่อไปนี้ สมบัติของอสมการ ให้ a, b และ c แทนจานวนจริง 1. มีความสัมพันธ์เพียงอย่างเดียวเท่านั้น คือ a < b, a > b, a = b เรียกสมบัติไตรวิภาค (trichotomy property) 2. ถ้า a < b และ b < c แล้ว a < c เรียกสมบัติถ่ายทอด (transitive property) 2 < 6 และ 6 < 10 ดังนั้น 2 < 10 3. ถ้า a < b แล้ว a + c < b + c เรียกสมบัติการบวก (addition property) -4 < 2 ดังนั้น -4 + 6 < 2 + 6 3 < 6 ดังนั้น > และ 3  6
  • 3. 4.ถ้า a < b และ c > 0 แล้ว ac < bc เรียกสมบัติการคูณ (multiplication property) -5 < 1 ดังนั้น(-5) x4 < 1 x 4 หรือ -20 < 4 นั่นคือ เมื่อคูณอสมการด้วยจานวนบวก สัญลักษณ์อสมการยังคงเหมือนเดิม 5.ถ้า a < b และ c < 0 แล้ว ac > bc เรียกสมบัติการคูณ (multiplication property) -3 < 2 ดังนั้น(-3)(-4) > (2)(-4) หรือ 12 > -8 นั่นคือ เมื่อคูณอสมการด้วยจานวนลบสัญลักษณ์อสมการจะเปลี่ยนไป เช่น เปลี่ยนจาก < เป็น >,  เป็น , > เป็น < และ  เป็น  สรุป สมบัติที่เกี่ยวกับอสมการของจานวนจริง มีดังนี้ ให้ a , b และ c แทนจานวนจริง 1. มีความสัมพันธ์อย่างเดียวเท่านั้น คือ a < b , a > b , a = b เรียกว่าสมบัติไตรวิภาค 2. ถ้า a < b และ b < c แล้ว a < c เรียกว่าสมบัติถ่ายทอด 3. ถ้า a < b แล้ว a + c < b + c เรียกว่าสมบัติการบวก 4. ถ้า a < b และ c > 0 แล้ว ac < bc เรียกว่าสมบัติการคูณ 5. ถ้า a < b และ c < 0 แล้ว ac > bc เรียกว่าสมบัติคูณด้วยจานวนลบ
  • 4. แบบฝึกทักษะที่ 19 เรื่อง อสมการ คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. a มีค่าน้อยกว่า -8 แทนด้วยสัญลักษณ์ ………………………………………………. 2. b มีค่ามากกว่า 10 แทนด้วยสัญลักษณ์ ………………………………………………. 3. x มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 แทนด้วยสัญลักษณ์ …………………………………… 4. y มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 20 แทนด้วยสัญลักษณ์ …………………………………… 5. a  4 จานวนสามจานวนที่สอดคล้องกับอสมการ คือ ……………………………… 6. a  -4 จานวนสามจานวนที่สอดคล้องกับอสมการ คือ …………………………….. 7. ถ้า 7 > 4 และ 4 > 2 แล้ว …………………………………………………………. 8. ถ้า 8 > 2 แล้ว 8 + 6 > …………………………………………………………….. 9. ถ้า 10 + 5 > 6 + 5 แล้ว ……………………………………………………………… 10. ถ้า 12 > 7 แล้ว 12  3 > ………………………………………………………….
  • 5. เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 19 เรื่อง อสมการ คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. a มีค่าน้อยกว่า -8 แทนด้วยสัญลักษณ์ ……………… a < -8………………………. 2. b มีค่ามากกว่า 10 แทนด้วยสัญลักษณ์ ……………… b > 10………………………. 3. x มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 แทนด้วยสัญลักษณ์ …… x  5……………………… 4. y มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 20 แทนด้วยสัญลักษณ์ …… y  20……………………… 5. a  4 จานวนสามจานวนที่สอดคล้องกับอสมการ คือ …………4, 5, 6…………… 6. a  -4 จานวนสามจานวนที่สอดคล้องกับอสมการ คือ …………-4, -5, -6……….. 7. ถ้า 7 > 4 และ 4 > 2 แล้ว …………………7 > 2……………………………. 8. ถ้า 8 > 2 แล้ว 8 + 6 > ……………………2 + 6 ……………………………….. 9. ถ้า 10 + 5 > 6 + 5 แล้ว ……………………10 > 6………………………………… 10. ถ้า 12 > 7 แล้ว 12  3 > …………………7  3……………………………….