SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 15
ความเป็นมาของภาษา JSP
JSP (Java Server Page) ภาษา JSP เป็นเทคโนโลยีของ
จาวาสำาหรับสร้าง HTML, XML หรือตามที่ผู้ใช้ร้องขอมีตัวแปล
ภาษาคือ Tomcat Apache และ Java Compiler พัฒนาโดย
James Duncan Davidson ค.ศ.2000
Java Server Page (JSP) เป็นเทคโนโลยีสำาหรับการ
ควบคุมเนื้อหาหรือสิ่งที่มองเห็นของเว็บเพจผ่านการใช้ servlet
ผู้พัฒนา Java ได้อ้างถึงเทคโนโลยี JSP เป็น Servlet
application program interface โดย JSP เปรียบเทียบได้
กับเทคโนโลยี (ASP) ของ Microsoft ขณะที่ Java Server
Page เรียกโปรแกรม Java โดยแม่ข่ายเว็บ Active Server
Page เก็บสคริปต์ที่ได้รับการแปลไว้ ก่อนเพจได้รับการส่งไป
ยังผู้ใช้ เพจ HTML ที่เก็บการเชื่อมโยงกับ Java servlet บาง
ครั้งใช้ไฟล์นามสกุล .JSP
ก้าวแรก สู่โลก JSP
คำาสั่งหรือข้อความต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ในไฟล์ JSP อาจมี
เพียงบรรทัดเดียว หรือหลาย ๆ บรรทัด เรียงกันเป็นบล็อก เรียก
คำาสั่งหรือข้อความเหล่านี้อย่างสั้น ๆ ว่า element มีอยู่ 4 แบบ
คือ
1. Scripting elements ได้แก่ code ของจาวาที่เขียน
ใน scriptlet
2. Comments ข้อความต่าง ๆ ที่ผู้เขียนโปรแกรมอธิบาย
หรือขยายความ coding ต่าง ๆในโปรแกรม สะดวกต่อผู้อ่าน
และสะดวกในแก้ไขโปรแกรมในภายหลังเมื่อเวลาผ่านไปนาน
ๆ ข้อความใน comment นี้ server จะไม่นำาไปประมวลผล
หน้า 1
3. Directives คือคำาสั่งที่ใช้กำากับ web server เช่น
กำาหนดให้แสดงผลของ page นี้เป็นแบบ XML ไม่ใช่ Html
4. Actions สำาหรับกำาหนดการกระทำาบางอย่างเช่น
กำาหนดให้นำา page หน้าอื่น มาแสดงผลร่วมกับ page ปัจจุบัน
Scripting Element:
Scripting element ออกเป็น 3 ลักษณะ คือ Scriptlet,
Declaration และ Expression
1. Scriptlet จะเริ่มต้นด้วย <% และปิดท้ายด้วย %>
ระหว่างเครื่องหมายนี้จะเป็นคำาสั่งในภาษาจาวา เช่น <%
out.println("Hello, World"); %> จะมีคำาสั่งภาษาจาวา 1
ประโยค อันที่จริงระหว่างเครื่องหมาย<% และ %> จะมีคำาสั่ง
ภาษาจาวาได้หลายประโยค ดังนั้น scriptlet จึงเป็นสิ่งที่
ปรากฏให้เห็นในไฟล์ JSP มากกว่า Scripting elements
แบบอื่น ๆ
สามารถใช้กับ if…else , for, while, do…while และอื่นๆ
รูปแบบ
<% scriptlets %>
หน้า 2
Declaration :
ใช้ในการประกาศ ตัวแปร เมธอด คลาส และอื่น ๆ ใน
ภาษาจาวา เราสามารถใช้ scriptlet ประกาศค่าตัวแปรได้เช่น
กัน แต่การประกาศ ชนิดข้อมูลของตัวแปร เมธอด หรือคลาส
ต้องใช้ “Declaration” เท่านั้น markup หรือ เครื่องหมายที่
ใช้ประกาศ จะอยู่ระหว่าง <%! กับ %>
รูปแบบ
<%! declarations %>
หน้า 3
Example 2.1 มีการประกาศ และ การเรียกใช้เมธอด
Expression :
หน้า 4
หน้า 5
เป็น Java code สั้น ๆ ที่สามารถคำานวณหรือหาค่าตามที่
กำาหนดให้ได้ ประโยคที่จะคำานวณหรือหาค่าจะต้องอยู่ระหว่าง
<%= และ %> และไม่ต้องมีเครื่องหมายเซมิโคลอน ; ต่อท้าย
ผลลัพธ์ที่ได้จะแสดงอยู่ในรูป text mode ในเว็บเพ็จนั้น
รูปแบบ
<%= expression %>
Comments:
หน้า 6
คอมเมนท์ใน JSP ก็เหมือนกับคอมเมนท์ภาษาคอมพิวเตอร์
อื่น ๆ มีไว้เพื่ออธิบายขยายความคำาสั่งในโปรแกรมให้มีความ
ชัดเจนเข้าใจง่าย รู้ว่าคำาสั่งทำาอะไร ด้วยวิธีการอย่างไร ต้องส่ง
ผ่านตัวแปรใดบ้าง และผลลัพธ์เป็นอย่างไร สะดวกสำาหรับใน
การแก้ไขโปรแกรมในภายหลัง หรือสะดวกต่อโปรแกรมเมอร์
อื่นที่เข้ามาจัดการแก้ไขโปรแกรม ข้อความในคอมเมนท์จะไม่
ถูกคอมไพล์ ใน JSP
รูปแบบ
<%-- declarations -- %>
Directives
หน้า 7
JSP directive เป็นการกำาหนดให้ server รู้ว่าจะประมวลผล
เว็บเพ็จในลักษณะอย่างไร มี 3 แบบ คือ
1. page จะกำาหนดให้ เซิร์ฟเวอร์รู้ว่าจะแสดงผลเว็บเพจ
หน้านี้อย่างไร เช่น เป็น HTML หรือ XML
2. include แจ้งให้เซิร์ฟเวอร์นำาเว็บเพจหน้าอื่น หรือ
resource อื่น ๆ เข้ามารวมกับเว็บเพจหน้าปัจจุบัน
3. tablib ใช้กำาหนด JSP tag ที่นิยามไว้ ใน tag
library คำาสั่งชนิด ไดเรกทิฟ จะอยู่ระหว่างเครื่องหมาย <%@
และ %>
ตัวอย่างการใช้ directive “page” กำาหนดให้ output
แสดงผลเป็นแบบ HTML กำาหนดรหัสภาษาที่ใช้แสดงเป็น
utf8
1
Actions:
หน้า 8
เป็นการกำาหนดให้ JSP กระทำาในสิ่งที่เราต้องการ เช่น
forward ไปยังเว็บไซต์อื่น ใน JSP มี action อยู่ 2 แบบคือ
Standard action ซึ่งฝังมาในตัว JSP เอง และ custom
action เป็น action ที่เราสร้างขึ้นเอง Standard action ที่
พบบ่อยได้แก่
1. <jsp:forward> เป็นการฟอร์เวิด request ไปยัง
เว็บไซต์อื่น
2. <jsp:include> เป็นการนำา output ของ web
component เช่น จากไฟล์ HTML อื่นๆ หรือ JSP หรือ
servlet มาใส่ตรงตำาแหน่งที่คำาสั่งนี้วางอยู่
3. <jsp:plugin> เป็นการกำาหนดให้ applet หรือ
JavaBean ทำางานโดยอาศัยโปรแกรมที่เป็น plug in
4. <jsp:getProperty>, <jsp:setProperty> และ
<jsp:useBean> เป็นการนำาค่าหรือกำาหนดค่า property
และ นำา JavaBean มาใช้งานในโปรแกรมการส่งข้อมูลผ่าน
หน้าเว็บเพจ
ในกรณีที่เราให้ผู้ใช้ป้อนข้อมูลผ่านหน้าเว็บเพจ เช่น
ป้อนชื่อและนามสกุล แล้วนำาข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนเข้ามาไปแสดง
ผลบนหน้าเว็บเพจอีกหน้าหนึ่ง ในที่นี้จะให้ผู้ใช้ป้อนข้อมูลใน
ไฟล์ที่ชื่อ 05.html ส่วนที่ป้อนข้อมูลนั้นอยู่ระหว่าง tag
<FORM> และ </FORM> ดังต่อไปนี้
รวมโปรแกรมเบื้องต้น ด้วยภาษาเจเอสพี (JSP
Language)
1.โปรแกรมพิมพ์ 1 ถึง 10 ด้วย for
หน้า 9
2. โปรแกรม เช็คว่าเป็นวันหยุดหรือไม่ โดยใช้
if...else
หน้า 10
3. การลดทอนค่าโดยใช้ while loop
หน้า 11
4.กาเลือกวันโดย switch case
ข้อดีภาษา JSP
หน้า 12
หน้า 13
- JSP สามารถเรียนรู้และใช้งานได้ง่าย
- JSP สามารถทำางานได้อย่างมีประสิทธิภาพในฝั่งเซิร์ฟเวอร์
- JSP จะทำาการ compiled ก่อนเสมอ ที่จะส่งไปรันบน
เซิร์ฟเวอร์
- JSP สามารถใช้งานร่วมกับ servlets ได้
- JSP เป็นส่วนหนึ่งของ J2EE ซึ่งหมายความว่า JSP สามารถ
เป็นส่วนในการทำางานที่ง่าย หรือซับซ้อนได้
- JSP เขียนด้วยภาษา java จึงทำาให้มีประสิทธิภาพ และใช้งาน
ได้ง่ายกว่า
- JSP สามารถใช้กับ webserver ระบบปฏิบัติการใด ๆ ได้ ไม่
เฉพาะแต่ของ Microsoft Web servers เท่านั้น
ข้อเสียภาษา JSP
ข้อเสียที่เห็นได้ชัดคือการยากในการจัดเก็บ และการยาก
ในการย้ายไฟล์จากเซฟเวอร์หนึ่ง ไปยังอีกเซฟเวอร์หนึ่ง เพราะ
โดยทั่วไปแต่ละ webserver จะมีลักษณะการจัดเก็บไฟล์ไม่
เหมือนกัน แต่เมื่อ Java Servlet Specification เวอร์ชั่น 2.2
ออกมา เซฟเวอร์ที่ใช้รัน Servlet v2.2 จะถูกบังคับให้มีต้องกา
รสนันสนุนการจัดเก็บไฟล์แบบหนึ่ง ที่เรียกว่า Web
Applicaton
web application คือกลุ่มของไดเรคทรอรี่และไฟล์
ที่อาจจะประกอบด้วย html, jsp, servlet, javabean และอื่น
ๆ ซึ่งอยู่รวมกันในลักษณะของระบบไฟล์ (file system) หรือ
ถูกอัดอยู่ในไฟล์เดียวกันโดยจะเรียกว่า Web Archive (.war)
ไฟล์ ซึ่งมีประโยชน์ในการโยกย้ายและติดตั้งจากเซฟเวอร์หนึ่ง
ไปยังอีกเซฟเวอร์หนึ่ง
บรรณานุกรม
http://www.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/2
86/17/9/pic1/prg_note/jsp/JSPInADay.html
http://belldeveloper.blogspot.com/2010/09/blog-
post_13.html
http://www.thaiall.com/jsp/
หน้า 14

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
KanlayaratKotaboot
 
โจทย์ปัญหาร้อยละกับการหาค่าร้อยละ ม.2
โจทย์ปัญหาร้อยละกับการหาค่าร้อยละ ม.2โจทย์ปัญหาร้อยละกับการหาค่าร้อยละ ม.2
โจทย์ปัญหาร้อยละกับการหาค่าร้อยละ ม.2
Nok Yupa
 
4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี
mansuang1978
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
NU
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
ma020406
 
การแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติการแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติ
pattya0207
 
การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม
การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อมการเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม
การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม
ทับทิม เจริญตา
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
Chess
 

La actualidad más candente (20)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
 
Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)
Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)
Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)
 
6.Flow control
6.Flow control6.Flow control
6.Flow control
 
Data mining and_big_data_web
Data mining and_big_data_webData mining and_big_data_web
Data mining and_big_data_web
 
โจทย์ปัญหาร้อยละกับการหาค่าร้อยละ ม.2
โจทย์ปัญหาร้อยละกับการหาค่าร้อยละ ม.2โจทย์ปัญหาร้อยละกับการหาค่าร้อยละ ม.2
โจทย์ปัญหาร้อยละกับการหาค่าร้อยละ ม.2
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
บทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น table
บทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น tableบทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น table
บทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น table
 
4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี
 
05 classification 1 decision tree and rule based classification
05 classification 1 decision tree and rule based classification05 classification 1 decision tree and rule based classification
05 classification 1 decision tree and rule based classification
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
 
การแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติการแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติ
 
Introduction to Data Mining and Big Data Analytics
Introduction to Data Mining and Big Data AnalyticsIntroduction to Data Mining and Big Data Analytics
Introduction to Data Mining and Big Data Analytics
 
Weka classification
Weka classificationWeka classification
Weka classification
 
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม
การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อมการเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม
การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล วงค์สารี
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล  วงค์สารีการใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล  วงค์สารี
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล วงค์สารี
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
 

Destacado

01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
supatra178
 
1. ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
1. ความรู้เกี่ยวกับการ web programming1. ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
1. ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
hello8421
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
Prawwe Papasson
 
สร้าง Soap web services ง่ายๆ
สร้าง Soap web services ง่ายๆสร้าง Soap web services ง่ายๆ
สร้าง Soap web services ง่ายๆ
Utain Wongpreaw
 

Destacado (20)

lesson4 JSP
lesson4 JSPlesson4 JSP
lesson4 JSP
 
lesson2 JSP
lesson2 JSPlesson2 JSP
lesson2 JSP
 
lesson1 JSP
lesson1 JSPlesson1 JSP
lesson1 JSP
 
Java Web programming Using NetBeans
Java Web programming Using NetBeansJava Web programming Using NetBeans
Java Web programming Using NetBeans
 
Jsp
JspJsp
Jsp
 
lesson3 JSP
lesson3 JSPlesson3 JSP
lesson3 JSP
 
01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
01 ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
 
lesson5 JSP
lesson5 JSPlesson5 JSP
lesson5 JSP
 
Java Web programming Using Eclipse
Java Web programming Using EclipseJava Web programming Using Eclipse
Java Web programming Using Eclipse
 
lesson4 JSP
lesson4 JSPlesson4 JSP
lesson4 JSP
 
1. ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
1. ความรู้เกี่ยวกับการ web programming1. ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
1. ความรู้เกี่ยวกับการ web programming
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Java2
Java2Java2
Java2
 
lesson3 JSP
lesson3 JSPlesson3 JSP
lesson3 JSP
 
lesson6
lesson6lesson6
lesson6
 
Java Web Services and SOA Exercises [in Thai]
Java Web Services and SOA Exercises [in Thai]Java Web Services and SOA Exercises [in Thai]
Java Web Services and SOA Exercises [in Thai]
 
Basic java need to know for newbie android developer
Basic java need to know for newbie android developerBasic java need to know for newbie android developer
Basic java need to know for newbie android developer
 
สร้าง Soap web services ง่ายๆ
สร้าง Soap web services ง่ายๆสร้าง Soap web services ง่ายๆ
สร้าง Soap web services ง่ายๆ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
 
Error handle-OOP(รูปแบบและลักษณะการ Error ในโปรแกรม)
Error handle-OOP(รูปแบบและลักษณะการ Error ในโปรแกรม)Error handle-OOP(รูปแบบและลักษณะการ Error ในโปรแกรม)
Error handle-OOP(รูปแบบและลักษณะการ Error ในโปรแกรม)
 

Similar a ภาษา Jsp

Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0
Theeravaj Tum
 
Javacentrix com chap05-0
Javacentrix com chap05-0Javacentrix com chap05-0
Javacentrix com chap05-0
Theeravaj Tum
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
Palm Unnop
 
งานครูปลาม์
งานครูปลาม์งานครูปลาม์
งานครูปลาม์
0908067327
 
SOA Using GlassFishESB and NetBeans [in Thai]
SOA Using GlassFishESB and NetBeans [in Thai]SOA Using GlassFishESB and NetBeans [in Thai]
SOA Using GlassFishESB and NetBeans [in Thai]
Thanachart Numnonda
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
Aeew Autaporn
 
Javacentrix com chap10-0
Javacentrix com chap10-0Javacentrix com chap10-0
Javacentrix com chap10-0
Theeravaj Tum
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8
arachaporn
 

Similar a ภาษา Jsp (20)

Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0
 
lesson2 JSP
lesson2 JSPlesson2 JSP
lesson2 JSP
 
Javacentrix com chap05-0
Javacentrix com chap05-0Javacentrix com chap05-0
Javacentrix com chap05-0
 
คู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and Pythonคู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and Python
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
Computer Programming 1
Computer Programming 1Computer Programming 1
Computer Programming 1
 
J2 ee คืออะไร
J2 ee คืออะไรJ2 ee คืออะไร
J2 ee คืออะไร
 
งานครูปลาม์
งานครูปลาม์งานครูปลาม์
งานครูปลาม์
 
ภาษา php
ภาษา phpภาษา php
ภาษา php
 
Eclipse
EclipseEclipse
Eclipse
 
SOA Using GlassFishESB and NetBeans [in Thai]
SOA Using GlassFishESB and NetBeans [in Thai]SOA Using GlassFishESB and NetBeans [in Thai]
SOA Using GlassFishESB and NetBeans [in Thai]
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Java bootcamp jax-ws
Java bootcamp  jax-wsJava bootcamp  jax-ws
Java bootcamp jax-ws
 
Greenstone Installation
Greenstone InstallationGreenstone Installation
Greenstone Installation
 
Javacentrix com chap10-0
Javacentrix com chap10-0Javacentrix com chap10-0
Javacentrix com chap10-0
 
Php
PhpPhp
Php
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8
 
Java Programming [1/12] : Introduction
Java Programming [1/12] : IntroductionJava Programming [1/12] : Introduction
Java Programming [1/12] : Introduction
 
joomla-2-5-install-appserv
joomla-2-5-install-appservjoomla-2-5-install-appserv
joomla-2-5-install-appserv
 

ภาษา Jsp

  • 1. ความเป็นมาของภาษา JSP JSP (Java Server Page) ภาษา JSP เป็นเทคโนโลยีของ จาวาสำาหรับสร้าง HTML, XML หรือตามที่ผู้ใช้ร้องขอมีตัวแปล ภาษาคือ Tomcat Apache และ Java Compiler พัฒนาโดย James Duncan Davidson ค.ศ.2000 Java Server Page (JSP) เป็นเทคโนโลยีสำาหรับการ ควบคุมเนื้อหาหรือสิ่งที่มองเห็นของเว็บเพจผ่านการใช้ servlet ผู้พัฒนา Java ได้อ้างถึงเทคโนโลยี JSP เป็น Servlet application program interface โดย JSP เปรียบเทียบได้ กับเทคโนโลยี (ASP) ของ Microsoft ขณะที่ Java Server Page เรียกโปรแกรม Java โดยแม่ข่ายเว็บ Active Server Page เก็บสคริปต์ที่ได้รับการแปลไว้ ก่อนเพจได้รับการส่งไป ยังผู้ใช้ เพจ HTML ที่เก็บการเชื่อมโยงกับ Java servlet บาง ครั้งใช้ไฟล์นามสกุล .JSP ก้าวแรก สู่โลก JSP คำาสั่งหรือข้อความต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ในไฟล์ JSP อาจมี เพียงบรรทัดเดียว หรือหลาย ๆ บรรทัด เรียงกันเป็นบล็อก เรียก คำาสั่งหรือข้อความเหล่านี้อย่างสั้น ๆ ว่า element มีอยู่ 4 แบบ คือ 1. Scripting elements ได้แก่ code ของจาวาที่เขียน ใน scriptlet 2. Comments ข้อความต่าง ๆ ที่ผู้เขียนโปรแกรมอธิบาย หรือขยายความ coding ต่าง ๆในโปรแกรม สะดวกต่อผู้อ่าน และสะดวกในแก้ไขโปรแกรมในภายหลังเมื่อเวลาผ่านไปนาน ๆ ข้อความใน comment นี้ server จะไม่นำาไปประมวลผล หน้า 1
  • 2. 3. Directives คือคำาสั่งที่ใช้กำากับ web server เช่น กำาหนดให้แสดงผลของ page นี้เป็นแบบ XML ไม่ใช่ Html 4. Actions สำาหรับกำาหนดการกระทำาบางอย่างเช่น กำาหนดให้นำา page หน้าอื่น มาแสดงผลร่วมกับ page ปัจจุบัน Scripting Element: Scripting element ออกเป็น 3 ลักษณะ คือ Scriptlet, Declaration และ Expression 1. Scriptlet จะเริ่มต้นด้วย <% และปิดท้ายด้วย %> ระหว่างเครื่องหมายนี้จะเป็นคำาสั่งในภาษาจาวา เช่น <% out.println("Hello, World"); %> จะมีคำาสั่งภาษาจาวา 1 ประโยค อันที่จริงระหว่างเครื่องหมาย<% และ %> จะมีคำาสั่ง ภาษาจาวาได้หลายประโยค ดังนั้น scriptlet จึงเป็นสิ่งที่ ปรากฏให้เห็นในไฟล์ JSP มากกว่า Scripting elements แบบอื่น ๆ สามารถใช้กับ if…else , for, while, do…while และอื่นๆ รูปแบบ <% scriptlets %> หน้า 2
  • 3. Declaration : ใช้ในการประกาศ ตัวแปร เมธอด คลาส และอื่น ๆ ใน ภาษาจาวา เราสามารถใช้ scriptlet ประกาศค่าตัวแปรได้เช่น กัน แต่การประกาศ ชนิดข้อมูลของตัวแปร เมธอด หรือคลาส ต้องใช้ “Declaration” เท่านั้น markup หรือ เครื่องหมายที่ ใช้ประกาศ จะอยู่ระหว่าง <%! กับ %> รูปแบบ <%! declarations %> หน้า 3
  • 4.
  • 5. Example 2.1 มีการประกาศ และ การเรียกใช้เมธอด Expression : หน้า 4 หน้า 5
  • 6. เป็น Java code สั้น ๆ ที่สามารถคำานวณหรือหาค่าตามที่ กำาหนดให้ได้ ประโยคที่จะคำานวณหรือหาค่าจะต้องอยู่ระหว่าง <%= และ %> และไม่ต้องมีเครื่องหมายเซมิโคลอน ; ต่อท้าย ผลลัพธ์ที่ได้จะแสดงอยู่ในรูป text mode ในเว็บเพ็จนั้น รูปแบบ <%= expression %> Comments: หน้า 6
  • 7. คอมเมนท์ใน JSP ก็เหมือนกับคอมเมนท์ภาษาคอมพิวเตอร์ อื่น ๆ มีไว้เพื่ออธิบายขยายความคำาสั่งในโปรแกรมให้มีความ ชัดเจนเข้าใจง่าย รู้ว่าคำาสั่งทำาอะไร ด้วยวิธีการอย่างไร ต้องส่ง ผ่านตัวแปรใดบ้าง และผลลัพธ์เป็นอย่างไร สะดวกสำาหรับใน การแก้ไขโปรแกรมในภายหลัง หรือสะดวกต่อโปรแกรมเมอร์ อื่นที่เข้ามาจัดการแก้ไขโปรแกรม ข้อความในคอมเมนท์จะไม่ ถูกคอมไพล์ ใน JSP รูปแบบ <%-- declarations -- %> Directives หน้า 7
  • 8. JSP directive เป็นการกำาหนดให้ server รู้ว่าจะประมวลผล เว็บเพ็จในลักษณะอย่างไร มี 3 แบบ คือ 1. page จะกำาหนดให้ เซิร์ฟเวอร์รู้ว่าจะแสดงผลเว็บเพจ หน้านี้อย่างไร เช่น เป็น HTML หรือ XML 2. include แจ้งให้เซิร์ฟเวอร์นำาเว็บเพจหน้าอื่น หรือ resource อื่น ๆ เข้ามารวมกับเว็บเพจหน้าปัจจุบัน 3. tablib ใช้กำาหนด JSP tag ที่นิยามไว้ ใน tag library คำาสั่งชนิด ไดเรกทิฟ จะอยู่ระหว่างเครื่องหมาย <%@ และ %> ตัวอย่างการใช้ directive “page” กำาหนดให้ output แสดงผลเป็นแบบ HTML กำาหนดรหัสภาษาที่ใช้แสดงเป็น utf8 1 Actions: หน้า 8
  • 9. เป็นการกำาหนดให้ JSP กระทำาในสิ่งที่เราต้องการ เช่น forward ไปยังเว็บไซต์อื่น ใน JSP มี action อยู่ 2 แบบคือ Standard action ซึ่งฝังมาในตัว JSP เอง และ custom action เป็น action ที่เราสร้างขึ้นเอง Standard action ที่ พบบ่อยได้แก่ 1. <jsp:forward> เป็นการฟอร์เวิด request ไปยัง เว็บไซต์อื่น 2. <jsp:include> เป็นการนำา output ของ web component เช่น จากไฟล์ HTML อื่นๆ หรือ JSP หรือ servlet มาใส่ตรงตำาแหน่งที่คำาสั่งนี้วางอยู่ 3. <jsp:plugin> เป็นการกำาหนดให้ applet หรือ JavaBean ทำางานโดยอาศัยโปรแกรมที่เป็น plug in 4. <jsp:getProperty>, <jsp:setProperty> และ <jsp:useBean> เป็นการนำาค่าหรือกำาหนดค่า property และ นำา JavaBean มาใช้งานในโปรแกรมการส่งข้อมูลผ่าน หน้าเว็บเพจ ในกรณีที่เราให้ผู้ใช้ป้อนข้อมูลผ่านหน้าเว็บเพจ เช่น ป้อนชื่อและนามสกุล แล้วนำาข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนเข้ามาไปแสดง ผลบนหน้าเว็บเพจอีกหน้าหนึ่ง ในที่นี้จะให้ผู้ใช้ป้อนข้อมูลใน ไฟล์ที่ชื่อ 05.html ส่วนที่ป้อนข้อมูลนั้นอยู่ระหว่าง tag <FORM> และ </FORM> ดังต่อไปนี้
  • 14. - JSP สามารถเรียนรู้และใช้งานได้ง่าย - JSP สามารถทำางานได้อย่างมีประสิทธิภาพในฝั่งเซิร์ฟเวอร์ - JSP จะทำาการ compiled ก่อนเสมอ ที่จะส่งไปรันบน เซิร์ฟเวอร์ - JSP สามารถใช้งานร่วมกับ servlets ได้ - JSP เป็นส่วนหนึ่งของ J2EE ซึ่งหมายความว่า JSP สามารถ เป็นส่วนในการทำางานที่ง่าย หรือซับซ้อนได้ - JSP เขียนด้วยภาษา java จึงทำาให้มีประสิทธิภาพ และใช้งาน ได้ง่ายกว่า - JSP สามารถใช้กับ webserver ระบบปฏิบัติการใด ๆ ได้ ไม่ เฉพาะแต่ของ Microsoft Web servers เท่านั้น ข้อเสียภาษา JSP ข้อเสียที่เห็นได้ชัดคือการยากในการจัดเก็บ และการยาก ในการย้ายไฟล์จากเซฟเวอร์หนึ่ง ไปยังอีกเซฟเวอร์หนึ่ง เพราะ โดยทั่วไปแต่ละ webserver จะมีลักษณะการจัดเก็บไฟล์ไม่ เหมือนกัน แต่เมื่อ Java Servlet Specification เวอร์ชั่น 2.2 ออกมา เซฟเวอร์ที่ใช้รัน Servlet v2.2 จะถูกบังคับให้มีต้องกา รสนันสนุนการจัดเก็บไฟล์แบบหนึ่ง ที่เรียกว่า Web Applicaton web application คือกลุ่มของไดเรคทรอรี่และไฟล์ ที่อาจจะประกอบด้วย html, jsp, servlet, javabean และอื่น ๆ ซึ่งอยู่รวมกันในลักษณะของระบบไฟล์ (file system) หรือ ถูกอัดอยู่ในไฟล์เดียวกันโดยจะเรียกว่า Web Archive (.war) ไฟล์ ซึ่งมีประโยชน์ในการโยกย้ายและติดตั้งจากเซฟเวอร์หนึ่ง