SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 76
ประเทศมาเลเซีย
( Malaysia )
แบ่งออกเป็น 2 ส่วน
ส่วนแรกคือ คาบสมุทรมลายู หรือ
มาเลเซียตะวันตก มีพรมแดนทางทิศเหนือ
ติดประเทศไทย และทิศใต้ติดกับสิงคโปร์
ส่วนที่สองคือ ตอนเหนือของเกาะบอร์เนียว
หรือ มาเลเซียตะวันออก มีพรมแดนทางทิศ
ใต้ติดอินโดนีเซีย และมีพรมแดนล้อมรอบ
ประเทศบรูไน
ที่ตั้ง
คือตั้งอยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร
ประกอบด้วยดินแดนสองส่วน
มาเลเซียตะวันตก ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ประกอบด้วย 11 รัฐ คือ
ภาคเหนือ : รัฐเปอร์ลิส รัฐเคดาห์ รัฐปีนัง รัฐเปรัค
ภาคกลาง : รัฐเซอลังงอร์ รัฐเนเกรี เซมบิลัน
ภาคตะวันออก: รัฐกลันตัน รัฐตรังกานู รัฐปาหัง
ภาคใต้: รัฐมะละกา รัฐยะโฮร์ บาห์รู
ตอนเหนือของเกาะบอร์เนียว หรือ มาเลเซียตะวันออก
ประกอบด้วยรัฐ 2 รัฐคือรัฐซาบาห์ และ รัฐซาราวัค
มีพรมแดนทางทิศใต้ติดอินโดนีเซีย และมีพรมแดนล้อมรอบประเทศบรูไน
นอกจากนี้ยังมีเขตการปกครองภายใต้สหพันธรัฐ อีก 3 เขต คือกรุง
กัวลาลัมเปอร์ (เมืองหลวง) เมืองปุตราจายา (เมืองราชการ) และเกาะลาบวน
พื้นที่ : 329,758 ตารางกิโลเมตร
เมืองหลวง : กรุงกัวลาลัมเปอร์
เมืองราชการ : เมืองปุตราจายา
ภูมิอากาศ : ร้อนชื้น อุณหภูมิเฉลี่ย 28 องศาเซลเซียส
ประชากร : จานวน 26.24 ล้านคน
ภาษา : ภาษาราชการ คือ
ภาษามาเลย์ นอกจากนี้
มีการใช้ภาษาอังกฤษ
จีน และทมิฬ
ศาสนา :
อิสลาม
(ศาสนาประจาชาติ ร้อยละ 60.4)
พุทธ (ร้อยละ 19.2)
คริสต์ (ร้อยละ 11.6)
ฮินดู (ร้อยละ 6.3) อื่น ๆ (ร้อยละ 2.5)
หน่วยเงินตรา :
ริงกิตมาเลเซีย
ประมาณ 3.20 ริงกิต =
1 ดอลลาร์สหรัฐ หรือ
ประมาณ 10.42 บาท = 1 ริงกิต
ริงกิตมาเลเซีย
ชาวบ้านมักเรียกว่า ดอลลาร์มาเลเซีย
เป็นเงินตราประจาชาติของประเทศมาเลเซีย ซึ่งแบ่งเป็น 100 เซ็น
รหัสเงินตรา MYR
ดอลล่าร์สิงคโปร์และดอลล่าร์บรูไนก็เรียกว่า ริงกิต
ในภาษามาเลย์ คาว่า Ringgit ในภาษามาเลแปลว่า "เป็นหยัก ๆ"
และใช้อ้างถึงขอบหยัก ๆ ของ เหรียญเงินของประเทษสเปนที่ใช้แพร่หลายใน
พื้นที่ในปี พ.ศ. 2380
ข้อมูลเศรษฐกิจ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ : 214.7 พันล้านเหรียญสหรัฐ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัว : 7,866 เหรียญสหรัฐ
อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ : 5.8 % 4
อัตราเงินเฟ้อ : 7.2 %
อัตราการว่างงาน : 3.3 %
กาลังแรงงาน : 12.0 ล้านคน
สินค้าเกษตร : คาบสมุทรมาเลเซีย – ยางพารา, น้ามันปาล์ม, โกโก้, ข้าว ซาบาห์ - พืชทดแทน, ยาง,
ไม้สัก, มะพร้าว, ข้าว ซาราวัค - ยางพารา, พริกไทย, ไม้สัก
สินค้าอุตสาหกรรม : คาบสมุทรมาเลเซีย – การผลิตและแปรรูปยางพาราและน้ามันปาล์ม อุตสาหกรรม
การผลิต ขนาดเบา อิเลคทรอนิคส์ เหมืองดีบุก ไม้ การแปรรูปไม้สัก ซาบาห์ – ป่าไม้, การผลิตปิโตรเลียม
ซาราวัค – การแปรรูปสินค้าเกษตร, การผลิตและกลั่นปิโตรเลียม, ป่าไม้
ดุลบัญชีเดินสะพัด (Current Account Balance) : 14.06 พันล้านเหรียญสหรัฐ (2548)
เงินสารองเงินตราต่างประเทศ : 70.23 พันล้านเหรียญสหรัฐ (2548)
หนี้จากต่างประเทศ : 52.2 พันล้านเหรียญสหรัฐ (2548)
สาขาการผลิตที่สาคัญ
ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศมาเลเซียตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของ
ทวีปเอเชียประกอบด้วยดินแดน 2 ส่วนใหญ่ๆ
อยู่ห่างกันประมาณ 400 ไมล์โดยมีทะเลจีนใต้ขวางกั้น เดิมเป็นดินแดนที่มีการปกครอง
แยกจากกัน ได้มารวมเป็นประเทศเดียวกันเมื่อ พ.ศ. 2506
มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 130,000 ตารางไมล์
ได้แก่ ดินแดนที่อยู่ในคาบสมุทรมลายูหรือมลายา ติดชายแดนทางใต้
ของประเทศไทย มีเนื้อที่ประมาณ50,800 ตารางไมล์ ประกอบด้วยรัฐต่าง ๆ 11 รัฐ
ตอนกลางเป็นที่ราบสูง มีภูเขาใหญ่หลายเทือกปกคลุมด้วยป่าทึบบริเวณกว้างขวาง
แถบริมฝั่งทะเลทั้ง 2 ข้างเป็นที่ราบ ดินอุดมสมบูรณ์ ชายฝั่งทะเลตะวันตกเป็นหาดเลนยาว
พื้นที่มีหล่มบึงมาก ส่วนด้านตะวันออกเป็นหาดทรายยาวเหยียด ไม่เหมาะแก่การเป็นท่าเรือ
ตะวันตก
ได้แก่ ดินแดนทางภาคเหนือของเกาะบอร์เนียว มีเนื้อที่ประมาณ 70,200
ตารางไมล์ ประกอบด้วยรัฐ 2 รัฐคือ ซาราวัก และซาบาห์ (บอร์เนียวเหนือ)
พื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่สูง ประกอบด้วยป่าทึบและภูเขาสูงใหญ่ บางยอดเขาสูงเกินกว่าหมื่นฟุต
มีที่ราบขนาดย่อมอยู่ตามริมฝั่งทะเล แม่น้ามักเป็นสายสั้นๆ และไหลเชี่ยวผ่านหุบเขาที่แคบ
และลาดชันไปออกทะเลทางทิศตะวันตก
ตะวันออก
เทือกเขาเทือกเขาสาคัญของมาเลเซียประกอบด้วยเทือกเขาบินดัง
เทือกเขาโกฮิมหรือเทือกเขากลาง เทือกเขาตรังกานู ในแหลมมลายู และ
เทือกเขากินาบาลู ในเกาะบอร์เนียว ซึ่งมียอดเขาโกตาคินาบาลูเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในมาเลเซีย
ในแหลมมลายูมีแม่น้าสายสาคัญได้แก่ แม่น้าคาดาห์ แม่น้าซุนดา
แม่น้าเกรียน แม่น้าเปรัค แม่น้าปาหัง แม่น้ากลันตัน แม่น้ามุดา
แม่น้าเบอร์นัม แม่น้าสลังงอร์และแม่น้ากลัง
ในเกาะบอร์เนียวมีแม่น้าสายสาคัญได้แก่ แม่น้ารายัง
มีความยาวประมาณ ๕๖๐ กิโลเมตร แม่น้ามาลุย
ยาวประมาณ ๔๐๐ กิโลเมตร นอกจากนี้ยังมีแม่น้ากินาบาดางันด้วย
แหล่งน้า
ในแหลมมลายูฝั่งทะเลด้านตะวันออกติดต่อกับทะเลจีนใต้ ลักษณะท้องทะเลในบริเวณ
ดังกล่าวเป็นพื้นที่ลาดชัน พื้นที่ส่วนใหญ่เต็มไปด้วยปะการัง และหินใต้ทะเลน้อยใหญ่เป็น
จานวนมาก เหมาะแก่การเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้าต่าง ๆ ฝั่งทะเลมีความยาวประมาณ
๑,๙๐๐ กิโลเมตร บริเวณชายฝั่งมีความลึกตั้งแต่ ๑๒๐ - ๓๐๐ ฟุต เป็นหาดทรายยาว
เหยียดติดต่อกัน มีที่ราบลุ่มอยู่เป็นบางตอน ฝั่งทะเลด้านตะวันตกเป็นหาดเลน
พื้นที่ลึกเข้าไปในบริเวณชายฝั่งเป็นที่ลุ่ม และหนองบึง และป่าไม้โกงกาง คงมีเฉพาะ
บางแห่งเท่านั้นที่มีหาดทราย
ชาย
ฝั่ง
ทะ
เล
ธงชาติประเทศมาเลเซีย
ความเป็นมาของธงชาติประเทศมาเลเซีย
สาหรับธงชาติประเทศมาเลเซียนั้น ตามประวัติความเป็นมา ปรากฏว่ามีการปรับเปลี่ยนธงชาติจานวน 3
ช่วงและ 3 รูปแบบด้วยกัน โดยล่าสุดคือในช่วงปี พ.ศ.2506 ประเทศมาเลเซียมีการปรับเปลี่ยนและแก้ไข
แบบธงชาติให้เป็นธงชาติที่ถูกใช้อยู่ในรูปแบบปัจจุบัน ซึ่งมีชื่อว่ายาลูร์ เกลิมัง (Jalur Gemilang) หรือ
“ธงริ้วแห่งเกียรติศักดิ์” ถูกออกแบบโดยโมฮัมเม็ดฮัมซาห์ โดยธงชาติแบบปัจจุบันจะสามารถสังเกตุเห็น
ได้อย่างชัดเจนว่า มีการเพิ่มเติมแถบแดงสลับขาวเป็นจานวน 14 แถบด้วยกัน และมีการเพิ่มเติมรัศมีดารา
แห่งสหพันธ์เพิ่มเป็น 14 แฉกเช่นกัน เนื่องจากต้องการสื่อและแทนรัฐในสหพันธ์ทั้ง 14 รัฐในประเทศ
มาเลเซีย เพราะประเทศมาเลเซียได้รับเอารัฐซาบาห์ รัฐซาราวัก และรัฐสิงคโปร์เข้าร่วมสหพันธ์ใน
ภายหลังด้วย แม้ว่าต่อมาประเทศสิงคโปร์จะมีการแยกตัวออกไป เพื่อประกาศเป็นเอกราชในภายหลัง
ในช่วงปี พ.ศ. 2508 แล้วก็ตาม แต่ประเทศมาเลเซียก็ได้มีการเปลี่ยนความหมายของรัฐสิงคโปร์เป็น
รัฐบาลกลางที่กรุงกัวลาลัมเปอร์แทน
ลักษณะและความหมายของธงชาติ
ลักษณะของธงชาติยาลูร์ เกลิมัง (Jalur Gemilang) หรือ “ธงริ้วแห่งเกียรติศักดิ์” ของ
ประเทศมาเลเซียนั้น จะเป็นธงชาติสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีขนาดกว้างประมาณ 1 ส่วน และยาว 2
ส่วนเท่านั้น โดยธงชาตินี้จะมีพื้นธงเป็นสีแดงสลับกับพื้นสีขาวทั้งหมด 14 แถบ แต่ละแถบ
สีจะมีความกว้างเท่ากันหมด ส่วนตรงมุมธงชาติตรงด้านคันธงจะมีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีน้า
เงินที่มีขนาดกว้าง 8 ใน 14 ส่วนของผืนธงด้านกว้าง ส่วนความยาวจะยาวกึ่งหนึ่งของผืน
ธงในด้านยาว ภายในพื้นผ้าสีน้าเงินนี้จะมีเครื่องหมายพระจันทร์เสี้ยวและดาว 14 แฉกอยู่
ซึ่งมีชื่อว่า ดาราสหพันธ์
สัญลักษณ์และสีต่าง ๆ บนตัวธงชาติจะมีความหมายต่าง ๆ ดังนี้
- แถบริ้วพื้นสีแดงและพื้นสีขาว มีด้วยกัน 14 แถบ ซึ่งจะสื่อและให้ความหมายถึงสถานะอันเสมอภาคของรัฐทั้ง 13 รัฐ
ภายในประเทศ และรัฐบาลกลางที่กรุงกัวลาลัมเปอร์
- ดาวที่มี 14 แฉก สื่อและให้ความหมายในเรื่องของความเป็นเอกภาพในหมู่รัฐทั้ง 14 รัฐภายในประเทศมาเลเซีย
- รูปพระจันทร์เสี้ยว สื่อและให้ความหมายถึง ศาสนาประจาชาติของประเทศมาเลเซียอันได้แก่ ศาสนาอิสลาม
- สีเหลืองในพระจันทร์เสี้ยว พร้อมทั้งดาราสหพันธ์ ซึ่งสีเหลืองคือสีแห่งยังดี เปอร์ตวน อากง ผู้เป็นประมุขแห่งสหพันธรัฐ
- พื้นสีน้าเงิน สื่อและให้ความหมายในส่วนของ ความสามัคคีทั้งหมดของชาวมาเลเซีย
เพลงชาติของสหพันธรัฐมาเลเซีย
ชื่อว่า "เนการากู" (โรมัน: Negaraku, ยาวี: ‫,نڬاراكو‬แปลว่า "แผ่นดินของข้า")
เพลงนี้ได้รับเลือกให้เป็นเพลงชาติมาเลเชียเมื่อสหพันธรัฐมาลายาได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักรในปี
พ.ศ. 2500 ทานองเพลงนี้เดิมใช้เป็นเพลงสรรเสริญประจารัฐเประ ซึ่งเพลงนี้ได้หยิบยืมทานองมาจาก
เพลงฝรั่งเศสที่มีชื่อว่า "ลา โรซาลี" (La Rosalie) อีกชั้นหนึ่ง ผู้ประพันธืทานองเพลงนี้คือ
ปีแยร์-ฌอง เดอ เบรังเยร์ (Pierre-Jean de Béranger)
ชาวฝรั่งเศสผู้มีชีวิตอยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2323 - 2400
ประมุขของประเทศ
สมเด็จพระราชาธิบดี สุลตาน มุซตาซีมุ บิลลาฮ์ อับดุล ฮาลิม มุอัซซัม ชาฮ์ อิบนี อัลมาร์ฮุม สุลตาน บาดิร ชาฮ์
ทรงเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งมาเลเซียลาดับที่ 5 และ 14
และสุลต่านแห่งรัฐเกดะห์ พระองค์ปัจจุบัน
“ หน้าที่สาคัญที่สุดของกษัตริย์คือจะต้องทาให้แผ่นดินไม่มีความ
ชั่วร้ายและการทาลายล้าง ให้บังเกิดขึ้นแก่ปวงชนในประเทศ ”
รายนามนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย
ตนกู อับดุล ระห์มัน
ส.ส. จาก กัวลา มูดา
(1903–1990)
คนที่ 1
ดารงตาแหน่งเป็นเวลา 4770 วัน : 4 สมัย
บิดาแห่งอิสรภาพ
(Bapa Kemerdekaan)
บิดาแห่งมาเลเซีย
(Bapa Malaysia)
และ
อับดุล ราซะก์
ส.ส. จาก เปกัน
(1922–1976)
คนที่ 2
ดารงตาแหน่งเป็นเวลา 1940 วัน : 2 สมัย
บิดาแห่งการพัฒนา
(Bapa Pembangunan)
ฮุซเซน อน
ส.ส. จาก ยะโฮร์ ตรีมุร
(1922–1990)
คนที่ 3
ดารงตาแหน่งเป็นเวลา 2010 วัน : 2 สมัย
บิดาแห่งเอกภาพ
(Bapa Perpaduan)
มหาเธร์ โมฮัมหมัด
ส.ส. จาก กูบัง ปาร์ซู
(b. 1925)
คนที่ 4
ดารงตาแหน่งเป็นเวลา 8142 วัน : 6 สมัย
บิดาแห่งยุคสมัยใหม่
(Bapa Pemodenan)
อับดุลละห์ อะห์มัด บาดาวี
ส.ส. จาก เกปาลา บาตัส
(b. 1939)
คนที่ 5
ดารงตาแหน่งเป็นเวลา 1981 วัน : 3 สมัย
บิดาแห่งการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
(Bapa Pembangunan Modal Insan)
นาจิบ ราซะก์
ส.ส. จาก เปกัน
(b. 1953)
คนที่ 6
ดารงตาแหน่งเป็นเวลา 1985 วัน : 1 สมัย
และกาลังอยู่ในวาระ
บิดาแห่งการเปลี่ยนแปลง
(Bapa Transformasi)
การแต่งกายและชุดแต่งกายประจาชาติ
ของผู้หญิงเรียกว่า
บาจูกุรุง (Baju Kurung) ประกอบด้วย
เสื้อคลุมแขนยาว และกระโปรงยาว
การแต่งกายและชุดแต่งกายประจาชาติ
ของผู้หญิงเรียกว่า
บาจูกุรุง (Baju Kurung) ประกอบด้วย
เสื้อคลุมแขนยาว และกระโปรงยาว
การแต่งกายและชุดแต่งกายประจาชาติ
ของผู้ชาย เรียกว่า
บาจู มลายู (Baju Melayu) ประกอบด้วย
เสื้อแขนยาวและกางเกงขายาวที่ทาจากผ้าไหม
ผ้าฝ้าย หรือโพลีเอสเตอร์ที่มีส่วนผสมของ
ผ้าฝ้าย
การแต่งกายและชุดแต่งกายประจาชาติ
ของผู้ชาย เรียกว่า
บาจู มลายู (Baju Melayu) ประกอบด้วย
เสื้อแขนยาวและกางเกงขายาวที่ทาจากผ้าไหม
ผ้าฝ้าย หรือโพลีเอสเตอร์ที่มีส่วนผสมของ
ผ้าฝ้าย
วัฒนธรรม และประเพณีต่าง ๆ ของมาเลเซีย
ในที่นี้ขอกล่าวถึงชาวมลายูในประเทศมาเลเซีย ชาวมลายูในประเทศมาเลเซีย
มีขนบธรรมเนียมประเพณีอยู่ 2 แบบ
1. ชาวมลายูที่ยึดถือขนบธรรมเนียมประเพณีแบบ Adat Temenggong
เป็นขนบธรรมเนียมที่ยึดถือในรัฐส่วนใหญ่ของแหลมมลายู ยกเว้นรัฐนัครีซัมบีลัน
มีขนบธรรมเนียมประเพณีอยู่ 2 แบบ
หลักการของขนบธรรมเนียมประเพณี Adat Temenggong
•การลงโทษถือเป็นสิ่งที่ได้รับการตอบแทน
•การปกครองต้องใช้อานาจเด็ดขาด
•การสืบมรดกถือหลักการตามบิดา (Patriline)
•การแต่งงานนั้นจะแต่งงานกับผู้ใดก็ได้ ถ้าไม่ผิดตามหลักการ
ศาสนาอิสลาม (hukum syarak)
มีขนบธรรมเนียมประเพณีอยู่ 2 แบบ
2. ชาวมลายูที่ยึดถือขนบธรรมเนียมประเพณีแบบ
Adat Minangkabau หรือ Adat Perpatih
มีขนบธรรมเนียมประเพณีอยู่ 2 แบบ
เป็นขนบธรรมเนียมที่ยึดถือในรัฐนัครีซัมบีลัน
และบางส่วนของรัฐมัละกา ผู้สร้างขนบธรรมเนียมประเพณีนี้คือ
Datuk Nan Sebatang ซึ่งเป็นพี่น้องของ Datuk Ketumanggungan
ผู้สร้างขนบธรรมเนียมประเพณี Adat Temenggong
เกมและการละเล่นพื้นเมือง
โจเก็ต
เป็นระบาพื้นเมืองที่มีชื่อเสียง มีจังหวะดนตรีที่สนุกสนาน
มักจัดแสดงในเทศกาลและงานสังคมต่าง ๆ
ทาเรียนลิลิน
เป็นการฟ้องเทียนโดยหญิงสาว มีตานานกล่าวว่า
ระบานี้มาจากหญิงสาวที่ทาแหวนแต่งงานหล่นหาย จึงจุดเทียนเพื่อตามหาแหวน
บังกรา
เป็นระบาของชุมชนชาวซิกข์ ใช้กลองและเครื่องเคาะต่างๆช่วยสร้างจังหวะที่สนุกสนาน
บาราตานัตยัม
มีต้นกาเนิดจากการร่ายราเพื่อบูชาพระเจ้าในศาสนาฮินดู
ซูมาเซา
เป็นระบาประจารัฐซาบาห์ นักระบาทั้งชายหญิงจะวาดลวดลายเลียนแบบท่าทางปีกนกไป
พร้อมกับจังหวะเสียงฆ้อง
ดาตุนจูลุด
หรือระบานกเงือก เป็นระบาขึ้นชื่อของซาราวักมีความโดดเด่นที่ “ซาเพ”
ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีท้องถิ่นของซาราวัก
คองกัก
ลักษณะคล้ายหมากขุมของไทย นิยมเล่นในกลุ่มผู้หญิงโดยแบ่งผู้แข่งขันเป็นสองฝ่าย
คอยเติมหมากให้ครบเจ็ดตัวในแต่ละหลุม
แกซิง
เป็นการละเล่นที่ใช้หมุนไปเรื่อยๆบนพื้นที่ต่างกัน ผู้ชนะคือผู้ที่เลี้ยงลูกไว้ได้นานที่สุด
การละเล่นนี้นิยมเล่นในช่วงฤดูกาลเก็บเกี่ยว
เวาหรือว่าวขนาดใหญ่ นิยมเล่นกันในภาคตะวันออก ลักษณะของว่าวมีหลากหลายขนาดและรูปร่าง ประเภทที่ได้รับ
ความนิยมมากที่สุดคือ เวาบุลันหรือว่าววงเดือน ซึ่งมีลักษณะคล้ายพระจันทร์เสี้ยว การแข่งขันว่าวขึ้นทุกปีในรัฐก
ลันตัน
สีลัตเป็นศิลปะการป้องกันตัวแบบมาเลย์ และได้ประยุกต์มาเป็นการแสดง ชาวมาเลย์นิยมให้มี
การแสดงสีลัตในงานแต่งงาน การเฉลิมฉลองของรัฐนอกจะนี้ยังนามาเป็นกีฬาเพื่อแข่งขันด้วย
เซปัค (เซปัคตะกร้อ)
เป็นกีฬาที่มีความสาคัญและได้รับความนิยมอย่างมากของประเทศ
วายังกูลิต
หรือการละเล่นหนัง ลักษณะเหมือนหนังตะลุงของไทย ตัวหนังแกะสลักจากหนังควายและเสียบนก้านไม้ไผ่
เชิดอยู่ด้านหลังจอมีการเล่นเรื่องราวผ่านนักเล่าสลับกับดนตรีประกอบจังหวะโครงเรื่องมาจากวรรณคดีรามายณะ
จัดแสดงในช่วงปลายเดือนพฤษภาคมของทุกปี
สถานที่ท่องเที่ยวใน
มาเลเซีย
ตึกแฝดเปโตรนาส
(Petronas TwinTowers)
ตึกแฝดเปโตรนาส เคยเป็นตึกที่สูงที่สุดในโลกสร้างโดย บริษัท ปิโตรเลียม เนชั่นแนล เบอร์ฮาด
(Petroliam Nasional Berhad) หรือเรียกสั้นๆ ว่า ปิโตรนาส (Petronas) เป็นบริษัทผลิตและจาหน่าย
น้ามันของมาเลเซีย เราสามารถยืนชมความงามของตึกได้ภายนอกโดยยืนอยู่ฟากที่น้าพุกาลังเริงระบาและ
สามารถเข้าไปในตึกเพื่อชมทิวทัศน์ของ กัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur – KL) จากสกายบริดจ์
(Sky Bridge) ซึ่งเป็นสะพานเชื่อมระหว่างชั้นที่ 41 โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
หอคอยกัวลาลัมเปอร์
(KL Tower)
หอคอยกัวลาลัมเปอร์ เป็นสถานีส่งสัญญาณโทรคมนาคม ชั้นบนสุดของหอคอยมี
ผนังกระจกรอบด้านเพื่อเป็นจุดชมทิวทัศน์ และเป็นที่ตั้งของภัตตาคารเสรีอังกาซา
รีโวลวิง (Seri Agkasa Revolving)
อนุสาวรีย์แห่งชาติมาเลเซีย
(The Malaysian
National Monument)
อนุสาวรีย์แห่งชาติมาเลเซีย หรืออนุสาวรีย์ทหารอาสา สร้างขึ้นเพื่อราลึกถึงทหารหาญที่เสียชีวิต
จากสงครามในอดีตได้แก่สงครามโลกครั้งที่ 1 (คศ.1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-
1945) ญี่ปุ่นบุกยึดมาเลเซีย และการต่อสู้กับคอมมิวนิสต์ (1948-1960) อนุสาวรีย์แห่งนี้ตั้งอยู่
ใจกลางกรุงกัวลาลัมเปอร์ ซึ่งตกแต่งให้เป็นสวนสาธารณะและเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ทั้งชาว
มาเลเซียและชาวต่างชาติเดินทางมาชมกันเป็นจานวนมาก
จัตุรัสเมอร์เดกา ตั้งอยู่ ณ จุดบรรจบของแม่น้าคลางกับแม่น้ากอมบัก
เป็นสถานที่แห่งประวัติศาสตร์ที่ซึ่งธงชาติอังกฤษถูกปลดลงแล้วแทนที่
ด้วยธงชาติมาเลเซีย คาว่า “เมอร์เดกา” หมายถึงเอกราช จุดเด่นอยู่ที่
เสาธงขนาดใหญ่สูงถึง 100 เมตร และเต็มไปด้วยอาคารในยุคอาณา
นิคมและกลิ่นอายของสถาปัตยกรรมอังกฤษ จตุรัสเมอร์เดกา เป็น
สถานที่อีกแห่งหนึ่งที่ใครมาเที่ยวกรุงกัวลาลัมเปอร์ ก็ต้องมาเดินที่
จตุรัสกลางเมืองหลวงของมาเลเซีย อันเป็นสถานที่มีความหมายทาง
ประวัติศาสตร์ของชาติ และของประชาชนชาวมาเลเซีย เพราะเป็น
สถานที่จัดพิธีคืนความเป็นเอกราชให้กับเจ้าของประเทศ หลังจากตก
เป็นเมืองขึ้นของชาติตะวันตกนานถึง 446 ปี (พ.ศ 2054 – 2500 )
เริ่มจากประเทศโปรตุเกส ที่บุกมาทางเรือและเข้ายึด เมืองมะละกา อัน
เป็นเมืองท่า จากนั้นก็อยู่ภายใต้การปกครองของชาวดัทช์ และอังกฤษ
ในเวลาต่อมา จนมาถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2500 มาเลเซียก็ได้
อธิปไตยกลับคืนมาจากประเทศอังกฤษ พร้อมกับมีการชักธงชาติของ
มาเลเซียขึ้นสู่ยอดเสาเป็นครั้งแรก ณ บริเวณจตุรัสแห่งนี้ และ ในวันที่
31 สิงหาคมของทุกปีจะมีพิธีสวนสนามและเฉลิมฉลองอันยิ่งใหญ่ มี
ประชาชนชาวมาเลเซียร่วมในพิธีหลายหมื่นคน
จตุรัสเมอร์เดกา
(Merdeka Square หรือ Dataran Merdeka)
อาคารสุลต่านอับดุลซามัด (Sultan Abdul Samad Building)
อาคารสุลต่านอับดุลซามัด สร้างขึ้นในปีพ.ศ. 2440 ตั้ง
ชื่อตามพระนามของสุลต่านแห่งสลังงอร์ โดยใช้เป็นที่ทา
การของหน่วยงานราชการในยุคที่อังกฤษเข้ามาปกครอง
ปัจจุบันเป็นอาคารสานักงานของศาลฎีกา อาคารสุลต่าน
อับดุลซามัค และ หอนาฬิกาสูง 40 เมตร เป็นตัวอาคาร
เก่าแถบ Merdeka Square ซึ่งเป็น สถาปัตยกรรม
แบบมัวร์ (Moorish) ส่วนที่เป็นหอนาฬิกาสูง 40
เมตรทมักจะเรียกกันว่าเป็น บิ๊กเบนของมาเลเซีย ส่วน
ด้านบนจะเป็นโดมขนาดใหญ่สีทอง อาคารนี้สร้างเมื่อ
เป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ เพื่อใช้เป็นศูนย์บริหารอาณา
นิคมของอังกฤษ ปัจจุบันใช้อาคารที่ทาการของรัฐบาล
พระราชวังอิสตาน่า ไนการ่า
(Istana Negara Palace)
พระราชวังอิสตาน่าไนการ่า พระราชวังแห่งชาติ สถานที่ประทับของสมเด็จพระราชาธิบดี
หรือยังดีเปอร์ตวนอากง พระราชวังแห่งนี้จะเป็นกลุ่มอาคารรูปทรงโดมเชื่อมกับทางหลวงไป
ยังตัวเมือง และมีถนนทางเข้าพิเศษหลายเส้นทางพระราชวังแห่งนี้ตั้งอยู่บนพื้นที่กว่า
100,000 ตารางเมตร ซึ่งมีการครอบครองมาตั้งแต่ทศวรรษที่ 1990 และกลายเป็นเขต
พระราชฐานนับตั้งแต่นั้น
ห้างซูเรีย
(Suria KLCC Mall)
ห้างซูเรีย เป็นแหล่งช้อปปิ้ง
ที่ใหญ่ที่สุดของมาเลเซีย
กลางกรุงกัวลาลัมเปอร์
ปุตราจายา
(Putrajaya)
ปุตราจายา อยู่ห่างจากตัวเมืองกัวลาลัมเปอร์ประมาณ 50 นาที ห่างจากสนามบิน
นานาชาติไปไม่ไกลนัก บนพื้นที่กว้างใหญ่มหาศาลครอบคลุมพื้นที่เขาทั้งลูก ถูกสร้างขึ้นให้
เป็นเมืองใหม่เป็นที่อยู่ของหน่วยราชการ ทุกกกระทรวง ทบวง กรม รวมทั้งรัฐสภา และ
บ้านของนายกฯ โดยรอบปุตราจายาจะเป็นพื้นที่บ้านจัดสรรที่สวยงามและคอนโดมีเนียมที่
เป็นตึกสูง
เกนติ้ง ไฮแลนด์
(Genting Highlands)
เกนติ้ง ไฮแลนด์ (Genting Highlands) เกนติ้ง ไฮแลนด์ เมืองที่ได้รับสมญานามว่า “เมือง
แห่งความบันเทิง” นับเป็นเมืองที่เหมาะกับทุกครอบครัว และทุกงบประมาณการท่องเที่ยว ยอด
เขาเกนติ้ง ไฮแลนด์ อยู่สูงจากระดับน้าทะเลถึง 6,000 ฟุต จึงมีอากาศเย็นสบาย บรรยากาศ
สดชื่น พร้อมทิวทัศน์ของเทือกเขาเขียวขจี ที่สวยงามราวกับภาพวาด
การคมนาคมในมาเลเซีย
รถโดยสารประจาทางเป็นวิธีการเดินทางที่ประหยัดในมาเลเซีย
บริการรถประจาทางจะวิ่งตามเส้นทางและคิดค่าโดยสารตามระยะทางที่ใช้บริการ
ช่วงเวลาการรอรถค่อนข้างไม่แน่นอนและมักจะมาไม่ตรงเวลา
อย่างไรก็ตามบริการรถประจาทาง Putra จะมีความน่าเชื่อถือมากกว่า
รถประจาทาง
แท็กซี่
โดยปกติแท็กซี่ในเมืองใหญ่จะมีการติดตั้ง
มิเตอร์ โดยมีอัตราค่าบริการ 2 กิโลเมตร
แรกที่ 2 ริงกิตและ 10 เซ็นสาหรับทุกๆ 200
เมตรหลังจากนั้น
รถไฟ รถไฟฟ้า
การคมนาคมทางรถไฟ รถไฟฟ้า จะมีแค่เฉพาะ
กรุงกัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur)
ซึ่งเป็นเมืองหลวง รถไฟ รถไฟฟ้าที่ใช้ในเมืองนี้นั้น ก็มีด้วยกันทั้งหมด 5 ระบบ
รถไฟฟ้าชานเมือง KTM Komuter สาย A และ B รวมระยะทาง 153 กิโลเมตร
รถไฟลอยฟ้า STAR สาย C และ D รวมระยะทาง 27 กิโลเมตร
รถไฟลอยฟ้า-ใต้ดิน PUTRA สาย E รวมระยะทาง 29 กิโลเมตร
รถไฟฟ้ารางเดียว KL Monorail สาย F รวมระยะทาง 8 กิโลเมตร (อยู่ระหว่างการก่อสร้างอีก 8 กิโลเมตร)
รถไฟฟ้าด่วนสนามบิน KLIA Express รวมระยะทาง 57 กิโลเมตร
รถไฟฟ้าชานเมือง
KTM Komuter
รถไฟชานเมืองนี้วิ่งบริการตั้งแต่เวลา 05.00 – 24.00น. เฉพาะเวลา 05.30 – 09.00
น.และ 18.00 – 20.00น. รถจะออกทุกๆ 15 นาที นอกเหนือจากช่วงเวลาดังกล่าว รถจะ
ออกทุกๆ 30 นาที รับ-ส่งผู้โดยสารได้วันละประมาณ 70,000 คน/วัน
ตัวรถไฟฟ้ามีขบวนละ 3 ตู้ ความเร็วสูงสุด 120 กิโลเมตร/ชั่วโมง
รถไฟลอยฟ้า STAR หรือชื่อเต็มว่า
“System Transit Aliran Ringan”
เป็นรถไฟฟ้าขนาดเบา (Light Rail System) ที่ใช้คนขับ เริ่ม
ก่อสร้างในปี 1993 เพื่อรับการแข่งขันกีฬาของประเทศใน
เครือจักรภพอังกฤษ (Commonwelath Game) ที่มาเลเซีย
เป็นเจ้าภาพในปี 1998 การก่อสร้างในช่วง 12 กิโลเมตรแรก
จาก Sultan Ismail – Ampang เสร็จในปี 1996 ช่วงที่ 2
จาก Chan Sow Lin – Sri Petaling เสร็จทันในปี 1998
และยังได้ก่อสร้างออกไปอีก 3 กิโลเมตร จาก Sultan Ismail
– Sentul Timur รวมระยะทางทั้งหมด 27 กิโลเมตร (ระดับ
พื้นดิน 17.9 กิโลเมตร และยกระดับ 9.4 กิโลเมตร) มีสถานี
ทั้งหมด 25 สถานี (สถานีระดับพื้นดิน 17 สถานี และสถานี
ยกระดับ 8 สถานี) รถไฟฟ้าความเร็วเฉลี่ย 35 กิโลเมตร/
ชั่วโมง (ความเร็วสูงสุด 80 กิโลเมตร/ชั่วโมง) รถ 1 ขบวน มี
4 – 6 ตู้ บริการตั้งแต่เวลา 06.00 – 24.00น. ออกทุก 10
นาที ในช่วงปกติ และทุกๆ 3 นาทีในช่วงเร่งด่วน รับผู้โดยสาร
ได้ 27 ล้านคน/ปี
รถไฟลอยฟ้า-ใต้ดิน PUTRA หรือชื่อเต็มว่า
“Projek Usahasama Transit Ringan Automatik”
เป็นรถไฟฟ้าขนาดเบา (Light Rail System) ที่ไม่ใช้คนขับ เป็นรถไฟฟ้ายกระดับและใต้ดิน เริ่มก่อสร้างในปี 1994 ช่วงแรกจาก
Subang Depot – Pasar Seni เปิดบริการครั้งแรกในวันที่ 26 มิถุนายน ปี1999 รวมระยะทาง 14.1 กิโลเมตร หลังจากนั้นจึง
เปิดบริการถึง Terminal Putra ในวันที่ 1 เมษายน ปี2001 รวมระยะทางทั้งหมด 29 กิโลเมตร มี 24 สถานี เส้นทางรถไฟฟ้า
สายนี้ 4.4 กิโลเมตร เป็นทางใต้ดิน อยู่ระหว่างสถานี Dang Wangi – Ampang Park ภายในสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินทุกสถานีมีลิฟต์
สาหรับคนพิการ ห้องน้า และประตูชานชาลา (Screen Doors) เปิดบริการตั้งแต่เวลา 06.00 – 24.00น. ออกทุก 5นาที ในช่วง
ปกติ และทุกๆ 2.9 – 3.3 นาทีในช่วงเวลาเร่งด่วน รถไฟฟ้าที่นามาใช้บริการมีทั้งหมด 35 ขบวน ขบวนละ 2 ตู้ ความเร็วเฉลี่ย 35
กิโลเมตร/ชั่วโมง (ความเร็วสูงสุด 90 กิโลเมตร/ชั่วโมง) รับผู้โดยสารได้ 35 ล้านคน/ปี
รถไฟฟ้ารางเดียว
KL Monorail
เป็นรถไฟฟ้าขนาดเบา (Light Rail System) มีลักษณะที่แปลกจากขนส่งมวลชนแบบอื่นตรงที่ว่าเป็นรถไฟที่วิ่ง
คร่อมบนรางคอนกรีตยกระดับ วิ่งอยู่บนเกาะกลางถนนใจกลางกรุงกัวลาลัมเปอร์ เริ่มก่อสร้างในปี 1997 เปิดใช้
บริการในวันที่ 31 สิงหาคม ปี 2003 ในช่วง Titiwangsa – Tun Sambanthan ระยะทาง 8.6 กิโลเมตร มี
สถานีที่เปิดบริการอยู่ 10 สถานี รถออกทุก 2-5 นาที ตัวรถไฟฟ้ามีขนาดเล็ก 1 ขบวน มี 4 ตู้ วิ่งค่อนข้างช้า จุ
ผู้โดยสารได้น้อยเมื่อเทียบกับรถไฟฟ้า STAR และPUTRA โครงการรถไฟฟ้ารางเดียวนี้ ในอนาคตจะเปิดเส้นทาง
เชื่อมกับเมืองหลวงใหม่ของมาเลเซียที่ชื่อว่า “Putrajaya” และจะมีความยาวทั้งหมดรวม 18 กิโลเมตร
มีสถานี 24 สถานี แผนงานจะเสร็จสมบูรณ์ในปี 2004 และจะเป็นใต้ดินในช่วงที่เข้าเมือง Putrajaya อีกด้วย
รถไฟฟ้าด่วนสนามบิน KLIA Express
เป็นรถไฟฟ้าด่วนสนามบินแบบฮ่องกง วิ่งส่งผู้โดยสาร
ระหว่าง สนามบินนานาชาติกรุงกัวลาลัมเปอร์ (Kuala
Lumpur International Airport-KLIA) ปลายทาง
สถานีรถไฟกลาง KL Sentral รวมระยะทาง 57
กิโลเมตร มีสถานีรวมทั้งหมด 5 สถานี เปิดใช้บริการครั้ง
แรกในวันที่ 14 เมษายน ปี 2002 ตัวรถไฟฟ้าที่ใช้ เป็น
ของบริษัท ERL (Express Rail Link) ใช้รถ Desiro
ของบริษัท Siemens ความเร็วสูงสุด 160 กิโลเมตร/
ชั่วโมง จานวนรถที่นามาใช้บริการ 12 ขบวน รถออกทุกๆ
15นาที บริการตั้งแต่เวลา 05.00 – 01.00น. ใช้เวลา
เดินทางจากสนามบินKLIAมาสถานีKL Sentral 28 นาที
ราคา 35 RM (1 RM = 9 ถึง 11 บาท โดยเฉลี่ย)
แผนที่ทางเดินรถไฟในกัวลาลัมเปอร์
อาหารประจาชาติ
อาหารมาเลเซีย มีลักษณะเด่นอยู่ที่การใช้สมุนไพร เครื่องเทศ พริก มีรสเผ็ด และมักจะใช้ผงกะหรี่
สมุนไพรที่นามาประกอบอาหารนอกจากสมุนไพรท้องถิ่นซึ่งมีอยู่มากมาย บางครั้งยังมีการรวมสมุนไพร
หลายชนิดเข้าด้วยกัน เพื่อให้มีกลิ่นหอม
อาหารจะมีลักษณะเฉพาะต่างกัน ในปีนังจะใช้ผงกะหรี่ในการประกอบอาหารมาก เพราะคนส่วนใหญ่ชอบ
ผงกะหรี่ ขณะที่ทางตอนใต้ของประเทศจะนิยมใช้กะทิ คล้ายกับอาหารไทย โดยจะใช้กะทิกับอาหารเกือบ
ทุกอย่าง
ตัวอย่างอาหารประจาชาติ
ข้าวมันไก่ หลายคนอาจสงสัยว่า ข้าวมันไก่ เป็น
อาหารของมาเลเซียด้วยเหรอ คาตอบคือ ใช่ เพราะ
มาเลเซีย เพิ่งจดทะเบียนอาหารประจาชาติ ในนั้นก็
มี ข้าวมันไก่อยู่ด้วย
นาซิ เลอมัก (Nasi Lemak) อาหารยอดนิยมของ
ประเทศมาเลเซีย โดยนาซิ เลอมัก
จะเป็นข้าวหุงกับกะทิ และใบเตย ทานพร้อมเครื่อง
เคียง 4 อย่าง ได้แก่
ปลากะตักทอดกรอบ แตงกวาหั่น ไข่ต้มสุก และ
ถั่วอบ ซึ่งนาซิ เลอมักแบบดั้งเดิมจะห่อด้วยใบตอง
และมักทานเป็นอาหารเช้า แต่ในปัจจุบัน กลายเป็น
อาหารยอดนิยมที่ทานได้ทุกมื้อ และแพร่หลายใน
ประเทศเพื่อนบ้านอีกหลายแห่ง เช่น สิงคโปร์
และภาคใต้ของไทยด้วย
ตัวอย่างอาหารประจาชาติ
Thanks!

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
issareening
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
Kruthai Kidsdee
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
Nattakorn Sunkdon
 
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
Love Plukkie Zaa
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
พัน พัน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
Nattakorn Sunkdon
 
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
suchinmam
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
พัน พัน
 
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุขโครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข
0868472700
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอนภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
Kwandjit Boonmak
 

La actualidad más candente (20)

ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (G...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต  (G...ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต  (G...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (G...
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลง
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.ชุดการสอนอเมริกาใต้.
ชุดการสอนอเมริกาใต้.
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุขโครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอนภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 

Similar a Malaysia (ประเทศมาเลเซีย)

ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย
chanok
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
Nongruk Srisukha
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
Nongruk Srisukha
 
Aseancountry thai
Aseancountry thaiAseancountry thai
Aseancountry thai
wongsrida
 
เรื่อง ประชาคมอาเซียน
เรื่อง ประชาคมอาเซียนเรื่อง ประชาคมอาเซียน
เรื่อง ประชาคมอาเซียน
Kan 'Zied
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
chanok
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
chanok
 
ปัณนิกา จำปาวดี เลขที่ึึึึ 7 ม.4/10
ปัณนิกา จำปาวดี เลขที่ึึึึ 7 ม.4/10ปัณนิกา จำปาวดี เลขที่ึึึึ 7 ม.4/10
ปัณนิกา จำปาวดี เลขที่ึึึึ 7 ม.4/10
naeun_hunhan
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
Kunkullsatree
 
ศิริลักษ์ อาจเปี่ยม
ศิริลักษ์  อาจเปี่ยมศิริลักษ์  อาจเปี่ยม
ศิริลักษ์ อาจเปี่ยม
Mew12321
 

Similar a Malaysia (ประเทศมาเลเซีย) (20)

Work6 99999
Work6 99999Work6 99999
Work6 99999
 
Asian
AsianAsian
Asian
 
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
Aseancountry thai
Aseancountry thaiAseancountry thai
Aseancountry thai
 
เรื่อง ประชาคมอาเซียน
เรื่อง ประชาคมอาเซียนเรื่อง ประชาคมอาเซียน
เรื่อง ประชาคมอาเซียน
 
1078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 25551078001586 เวียดนาม 2555
1078001586 เวียดนาม 2555
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
ทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่าทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่า
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
ปัณนิกา จำปาวดี เลขที่ึึึึ 7 ม.4/10
ปัณนิกา จำปาวดี เลขที่ึึึึ 7 ม.4/10ปัณนิกา จำปาวดี เลขที่ึึึึ 7 ม.4/10
ปัณนิกา จำปาวดี เลขที่ึึึึ 7 ม.4/10
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
จังหวัดเเม่ฮ่องสอน
จังหวัดเเม่ฮ่องสอนจังหวัดเเม่ฮ่องสอน
จังหวัดเเม่ฮ่องสอน
 
ศิริลักษ์ อาจเปี่ยม
ศิริลักษ์  อาจเปี่ยมศิริลักษ์  อาจเปี่ยม
ศิริลักษ์ อาจเปี่ยม
 
จังหวัดภูเก็ต
จังหวัดภูเก็ตจังหวัดภูเก็ต
จังหวัดภูเก็ต
 
การแบ่งภูมิภาคของยุโรป2.4
การแบ่งภูมิภาคของยุโรป2.4การแบ่งภูมิภาคของยุโรป2.4
การแบ่งภูมิภาคของยุโรป2.4
 
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
 
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
 
ประวัติศาสตร์+23
ประวัติศาสตร์+23ประวัติศาสตร์+23
ประวัติศาสตร์+23
 

Más de Ritthiporn Lekdee

Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
Ritthiporn Lekdee
 

Más de Ritthiporn Lekdee (8)

Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
Ethics of psychologists (จรรยาบรรณนักจิตวิทยา)
 
ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)
 
โรงเรียนพระดาบส (มูลนิธิพระดาบส)
โรงเรียนพระดาบส (มูลนิธิพระดาบส)โรงเรียนพระดาบส (มูลนิธิพระดาบส)
โรงเรียนพระดาบส (มูลนิธิพระดาบส)
 
กลิ่น กับ ความรู้สึก (smell and sense)
กลิ่น กับ ความรู้สึก (smell and sense)กลิ่น กับ ความรู้สึก (smell and sense)
กลิ่น กับ ความรู้สึก (smell and sense)
 
Belief and expectation (ความเชื่อ และ ความคาดหวัง)
Belief and expectation (ความเชื่อ และ ความคาดหวัง)Belief and expectation (ความเชื่อ และ ความคาดหวัง)
Belief and expectation (ความเชื่อ และ ความคาดหวัง)
 
สภาพสังคมที่ส่งผลให้ความสุขลดลง (สถาบันทางสังคม)
สภาพสังคมที่ส่งผลให้ความสุขลดลง (สถาบันทางสังคม)สภาพสังคมที่ส่งผลให้ความสุขลดลง (สถาบันทางสังคม)
สภาพสังคมที่ส่งผลให้ความสุขลดลง (สถาบันทางสังคม)
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
 
The brain in action
The brain in actionThe brain in action
The brain in action
 

Malaysia (ประเทศมาเลเซีย)