SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 132
วันนี้เราจะมาศึกษา
วิชาGS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
กันครับ
ผู้บรรยาย ว่าที่ร.ต.ดร.อนันต์ โพธิกุล
ผู้อานวยการสถาบันการศึกษาทางไกล
สวัสดีครับนักศึกษา
ตอนที่ 1 ลักษณะของสังคม
ตอนที่ 2 ความหมาย ความสาคัญ และบรรทัดฐาานของสังคม
ตอนที่ 3 สถานภาพ บทบาท และการควบคุมทางสังคม
ตอนที่ 4 การกระทา และกระบวนการทางสังคม
หน่วยการสอนที่ 1
ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม
ตอนที่ 1 ลักษณะของสังคม
• ความหมายของสังคม
• ลักษณะทั่วไปของสังคม
• หน้าที่ของสังคม
• โครงสร้างทางสังคม
เสถียรโกเศส ให้ความหมายไว้ว่า “มนุษย์ที่รวมกันอยู่เป็นหมู่คณะ
ที่มีทั้งหญิงและชายตั้งภูมิลาเนาเป็นหลักแหล่ง ณ ที่ใดฐที่หนึ่งเป็น
ประจาเป็นเวลานานพอสมควร พอเรียนรู้และปรับปรุงตนเองแต่ละ
คนไดฐ้และประกอบการงานเข้ากันไดฐ้ดฐี มีความสนใจร่วมกันในสิ่ง
อันเป็นมูลาานแห่งชีวิต มีการครองชีพ มีความปลอดฐภัยทาง
ร่างกายก็เป็นส่วนหนึ่งของส่วนรวม มนุษย์ที่ร่วมกันเป็นคณะตาม
เงื่อนไขที่กล่าวมานี้เรียกว่า “สังคม”
ตอนที่ 1 ลักษณะของสังคม
ความหมายของสังคม
ความหมายของสังคม(ต่อ)
ดฐร.ประสาท หลักศิลา “สังคม คือ การที่มนุษย์พวกหนึ่ง ๆ ที่มี
อะไรส่วนใหญ่เหมือนหรือคล้ายคลึงกัน เช่น ทัศนคติ คุณธรรม
ธรรมเนียม ประเพณี ไดฐ้มาอยู่รวมกันดฐ้วยความรู้สึกเป็นพวก
เดฐียวกัน มีความสัมพันธ์กันและมาอยู่ในเขต เดฐียวกันอย่างถาวร”
โดยสรุป สังคม หมายถึง มนุษย์ที่รวมกันอยู่เป็นหมู่คณะ ตั้งภูมิลาเนา
เป็น หลักแหล่ง ณ ที่ใดฐที่หนึ่ง ที่มีอะไรส่วนใหญ่เหมือนหรือคล้ายคลึงกัน มีการ
เรียนรู้ซึ่งกันและกัน ปรับปรุงตนเองให้อยู่ร่วมกันในหมู่คณะไดฐ้ มีความสนใจร่วมกัน
ในสิ่งอันเป็นมูลาานแห่งชีวิต มีการครองชีพ มีความปลอดฐภัยทางร่างกาย มี
ความรู้สึกเป็นพวกเดฐียวกัน มีความสัมพันธ์กันและมาอยู่ในภูมิลาเนาเดฐียวกันอย่าง
ถาวร
ลักษณะทั่วไปของสังคม
แบ่งออกเป็น 4 ลักษณะ ดังนี้
1. สังคมเป็นนามธรรม (Abstractness of Society)
2. การพึ่งพาอาศัยกันมีอยู่ในสังคม (Interdependence in Society)
3. สังคมเกี่ยวข้องกับความเหมือนและความแตกต่างกัน (Society Involves
Likeness and Difference)
4. สังคมมีทั้งการร่วมกันและการขัดแย้งกัน (Society Involves Both Co-
operation and Conflict)
ลักษณะทั่วไปของสังคม (ต่อ)
1.สังคมเป็นนามธรรม (Abstractness of Society) สังคมไดฐ้
กล่าวถึงความสัมพันธ์ของคนในสังคมซึ่งเป็นเพียงชื่อ โดฐยReuter
(รอยเตอร์) กล่าวว่า “สังคมเป็นสิ่งไม่มีชีวิต แต่เป็นแนวทางปฏิบัติของ
สิ่งมีชีวิต คือ วิธีการของการคบหาสมาคมกัน ซึ่งหมายถึงสภาพหรือ
ความสัมพันธ์อันเหมาะสม นั่นคือ สังคมเป็นเพียงนามธรรม”
ลักษณะทั่วไปของสังคม(ต่อ)
2.การพึ่งพาอาศัยกันมีอยู่ในสังคม (Interdependence in Society) ใน
สังคมแต่ละบุคคลต้องพึ่งพาอาศัยกันในาานะเป็นสมาชิกของสังคม Maciver
กล่าวว่า “ประวัติศาสตร์มนุษยชาติในแง่หนึ่ง คือ ประวัติของความก้าวหน้า
ของการจัดฐระเบียบในการทางานร่วมกันของแต่ละคนในสังคม เพื่อ
ความสาเร็จตามจุดฐมุ่งหมายอันเดฐียวกัน”
ลักษณะทั่วไปของสังคม(ต่อ)
3.สังคมเกี่ยวข้องกับความเหมือนและความแตกต่างกัน (Society Involves
Likeness and Difference) สมาชิกทั้งหมดฐในสังคมไม่เหมือนกัน ในท้องถิ่นต่าง ๆ
พวกเขามีความแตกต่างกัน ดฐังนั้น สังคมจึงเกี่ยวข้องกับความเหมือนกันและความ
แตกต่างกัน ตามความเห็นของ Maciver การแสดฐงออกที่เป็นนามธรรมของพวกแต่ละ
คนที่ปรากฏชัดฐ คือ ความเหมือนกันและแตกต่างกันทางดฐ้านสังคมวิทยาและจิตวิทยา
สรุปเข้าใจง่าย ๆ การพึ่งพาอาศัยกันอันหนึ่ง คือ ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น
ลักษณะทั่วไปของสังคม(ต่อ)
4.สังคมมีทั้งการร่วมกันและการขัดแย้งกัน (Society Involves Both Co-
operation and Conflict) สังคมไม่ใช่ว่าจะมีแต่การร่วมมือกันหรือขัดฐแย้งกันอย่าง
ใดฐอย่างหนึ่ง สังคมมีทั้ง 2 อย่างทั้งการร่วมมือกันและการขัดฐแย้งกันซึ่งจะเห็นไดฐ้ชัดฐ
มองในาานะเป็นพฤติกรรมของมนุษย์ที่แสดฐงในการติดฐต่อกันและการปรับปรุงตัว
Gisbert ให้ข้อสังเกตว่า “การร่วมมือกันเป็นวิธีการอันสาคัญของสังคมมนุษย์ หาก
ปราศจากการร่วมมือกันแล้ว สังคมก็อยู่ไม่ไดฐ้ ในมุมกลับกัน มันก็มีการขัดฐแย้ง
เกิดฐขึ้นในสังคม เมื่อสิ่งที่คนสนใจร่วมกันถูกสรุปลงอย่างไม่กลมกลืนกัน การขัดฐแย้ง
มีอยู่ในทุกสังคม เพราะทุกคนจะมีชีวิตอยู่ไดฐ้ก็ดฐ้วยการต่อสู้เท่านั้น”
เมื่อผู้คนได้มาอยู่ร่วมกันเป็นสังคม มีการสัมพันธ์ติดต่อกันแล้ว
ย่อมจะมีปัญหาเกิดขึ้น เนื่องจากความคิดเห็นที่แตกต่างกัน ซึ่ง
จะก่อความไม่สงบขึ้นในสังคม ดังนั้น สังคมในฐานะเป็น
วิธีการแห่งความสัมพันธ์กันของมนุษย์ในสังคมจึงต้องมีภาระ
หนักใน 8 ประการ ดังต่อไปนี้
หน้าที่ของสังคม
หน้าที่ของสังคม(ต่อ)
1.กาหนดระเบียบแบบแผน เพื่อให้ผู้คนในสังคมได้ใช้เป็นวิถีในการดาเนินชีวิต
ร่วมกัน เช่น กาหนดว่าใครมีตาแหน่งหน้าที่อะไร มีกฎหมายขนบธรรมเนียม
ประเพณีที่จะต้องปฏิบัติหรือห้ามมิให้ปฏิบัติ
2.จัดให้มีการอบรมเรียนรู้ระเบียบแบบแผนของสังคม เพื่อให้ผู้คนในสังคมปฏิบัติ
ตนให้ถูกต้องเป็นไปตามบรรทัดฐานของสังคม
3.สร้างวัฒนธรรมและพัฒนาวัฒนธรรมของสังคม ทั้งในด้านที่เป็นวัตถุและ
วัฒนธรรมมิใช่วัตถุ
4. ผลิตสมาชิกใหม่ ทดแทนสมาชิกเดิมที่ล้มตายไปเพื่อให้สังคมดารงอยู่ต่อไป
5. ผลิตแจกแจงสินค้าและบริการ เพื่อสนองความต้องการของคนใน
สังคม
6. ให้บริการและสวัสดิการแก่สมาชิกในสังคม เช่น บริการทางด้าน
สุขภาพอนามัย บริการเกี่ยวกับสาธารณูปโภค สวัสดิการในการเลี้ยงดูผู้
ที่ไม่สามารถช่วยตนเองได้ รวมทั้งการรักษาความปลอดภัย รักษาความ
สงบภายในและการป้องกันภัยจากภายนอกสังคม
หน้าที่ของสังคม(ต่อ)
7. การควบคุมสังคม เพื่อให้ผู้คนดาเนินไปตามบรรทัดฐานของสังคมจะได้อยู่
ร่วมกันอย่างสันติสุข
8. การธารงไว้ซึ่งความหมายและมูลเหตุจูงใจ คือ การเสริมสร้างให้สมาชิกของ
สังคมตระหนักถึงคุณค่าแห่งความหมายของการเป็นสมาชิกของสังคม อันเป็น
มูลเหตุจูงใจ กระตุ้นให้มวลสมาชิกมีความรับผิดชอบต่อสังคม กล่าวคือ ปลูกฝังให้
เขาเหล่านั้นปฏิบัติตนในสิ่งที่เป็นประโยชน์สุขของสังคมโดยส่วนรวม มีความ
รับผิดชอบต่อหน้าที่การงานและต่อครอบครัว
หน้าที่ของสังคม(ต่อ)
ศาสตราจารย์ดร. ประสาท หลักศิลา ได้เปรียบเทียบลักษณะ
โครงสร้างของสังคมมนุษย์ไว้เหมือนกับลักษณะโครงสร้างของบ้าน
แต่ละหลัง หมายความว่า สังคมมนุษย์แต่ละแห่งย่อมประกอบด้วย
ผู้คนที่มารวมกลุ่มกันมากมายหลายกลุ่มแต่ละกลุ่มต่างก็มีหน้าที่ที่
แตกต่างกัน ทานองเดียวกัน บ้านแต่ละหลังก็ต้องประกอบด้วยส่วน
ต่าง ๆ คือ เสา หลังคา ฝา พื้น และอื่น ๆ ไม้แต่ละชิ้นและกระดานแต่
ละแผ่นประกอบกันเข้าเป็นส่วนต่าง ๆ ของบ้านแต่ละหลังเหมือน
คนแต่ละคนเป็นส่วนหนึ่งของแต่ละกลุ่ม ...
โครงสร้างทางสังคม
... ลักษณะความสัมพันธ์ต่อกันของไม้แต่ละชิ้น ทาให้เราทราบว่า เป็น
ฝาหรือเป็นพื้น เช่นเดียวกัน การมารวมของแต่ละคนทาให้เราทราบว่า
กลุ่มใดเป็นครอบครัว เป็นโรงเรียน เป็นร้านค้า หรือเป็นวัด ลักษณะ
ความสัมพันธ์ต่อกันของส่วนต่าง ๆ ของบ้านทาให้เรามองเห็นรูป
โครงของบ้านแต่ละหลัง ทานองเดียวกัน โครงสร้างของสังคมมนุษย์
แต่ละแห่งย่อมเห็นได้จากลักษณะความสัมพันธ์ต่อกันของกลุ่มต่าง ๆ
ที่ประกอบกันเข้าเป็นสังคมมนุษย์ ตามทัศนะของศาสตราจารย์ ดร.
ประสาท หลักศิลา โครงสร้างของสังคมมนุษย์ควรประกอบด้วย 4
ส่วนที่สาคัญดังต่อไปนี้
โครงสร้างทางสังคม(ต่อ)
โครงสร้างทางสังคม(ต่อ)
1. คน (Population) สังคมมนุษย์ใดฐจะแข็งแรงเพียงไรหรือไม่นั้น
ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบต่าง ๆ ดฐังกล่าวมาแล้วนี้ ถ้าสังคมใดฐ
ประกอบดฐ้วยประชากรที่มีพอเหมาะกับทรัพยากรธรรมชาติ มี
ความขยันขันแข็ง มานะอดฐทน กระตือรือร้นในการทางาน มี
เหตุผลและมีความรับผิดฐชอบงานในหน้าที่สูง สังคมนั้นย่อมมี
โอกาสที่จะเจริญ ก้าวหน้าและผู้คนก็จะมีชีวิตอยู่อย่างมีความสุข
โครงสร้างทางสังคม(ต่อ)
2. กลุ่มคน (Group) ถ้าสังคมใดฐประกอบดฐ้วยกลุ่มคนที่แต่ละกลุ่ม
ต่างก็มี หน้าที่และรับผิดฐชอบงานในหน้าที่สูง เช่น กลุ่มนักศึกษาก็
พยายามค้นคว้าหาความรู้เพื่อความเจริญงอกงามในดฐ้านต่าง ๆ
กลุ่มทางการปกครองทาหน้าที่รับผิดฐชอบงานในหน้าที่ของตนเป็น
อย่างดฐี ฯลฯ สังคมนั้นย่อมดฐารงอยู่เป็นปึกแผ่นและมั่นคงถาวร
3. สถาบันสังคม (Social Institution) ถ้าสังคมใดฐมีสถาบันหรือมี
แบบอย่างการกระทาเพื่อให้ถึงซึ่งจุดฐมุ่งหมายอย่างใดฐอย่างหนึ่งที่ดฐี
และเหมาะสม ที่จะใช้กับสังคมนั้น ย่อมจะนาให้สังคมนั้น ๆ ดฐาเนินสู่
จุดฐหมายปลายทางไดฐ้อย่างมีประสิทธิภาพ
โครงสร้างทางสังคม(ต่อ)
โครงสร้างทางสังคม(ต่อ)
4. สถานภาพและบทบาท (Status and Role) ถ้าสังคมใดมีการจัดระเบียบสังคม
ที่ดีมีระเบียบแบบแผนที่คนในสังคมยึดถือเป็นแนวปฏิบัติที่เหมาะสมและคน
แต่ละสถานภาพหรือตาแหน่งปฏิบัติหน้าที่หรือแสดงบทบาทของตนได้ถูกต้อง
และเหมาะสมกับตาแหน่งของตน สังคมนั้นย่อมก้าวหน้าไปได้รวดเร็วและไม่
เกิดปัญหาสังคมขึ้น
ดังนั้น สังคมที่จะเจริญก้าวหน้านั้น ต้องมีคนในสังคมมีคุณภาพ กลุ่มคนที่
สามัคคี มีความรับผิดชอบในหน้าที่ตาแหน่งของตนและมีการจัดระเบียบที่ดี
ตอนที่ 2
ความหมาย ความสาคัญการจัดระเบียบ
ทางสังคม และบรรทัดฐานของสังคม
• ความหมาย
• ความสาคัญของการจัดระเบียบทางสังคม
• บรรทัดฐานของสังคม (Norm)
ความหมายการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมชี้ไปถึงการกระทาร่วมกันอย่างสงบในหมู่
ชนที่แตกต่างกันในสังคม คนส่วนมากทางานโดยมีจุดมุ่งหมายที่เป็น
อุปสรรคและการยอมรับตามบทบาทและตาแหน่งอันมีอยู่ เพื่อความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยทางสังคม นอกจากนั้น สมาชิกของสังคมควรมีรูปแบบ
ในจุดประสงค์ จุดมุ่งหมาย และแผนต่าง ๆ ร่วมกันตามความเห็นของ
Ogburn and Nimkoff “การจัดระเบียบทางสังคมเป็นการรวมส่วนที่
แตกต่างกันของคนให้ปฏิบัติหน้าที่กันเป็นกลุ่ม การกระทาที่คิดขึ้นเพื่อ
การได้มาบางสิ่งที่เราทา”
มนุษย์กับสังคมเป็นสิ่งที่ควบคู่กันไป กล่าวคือ เมื่อมนุษย์เกิดขึ้นในโลก
มนุษย์ก็ได้รวมอยู่เป็นสังคม แต่เนื่องจากมนุษย์มีความต้องการไม่มีที่สิ้นสุด
ฉะนั้น จึงมีความจาเป็นต้องมีการจัดระเบียบทางสังคม เพื่อควบคุมแบบแผน
แห่งพฤติกรรมของมนุษย์ หากปล่อยให้มนุษย์แต่ละคนทาการตามอาเภอใจ
โดยปราศจากการควบคุมแล้ว สังคมก็ย่อมจะเกิดความปั่นป่วนยุ่งเหยิงและ
ขาดระเบียบแบบแผน ดังนั้น จึงจาเป็นต้องมีการจัดระเบียบทางสังคม เพื่อ
สังคมจะเกิดสันติสุข
ความสาคัญของการจัดระเบียบทางสังคม
สิ่งที่น่าจะนามาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดระเบียบทางสังคม ก็คือ
• บรรทัดฐานทางสังคม (Norm
• สถานภาพ (Status
• บทบาท (Role
• การควบคุมทางสังคม
ความสาคัญของการจัดระเบียบทางสังคม
บรรทัดฐานของสังคม (Norm)
ความหมาย
บรรทัดฐาน คือ ระเบียบหรือแบบแผนแห่งพฤติกรรมซึ่งเกิดจากการ
ปฏิบัติตามนิยามของสังคมนั้น
หรือประเสริฐ แย้มกลิ่นฟุ้ง ได้อธิบายว่า “บรรทัดฐาาน หมายถึง
ระเบียบ กฎเกณฑ์ แบบพฤติกรรม หรือคตินิยมที่สังคมวางไดฐ้ เพื่อ
กาหนดฐแนวทางสาหรับบุคคลยึดฐถือปฏิบัติในสถานการณ์ต่าง ๆ การที่
สมาชิกในสังคมมีการติดฐต่อสัมพันธ์กันราบรื่น ก็เพราะแต่ละฝ่ายต่าง
ปฏิบัติตามบรรทัดฐาานที่ทุกคนมีความเข้าใจร่วมกัน ทาให้เกิดฐความ
แน่นอนและความเป็นระเบียบในชีวิตสังคม
หรือตามความเห็นของ ดร.ไพฑูรย์ เครือแก้ว “บรรทัดฐาาน คือ
ตัวกาหนดฐ พฤติกรรมหรือกริยา (Action) ในชีวิตประจาวันของคน
ในสังคม หมายความว่า บรรทัดฐาานจาเป็นต้องแสดฐงมาตราาน
หรือบ่งบอกมาเลยว่าในสถานการณ์หรือ เหตุการณ์เฉพาะอย่าง
ยิ่งในชีวิตประจาวันของแต่ละบุคคลนั้น เขาควรจะปฏิบัติหรือ มี
กิริยาอาการเช่นใดฐบ้าง”
บรรทัดฐานของสังคม (Norm) (ต่อ)
ความหมาย(ต่อ)
บรรทัดฐานมีบทบาทสาคัญต่อการควบคุมสัมพันธ์ภาพของบุคคลใน
สังคมช่วยทาหน้าที่ควบคุมพฤติกรรมของบุคคลให้เป็นไปตามที่สังคม
ปรารถนา ทาให้เกิดแบบแผนอันดีงาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วยกากับ
มนุษย์ในสังคมหนึ่งสามารถประพฤติได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องโดยไม่
ต้องเสียเวลาไตร่ตรองนึกคิดว่าในสถานการณ์เช่นนั้น ตนควรจะทาอะไร
หรือทาอย่างไร
บรรทัดฐานของสังคม (Norm) (ต่อ)
ความสาคัญของบรรทัดฐาน
บรรทัดฐานของสังคม (Norm) (ต่อ)
บรรทัดฐานเกิดขึ้นจากการที่มนุษย์ในสังคมหนึ่ง ๆ ปฏิบัติหรืองดเว้นการปฏิบัติ
ตามคตินิยมของสังคมนั้น ๆ จนกลายเป็นระเบียบแบบแผนหรือประเพณีนิยม
คตินิยม มักมีรากฐานสาคัญมาจากลัทธิความเชื่อถือในทางศาสนา ตัวอย่างเช่น
สังคมหนึ่งอาจมีประเพณีฆ่าแพะบูชาพระเจ้า ทาให้เกิดบรรทัดฐานดังกล่าวขึ้น
นอกจากนั้น ค่านิยมก็เป็นรากฐานสาคัญอันเป็นที่มาของบรรทัดฐาน เช่น
สังคมไทยมีค่านิยมทางยกย่องเคารพนับถือผู้ใหญ่ ก็ทาให้เกิดการนับถือผู้ใหญ่
และการที่มนุษย์ปฏิบัติตามบรรทัดฐานก็เพราะมนุษย์ได้เรียนรู้จาก
ประสบการณ์ต่าง ๆ ที่ได้มีชีวิตอยู่ในสังคมนั้น
ที่มาของบรรทัดฐาน
บรรทัดฐานของสังคม (Norm) (ต่อ)
การจาแนกประเภทของบรรทัดฐาานทางสังคมวิทยานั้นแยกเป็น
3 ประเภท คือ
• วิถีประชา (Folkways)
• วินัยแห่งจรรยา (Mores)
• กฎหมาย (Laws)
ประเภทของบรรทัดฐาน
ประเภทของบรรทัดฐาน(ต่อ)
1)วิถีประชา (Folkways) เป็นแนวทางสาหรับการปฏิบัติหน้าที่ ไม่ค่อยมี
ความสาคัญต่อการดฐาเนินชีวิตของมนุษย์มากนัก มักเป็นเรื่องเกี่ยวกับการที่
มนุษย์ในสังคมหนึ่ง ๆ ไดฐ้ปฏิบัติกันทุกวัน จนกลายเป็นความเคยชินและเป็น
ขนบธรรมเนียมประเพณี หากบุคคลใดฐละเมิดฐฝ่าฝืนก็ไม่ไดฐ้รับโทษรุนแรงแต่
ประการใดฐ เพียงแต่ไดฐ้รับคาติฉินนินทาว่าประพฤติปฏิบัติในทางไม่ชอบไม่ควร
เท่านั้น เช่น มรรยาทในการรับประทานอาหารบนโต๊ะ การแต่งกายไปในโอกาส
ต่าง ๆ โดฐยเหมาะสม หรือพูดฐภาษาที่สุภาพซึ่งบุคคลในสังคมนั้นนิยมใช้กัน
ประเภทของบรรทัดฐาน(ต่อ)
วิถีประชา (Folkways) (ต่อ)
วิถีประชาแบ่งออกเป็น 6 ประเภทได้ดังนี้
1. สมัยนิยม (Fashion) เป็นวิถีประชาซึ่งแสดฐงออกถึงความนิยมของหมู่ชน
ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง “สมัยนิยม” อาจเกิดฐขึ้นแพร่หลายไปอย่างรวดฐเร็ว
และเมื่อถึงจุดฐ ๆ หนึ่งก็จะเสื่อมความนิยมลงไป เช่น สมัยนิยมของการแต่ง
กาย
วิถีประชา (Folkways) (ต่อ)
2. ความนิยมชั่วครู่ (Fad) เป็นแบบของพฤติกรรมบางอย่าง ซึ่งมี
ลักษณะผิวเผิน คือ ไม่จริงจังอะไรนัก เพราะฉะนั้น “ความนิยมชั่ว
ครู่” จึงเปลี่ยนแปลงไดฐ้ง่ายและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดฐเร็ว กล่าวคือ
ความเป็นที่นิยมเพียงชั่วครู่ชั่วยามแล้วก็ส่างซาไป เช่น สมัยหนึ่ง
นิยมพูดฐว่า “ไม่สน” “อย่าให้เซดฐ” หรือ “เพลียฮาร์ดฐ” เป็นต้น
วิถีประชา (Folkways) (ต่อ)
3. ความคลั่งไคล้ (Craze) เป็นเรื่องของความไม่มีเหตุผล อธิบายได้ว่า
เมื่อ “ความคลั่งไคล้” เข้าครอบงาสิงสู่ผู้ใดฐแล้ว ผู้นั้นมักประพฤติปฏิบัติ
ไปในทานอง โง่เขลาปัญญา กล่าวคือ จะหมกมุ่นอยู่แต่เรื่องที่ตนคลั่ง
ไคล้จนไม่มีกะจิตกะใจที่จะทาอะไรอื่น เช่น คลั่งไคล้เรื่องโป่งข่ามหรือ
เรื่องว่านต่าง ๆ จะใช้เวลาทั้งหมดฐเสาะแสวงหาโป่งข่ามหรือว่าน พบใคร
คุยกับใครมักจะพูดฐแต่เรื่องที่ตนคลั่งไคล้
วิถีประชา (Folkways) (ต่อ)
4. งานพิธี (Ceremony) เป็นเรื่องที่แสดฐงออกซึ่งเกียรติหรือความมีหน้ามีตา
(ซึ่งใครจะปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติก็ไดฐ้) เช่น งานฉลองวันเกิดฐ พิธีฉลองวัน
แต่งงาน เป็นต้น
วิถีประชา (Folkways) (ต่อ)
5. พิธีการ (Rites or Rituals) เป็นแบบเรื่องของกลุ่มบุคคลที่
เกี่ยวข้องเท่านั้นและมักจะระบุซึ่งวิธีการนั้นไว้ดฐ้วย เช่น พิธีจรดฐ
พระนังคัลล์แรกนาขวัญ หรือพิธีต้อนรับน้องใหม่ เป็นต้น พิธีการ
ดฐังกล่าวมีส่วนสาคัญในการสร้างความศักดฐิ์สิทธิ์หรือเพิ่มกาลัง
ภายในให้แก่พิธีการนั้น ๆ เป็นอย่างดฐี
วิถีประชา (Folkways) (ต่อ)
6. มรรยาททางสังคม (Etiquette) เป็นเรื่องของการปฏิบัติตนให้
เหมาะสมกับกาลเทศะในการสมาคม เช่น มรรยาทในการ
รับประทานอาหารหรือการกล่าวคาขอบคุณเมื่อไดฐ้รับสิ่งของ
หรือความช่วยเหลือจากบุคคลอื่นเหล่านี้เป็นต้น
เป็นแบบแผนความประพฤติ ที่ถือว่ามีความสาคัญกว่าวิถีประชา เพราะเป็น
เรื่องที่เกี่ยวกับสวัสดฐิภาพหรือความดฐี ความชั่ว ซึ่งผู้ไม่ปฏิบัติตามจะไดฐ้รับ
ปฏิกิริยาโต้ตอบจากสมาชิกของสังคมอย่างรุนแรงกว่าวิธีประชา ขอ
ยกตัวอย่างเช่น คนไทยมีกฎศีลธรรมไม่บริโภคเนื้อสุนัขและเนื้อแมว เพราะถือ
ว่าเป็นสัตว์เลี้ยงในบ้าน หากทราบว่าบุคคลใดฐบริโภค ผู้นั้นจะไดฐ้รับปฏิกิริยา
โต้ตอบในทางลง กล่าวคือ จะไม่มีใครอยากคบค้าสมาคมดฐ้วย โดฐยเกรงว่าผู้
นั้นมีจิตใจขาดฐศีลธรรมและเหี้ยมโหดฐ จึงไดฐ้บริโภคเนื้อสุนัขและเนื้อแมว
ประเภทของบรรทัดฐาน(ต่อ)
2) วินัยจรรยาหรือกฎศีลธรรม (Mores)
ประเภทของบรรทัดฐาน(ต่อ)
เนื่องจากสังคมมนุษย์มีแนวโน้มไปในเชิงซ้อน จึงเกิดฐปัญหาข้อโต้แย้งเกี่ยวกับ
แบบแผนพฤติกรรมของมนุษย์ จึงเป็นหน้าที่ของสังคมที่จะต้องตราบทบัญญัติ
และกฎหมายที่เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อควบคุมสังคมให้มีความสงบ
เรียบร้อย ตลอดฐจนจัดฐเจ้าหน้าที่คอยควบคุมตรวจตราจับกุมผู้ละเมิดฐฝ่าฝืนมา
ลงโทษตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
3) กฎหมาย (Laws)
ประเภทของบรรทัดฐาน(ต่อ)
กฎหมาย (Laws)(ต่อ)
ฉะนั้น กฎหมายจึงเป็นเรื่องของบ้านเมืองหรือรัฐบาล มิใช่เป็นเรื่อง
ระหว่างปัจเจกชนต่อปัจเจกชน อนึ่งกฎหมายที่ออกใช้บังคับแล้ว อาจถูก
เปลี่ยนแปลง แก้ไขหรือยกเลิกและมีการออกใช้บังคับใหม่อยู่เสมอ ตาม
ความเหมาะสมและจาเป็น
กฎหมายมักมีรากฐานมาจากวิถีประชาหรือวินัยแห่งจรรยา
เพราะฉะนั้น กฎหมายที่ดีจึงควรสอดคล้องหรือไม่ขัดกับวิถีประชาและ
วินัยแห่งจรรยา
บรรทัดฐานของสังคม (Norm) (ต่อ)
การบังคับใช้บรรทัดฐานในสังคมนั้น ก็โดยมีวัตถุประสงค์จะให้
นามาซึ่งการปฏิบัติตามความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกันและการสืบ
ต่อเนื่องของกลุ่มการบังคับใช้นั้นกระทาได้ 2 วิธี คือ
การบังคับใช้ (Sanction)
1) การให้ปูนบาเหน็จ (Reward) เช่น การยกย่องชมเชยและการ
ให้ เหรียญตรา เป็นต้น
บรรทัดฐานของสังคม (Norm) (ต่อ)
การบังคับใช้ (Sanction) (ต่อ)
2) การลงโทษ (Punishment) คือ มีการกาหนดฐโทษทัณฑ์แก่ผู้ฝ่าฝืนหรือละเมิดฐ
บรรทัดฐาาน ซึ่งมีตั้งแต่การซุบซิบนินทา การปรับ การจองจา ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับ
ความผิดฐอันเกิดฐจากการละเมิดฐหรือฝ่าฝืน ซึ่งกาหนดฐไว้ในวิถีประชา วินัยแห่ง
จรรยา หรือกฎหมายของสังคมนั้น ๆ
อนึ่งในกลุ่มปามภูมินั้น การลงโทษมักเป็นแบบอรูปนัย (Informal) เช่น
การซุบซิบนินทาหรือการไม่คบค้าสมาคมดฐ้วย ส่วนกลุ่มทุติยภูมินั้น การลงโทษ
มักเป็นในแบบรูปนัย (Formal) คือ เป็นไปตามกฎหมายบ้านเมือง
การขัดกันของบรรทัดฐาน
บรรทัดฐานของสังคม (Norm) (ต่อ)
ในบางสถานการณ์อาจเกิดการขัดกันของบรรทัดฐาน (Norm-conflict) กล่าวคือ
บุคคลจะต้องเลือกปฏิบัติตามบรรทัดฐาานอย่างใดฐอย่างหนึ่ง ขอยกตัวอย่างเช่น
นาง ค. เป็นแม่ของลูก 4 คน นาง ค. มีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามบรรทัดฐาานบางอย่าง
เช่น ต้องเคารพในกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของผู้อื่น (คือ ต้องไม่ขโมยสิ่งของของคน
อื่น) ในขณะเดฐียวกัน นาง ค. มีหน้าที่ปฏิบัติตามบรรทัดฐาานของแม่ที่พึงมีต่อลูก
ตน จึงต้องเลี้ยงดฐูลูกๆ แต่เพราะความยากจน นาง ค. จาต้องขโมยทรัพย์สินของ
บุคคลอื่น เพื่อนามาเลี้ยงดฐูลูกของตน เป็นต้น
ตอนที่ 3
สถานภาพ บทบาท และการควบคุมทางสังคม
• สถานภาพและบทบาท
• การควบคุมทางสังคม (Social control)
• การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคม (Socialization)
สถานภาพและบทบาท
ปรากฏการณ์อีกอย่างหนึ่งที่มีความเกี่ยวพันกับบรรทัดฐาน
ก็คือ “สถานภาพ” ทั้งนี้ก็เพราะว่า บรรทัดฐานมิได้ลอยตัวโดย
อิสระ ในสังคมหากมีความผูกพันธ์อยู่กับสถานภาพ กล่าวได้ว่า
สังคมมนุษย์ก็คือ “ตาข่ายของสถานภาพ” ซึ่งเป็นกุญแจไขทา
ให้ทราบถึงกิจกรรมของกลุ่มคนและสมาคม
สถานภาพและบทบาท(ต่อ)
Young and Mack อธิบายว่า “สถานภาพ คือ ตาแหน่ง (Position) ใน
โครงสร้างทางสังคม”
Ogburn and Nimkoff อธิบายว่า “สถานภาพ คือ ตาแหน่งของบุคคลที่กลุ่ม
สังคมวางไว้ในการสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในสังคม”
ประสาท หลักศิลา อธิบายว่า คือ ตาแหน่งหรือหน้าที่การงานซึ่งกาหนดฐขึ้น
ในโครงรูปหรือระบบของสังคม ในแต่ละระบบของสังคมย่อมมีตาแหน่งหรือ
สถานภาพต่าง ๆ และมีระเบียบหรือบรรทัดฐาานสาหรับแนวทางปฏิบัติของ
ตาแหน่งหรือสถานภาพนั้น ๆ คู่กันไปดฐ้วยเสมอ
ความหมายของสถานภาพ
สถานภาพและบทบาท(ต่อ)
สถานภาพ ก็คือ ตาแหน่งของบุคคลในสังคมหรือกลุ่มใดฐ
กลุ่มหนึ่ง ทุกสังคมหรือกลุ่มคนย่อมมีตาแหน่งมากมายและ
บุคคลคนเดฐียวอาจดฐารงตาแหน่งหลายตาแหน่ง เช่น นาย ก.
เป็นลูกชายของพ่อ เป็นนักศึกษา เป็นสมาชิกของชมรม เป็นต้น
ความสาคัญของสถานภาพ
ความสาคัญของสถานภาพ(ต่อ)
สถานภาพและบทบาท(ต่อ)
ในสังคมเชิงซ้อน คือ สังคมที่ประกอบด้วยคนกลุ่มใหญ่ ๆ หลายกลุ่มและคน
เหล่านั้นมีความแตกต่างกันในด้านชีวิตความเป็นอยู่ การอาชีพ และมีอัตราการย้าย
ถิ่นฐานสูงนั้น การปะทะสังสรรค์ทางตาแหน่งมิใช่เป็นไปในทางส่วนตัวและนี่เอง
ทาให้ “สถานภาพมีความสาคัญยิ่งต่อการศึกษาทางสังคมวิทยา” ขอยกตัวอย่างเช่น
นิสิตใหม่คนหนึ่งของมหาวิทยาลัยต้องติดต่อกับเจ้าหน้าที่ลงทะเบียนและอาจารย์
ผู้บรรยายต่าง ๆ โดยที่นิสิตคนนั้นไม่รู้จักหรือเห็นหน้าค่าตาของบุคคลดังกล่าวมา
ก่อนเลย แต่การ ดาเนินการลงทะเบียนและการเข้าชั้นเรียนก็เป็นไปตามตาแหน่งซึ่ง
มีบรรทัดฐาน กากับไว้
ความสาคัญของสถานภาพ(ต่อ)
สถานภาพและบทบาท(ต่อ)
เพราะฉะนั้น บรรทัดฐานหรือตาแหน่งช่วยให้นิสิตใหม่คนนั้นรู้ว่า เขา
ควรประพฤติหรือปฏิบัติอย่างไร บรรทัดฐานซึ่งเกี่ยวพันกับสถานภาพ
เหล่านั้นก็คือ สิทธิหน้าที่ อภิสิทธิ์ และภาวะจายอม ซึ่งวินิจฉัย
พฤติกรรมของมนุษย์ในการปะทะสังสรรค์ทางสังคม
สถานภาพและบทบาท(ต่อ)
เมื่อบุคคลดฐารงตาแหน่งในสังคมหรือกลุ่มคน บุคคลนั้นย่อมแสดฐงบทบาท
(Role) ตามตาแหน่งนั้น ๆ เพราะฉะนั้นโดฐยปกติวิสัยแล้ว สถานภาพและ
บทบาทจึงเป็นสิ่งที่ควบคู่กันไป
บทบาทหรือการปฏิบัติหน้าที่ย่อมขึ้นอยู่กับบุคคลที่เข้าดฐารงตาแหน่งนั้น ๆ
เพราะฉะนั้น บทบาทจึงเป็นรูปแบบที่เคลื่อนไหว หรือรูปการทางพฤติกรรมของ
ตาแหน่ง
สถานภาพและบทบาท
สถานภาพและบทบาท(ต่อ)
สถานภาพและบทบาท(ต่อ)
ตัวอย่างเช่น นายกรัฐมนตรีของประเทศไทยย่อมมี บรรทัดฐานหรือ
แนวทางปฏิบัติบางประการ กล่าวคือ มีสิทธิหน้าที่และอภิสิทธิ์ต่าง ๆ แต่บทบาท
หรือการปฏิบัติหน้าที่ของนายกรัฐมนตรีของแต่ละคนย่อมแตกต่างกันออกไป
ความแตกต่างระหว่างบทบาทและตาแหน่งที่เกิดขึ้นนั้น ก็เพราะว่า
“ตาแหน่ง” เป็นแนวความคิดทางสังคมวิทยา ส่วน “บทบาท” นั้น เป็น
แนวความคิดทางจิตวิทยาทางสังคม เพราะฉะนั้น บทบาทจึงเปลี่ยนแปลงอยู่
เสมอในเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงคนใหม่ที่มาดารงตาแหน่งนั้น
สถานภาพและบทบาท(ต่อ)
ในบางสถานการณ์จะมีแต่ตาแหน่ง แต่ไม่มีบทบาท ขอยกตัวอย่างเช่นใน
สหรัาอเมริกา รัาธรรมนูญกาหนดฐให้รองประธานาธิบดฐีเข้าดฐารงตาแหน่งแทน
ประธานาธิบดฐีในกรณีที่ประธานาธิบดฐีถึงแก่อสัญกรรมในระหว่างดฐารงตาแหน่ง
อยู่ เมื่อรองประธานาธิบดฐีเข้าดฐารงตาแหน่งสืบแทนตาแหน่งประธานาธิบดฐีใน
กรณีดฐังกล่าว ทาให้ตาแหน่งรองประธานาธิบดฐีว่างลง กล่าวไดฐ้ว่า ตาแหน่งรอง
ประธานาธิบดฐีว่างลงโดฐยไม่มีบทบาท
ตาแหน่งที่ไม่มีบทบาท
สถานภาพและบทบาท(ต่อ)
ในทานองเดฐียวกัน อาจมีบทบาทแต่ไม่มีตาแหน่ง เช่น ในกรณี
ผู้หญิง (ซึ่งมิใช่พยาบาล) แสดฐงบทบาทของนางพยาบาลในเมื่อสมาชิก
คนใดฐคนหนึ่งในครอบครัวเจ็บป่วย (นางพยาบาลเป็นตาแหน่งใน
โรงพยาบาล แต่ก็อาจจะมีบทบาทของนางพยาบาลภายในบ้าน
ดฐังกล่าว)
บทบาทที่ไม่มีตาแหน่ง
สถานภาพและบทบาท(ต่อ)
สังคมวิทยาไดฐ้แบ่งสถานภาพออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1)สถานภาพโดยกาเนิด (Ascribed status)
2)สถานภาพโดยการกระทา (Achieved status)
สถานภาพโดยกาเนิดและสถานภาพโดยการกระทา
สถานภาพและบทบาท(ต่อ)
สถานภาพโดยกาเนิดและสถานภาพโดยการกระทา(ต่อ)
สถานภาพโดยกาเนิด เป็นเรื่องของการที่บุคคลนั้นได้รับสถานภาพมาโดย
เงื่อนไขทางชีวภาพ นั่นคือ พอเกิดขึ้นมาในโลกก็ได้รับเลย ซึ่งพอแยกอธิบาย
ได้ดังต่อไปนี้
1. สถานภาพทางวงศาคณาญาติ (Kinship status) คือ บุคคลย่อมมีความผูกพัน
กับครอบครัว เช่น เป็นลูกของพ่อแม่ เป็นพี่ของน้อง เป็นต้น
2. สถานภาพทางเพศ (Sex status) คือ บุคคลเกิดฐมาเป็นเพศใดฐ เป็นชายหรือ
หญิง บุคคลนั้นก็จะย่อมไดฐ้รับสถานภาพทางเพศ ซึ่งย่อมมีบทบาท (สิทธิ
หน้าที่)ที่ต่างกัน
สถานภาพและบทบาท(ต่อ)
สถานภาพโดยกาเนิดและสถานภาพโดยการกระทา(ต่อ)
สถานภาพโดยกาเนิด(ต่อ)
3. สถานภาพทางอายุ (Age status) คือ บุคคลไดฐ้รับสถานภาพตามเกณฑ์อายุ
ของตน เช่น กฎหมายไทยบัญญัติไว้ว่า ชายและหญิงจะบรรลุนิติภาวะเมื่ออายุ
ครบ 20 ปีบริบูรณ์ เพราะฉะนั้นสิทธิและหน้าที่ของบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้ว
กับบุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะย่อมแตกต่างกัน
4. สถานภาพทางเชื้อชาติ (Race status) คือ บุคคลที่เกิดฐมาจากชาติใดฐก็มี
สถานภาพตามบรรทัดฐาานของเชื้อชาตินั้น ๆ เช่น เชื้อชาติไทยและเชื้อชาติจีน
เป็นต้น
สถานภาพและบทบาท(ต่อ)
สถานภาพโดยกาเนิดและสถานภาพโดยการกระทา(ต่อ)
สถานภาพโดยกาเนิด(ต่อ)
5. สถานภาพทางท้องถิ่น (Regional status) คือ บุคคลที่เกิดฐมาใน ถิ่นาานใดฐ
เช่น คนที่เกิดฐทางภาคเหนือของไทยก็ไดฐ้รับสถานภาพเป็นคนเหนือ เกิดฐที่
ภาคใต้ก็ ไดฐ้รับสถานภาพเป็นคนใต้ เป็นต้น
6. สถานภาพทางชนชั้น (Class status) บุคคลที่เกิดฐมาจากครอบครัวของชน
ชั้นสูง คือ มีาานะดฐี ย่อมไดฐ้รับการศึกษาสูงอีกดฐ้วย และไดฐ้รับสถานภาพเป็น
ชนชั้นสูง
สถานภาพและบทบาท(ต่อ)
สถานภาพโดยกาเนิดและสถานภาพโดยการกระทา(ต่อ)
สถานภาพโดยการกระทา สถานภาพประเภทนี้เป็นสถานภาพที่ได้มาภายหลัง
อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากความสาเร็จของการกระทาของตน ดังจะอธิบาย
ดังต่อไปนี้
1. สถานภาพทางสมรส (Marital status) คือ บุคคลจะไดฐ้รับสถานภาพของ
ความเป็นสามี – ภรรยาภายหลังที่ไดฐ้ทาการสมรสแล้ว
2. สถานภาพทางบิดามารดา (Parental status) บุคคลจะไดฐ้รับ สถานภาพของ
ความเป็นบิดฐา – มารดฐา ก็ต่อเมื่อบุคคลนั้น ๆ มีบุตร
สถานภาพและบทบาท(ต่อ)
สถานภาพโดยกาเนิดและสถานภาพโดยการกระทา(ต่อ)
3. สถานภาพทางการศึกษา (Educational status) บุคคลที่ไดฐ้รับ การศึกษาสูงๆ เช่น
ในชั้นอุดฐมศึกษา ย่อมไดฐ้รับสถานภาพทางการศึกษาตามวุฒิที่ตน ไดฐ้มา เช่น เป็น
บัณฑิต เป็นมหาบัณฑิต หรือ ดฐุษฎีบัณฑิต
4. สถานภาพทางอาชีพ (Occupational status) สังคมประชาธิปไตยเปิดฐโอกาสให้
บุคคลไดฐ้มีโอกาสแข่งขันกันในดฐ้านความสามารถเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ บุคคล
ย่อมไดฐ้รับสถานภาพตามประเภทอาชีพ เช่น ช่างฝีมือ ความเป็นหมอ
5. สถานภาพทางการเมือง (Political status) บุคคลที่สนใจและอยู่ในวงการเมือง
ย่อมไดฐ้รับสถานภาพทางการเมือง เช่น เป็นสมาชิกของพรรค
สถานภาพโดยการกระทา(ต่อ)
สถานภาพและบทบาท(ต่อ)
ในบางสถานการณ์อาจเกิดฐตาแหน่งขัดฐกันไดฐ้ เช่น นาย ก. เป็น
ตารวจมี หน้าที่ต้องจับกุมผู้กระทาผิดฐตามกฎหมาย แต่ นาย ข. ซึ่ง
เป็นผู้ต้องหานั้น เป็นเพื่อนสนิทของนาย ก. ต้องเลือกปฏิบัติอย่างใดฐ
อย่างหนึ่ง (คือ จับหรือไม่จับ) ทาให้เกิดฐบทบาท ขัดฐกัน (Role
conflict)
ตาแหน่งขัดกัน (Status conflict)
สถานภาพและบทบาท(ต่อ)
ตาแหน่งบางตาแหน่งโดฐยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวกับ
อายุ เพศ และ สีของผิว ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของตาแหน่งและสามารถ
มองเห็นไดฐ้อย่างชัดฐแจ้ง กล่าวคือ พอเห็นก็ทราบไดฐ้ทันทีว่าเป็นคน
หนุ่มหรือคนแก่ เป็นผู้ชายหรือผู้หญิง เป็นฝรั่งหรือแขก
สัญลักษณ์ของตาแหน่ง
การควบคุมทางสังคม (Social control)
ตามความเห็นของ Gillin and Gillin การควบคุมทางสังคมเป็นเรื่อง
ของ การบังคับให้สังคม (คน) ไดฐ้พยายามปฏิบัติตามคาสั่งหรือระเบียบที่
สังคมวางไว้
Gillin and Gillin อธิบายว่า การควบคุมทางสังคมเป็นระบบของ
มาตรการ ข้อแนะนา ข้อโอ้โรม ข้อห้ามปราม และข้อบังคับ ซึ่งพฤติกรรม
หรือกลุ่มย่อยจะเป็น การบังคับทางพลังกายหรือบังคับทางสังคมก็ตามให้
ยอมรับกฎเกณฑ์ที่สมาชิกของสังคมกาหนดฐขึ้น
ความหมาย
การควบคุมทางสังคม (Social control)
ความหมาย(ต่อ)
โดยสรุป การควบคุมทางสังคมน่าจะเป็นวิธีการใดวิธีการหนึ่ง
บังคับให้คนในสังคมกระทาตามบรรทัดฐานของสังคม
การควบคุมทางสังคม (Social control)(ต่อ)
การอยู่ร่วมกันเป็นสังคมมนุษย์และมีการวางระเบียบกฎเกณฑ์ขึ้นเป็น
แนวทางสาหรับทุกคนในสังคมปฏิบัติตามเพื่อความสงบสุข ความราบรื่นตลอดฐถึง
ความมั่นคงของสังคมนั้น ก็มิไดฐ้หมายความว่า ทุกคนในสังคมจะปฏิบัติตาม
ระเบียบแบบแผนนี้อย่างเข้มงวดฐจริงจัง ปกติมักจะมีผู้ฝ่าฝืนและหลีกเลี่ยง
กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ของสังคมอยู่เสมอ จาเป็นที่สังคมต้องหาทางบังคับควบคุมให้
บุคคลรักษาระเบียบของสังคมให้ไดฐ้ การที่จะควบคุมสังคมให้ไดฐ้นั้นต้องมีเครื่องมือ
หรือตัวแทนของการควบคุมทางสังคม 9 ข้อ ดฐังต่อไปนี้
เครื่องมือในการควบคุมทางสังคม (Agencies of social control)
การควบคุมทางสังคม (Social control)(ต่อ)
เครื่องมือในการควบคุมทางสังคม (ต่อ)
1)การควบคุมโดยผ่านความเชื่อ (Control Through Belief) ในสังคม หนึ่ง ๆ
ย่อมมีความเชื่อถือไม่เหมือนกัน เช่น ในเรื่องความเชื่อต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ไม่มี
ตัวตน แต่คนก็ย่อมเกรงกลัวในอิทธิฤทธิ์อภินิหารของสิ่งเหล่านั้น เช่น เทพเจ้า
เจ้าพ่อ เจ้าแม่ศพพระภูมิ รวมทั้งต้นโพธิ์ ต้นไม้ใหญ่ หรือคนกราบไหว้บูชา
ความเชื่อใน สิ่งศักดิ์สิทธิ์เหล่านี้ อาจทาให้คนเกรงกลัวไม่กล้ากระทาผิดได้
การควบคุมทางสังคม (Social control)(ต่อ)
เครื่องมือในการควบคุมทางสังคม (ต่อ)
2)การควบคุมโดยการเสนอแนะแนวทาง (Control by Social
Suggestion) การเสนอแนะเป็นมาตรการอันหนึ่งในการควบคุม
สังคม เมื่อผู้เสนอแนะเป็นผู้มีชื่อเสียงหรือผู้ที่สังคมเคารพนับถือ
การควบคุมทางสังคม (Social control)(ต่อ)
เครื่องมือในการควบคุมทางสังคม (ต่อ)
3)การควบคุมโดยศาสนา (Control by Religion) ศาสนากับการบังคับ
แบบเหนือธรรมชาติได้เป็นปัจจัยอันสาคัญในการควบคุมสังคม ศาสนา
ได้โยงความสัมพันธ์ของมนุษย์เข้ากับพลังเหนือธรรมชาติที่รู้กันในฐานะ
พระเจ้า และแนะนามนุษย์ให้กระทาตามจุดมุ่งหมายหรือกฎเพื่อเข้าถึง
พระเจ้า แบบอย่างของสังคมส่วนมากจะค้านศีลธรรมหรือพฤติกรรม
อันมีส่วนสร้างขึ้นมาโดยศาสนา สถาบันทางศาสนาจึงเป็น สิ่งสาคัญใน
การควบคุมทางสังคม
การควบคุมทางสังคม (Social control)(ต่อ)
เครื่องมือในการควบคุมทางสังคม (ต่อ)
4)การควบคุมโดยอุดมคติทางสังคม (Control by Social Ideals) อุดมคติทาง
สังคมก็เป็นมาตรการอันหนึ่งที่จะควบคุมสังคมได้ ในเมื่อผู้นาของประเทศ
ได้ปลุกระดมให้ประชาชนของประเทศมีอุดมคติอันแน่วแน่ เช่น ฮิตเลอร์ เล
นิน และคานธี เป็นต้น
การควบคุมทางสังคม (Social control)(ต่อ)
เครื่องมือในการควบคุมทางสังคม (ต่อ)
5)การควบคุมโดยงานพิธี (Control of Ceremony) ในชีวิตของมนุษย์ได้เกี่ยวข้อง
กับงานพิธีต่าง ๆ มากมาย เช่น งานวันเกิด งานแต่งงาน หรือแม้แต่งานพิธีของคน
ตาย Maciver and Page เชื่อว่า “รูปแบบงานพิธี เป็นงานการสร้างวิธีการอย่างมี
รูปแบบให้มนุษย์ประทับใจถึงความสาคัญของเรื่องราวหรือโอกาสแห่งการ
ประกอบ พิธีการนั้น พิธีกรรมยังเร่งเร้าความรู้สึกในหัวใจของมนุษย์ทั้งหมดให้มี
ความปรารถนาอันสูงส่งจนกระทั่งกลายมาเป็นสัญลักษณ์แห่งคุณค่าของชีวิต ซึ่งก็
เป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่จะควบคุมสังคมได้
การควบคุมทางสังคม (Social control)(ต่อ)
เครื่องมือในการควบคุมทางสังคม (ต่อ)
6)การควบคุมโดยศิลปะ (Control by Arts) ความเป็นศิลปะต่าง ๆ เป็นเครื่องมือ
ควบคุมทางสังคมชนิดหนึ่ง เพราะศิลปะมีรูปแบบของการกระทาของคน เช่น ใน
ชีวิตประจาวันของพวกเรา ศิลปะได้แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของกันอย่างลึกซึ้ง
เมื่อเสียงดนตรีทาให้กลายเป็นเครื่องผ่อนคลายอารมณ์ได้อีกอย่างหนึ่ง เพลงมาร์ช
ในยามสงครามยังเร่งเร้าปลุกอารมณ์ให้คิดที่จะฆ่ากันได้
การควบคุมทางสังคม (Social control)(ต่อ)
เครื่องมือในการควบคุมทางสังคม (ต่อ)
7)การควบคุมโดยผ่านความเป็นผู้นา (Control Through Leadership)
ความสามารถในการให้การแนะนาเรื่องคุณภาพส่วนบุคคลตามสถานที่ทางาน
ต่าง ๆ สมาคมหรือบริษัทจะใหญ่หรือเล็กมีความจาเป็น ผู้นาที่มีความสามารถ
ในหน้าที่การงาน ยิ่งในสังคมสมัยใหม่อันสลับซับซ้อน ความเป็นผู้นามีความ
จาเป็นอย่างยิ่งที่จะควบคุมสังคมให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
การควบคุมทางสังคม (Social control)(ต่อ)
เครื่องมือในการควบคุมทางสังคม (ต่อ)
8)การควบคุมทางสังคมโดยผ่านกฎหมายและการบริหารงาน (Social Control
Through Law and Administration) กฎหมายเป็นเรื่องกฎข้อบังคับให้บุคคล
ยอมรับการปฏิบัติตาม หากใครฝ่ าฝื นหรือละเมิดกฎหมายย่อมได้รับ
โทษานุโทษ บุคคลมีความเกรงกลัวกฎหมาย
นอกจากนั้น กฎหมายยังอ้างถึงตัวแทนพลังอีกอย่างหนึ่ง นั่นคือ กลไก
การบริหารของรัฐ ซึ่งก็ใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนทาง
สังคมได้ด้วย
การควบคุมทางสังคม (Social control)(ต่อ)
เครื่องมือในการควบคุมทางสังคม (ต่อ)
9)การควบคุมโดยผ่านศีลธรรม (Control Through Morals) การที่บุคคลมี
ความรับผิดชอบในหน้าที่จะทาอะไรลงไปก็รู้ว่าสิ่งนั้นดี สิ่งนั้นไม่ดี ทุกคน
ตั้งอยู่ใน ศีลธรรมอันดี ย่อมก่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย นั่นคือ การ
ควบคุมทางสังคมอย่างหนึ่งนั่นเอง
การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคม
ตามความหมายของ Bogadus การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบ
ของสังคมเป็ นกระบวนการการทางานร่วมกันหรือเป็ น
กระบวนการกลุ่มที่พัฒนาความรับผิดชอบ ให้กับคนในสังคม
เพื่อความอยู่รอดในการดาเนินชีวิต
ความหมาย
การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคม(ต่อ)
ความหมาย(ต่อ)
ประสาท หลักศิลา ได้อธิบายไว้ว่า “เป็นกระบวนการที่ทาให้คนซึ่ง
ใน ตอนแรกมีสภาพเป็นอินทรีย์ทางชีววิทยาเปลี่ยนแปลงมาเป็นคน
ซึ่งมีความรู้สึกในเรื่องพวกเดียวกัน มีความสามารถในการอยู่เป็น
ระเบียบ มีคุณธรรมต่าง ๆ และมีความทะเยอทะยาน
การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคม(ต่อ)
ความหมาย(ต่อ)
เมื่อมองในแง่ของสังคมแล้ว การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบสังคม ก็คือ การ
ถ่ายทอดวิถีวัฒนธรรมและการทาให้ปัจเจกชน สามารถดาเนินชีวิตได้อย่าง
เหมาะสมในสังคมที่ได้มีการจัดระเบียบอย่างดีแล้ว การอบรมให้เรียนรู้
ระเบียบของสังคมเป็นกระบวนการที่จะต้องกระทาตลอดอายุขัยของชีวิต
มนุษย์เลยทีเดียว คือ เริ่มตั้งแต่วัยเด็กจนถึงผู้ใหญ่ ...
... นอกจากนั้นในขณะที่ปัจเจกชนเข้าไปมีส่วนร่วมในรูปของสังคม
ใหม่และสถาบันใหม่ เขาก็จะต้องเรียนรู้กฎเกณฑ์ใหม่และยอมรับ
ค่านิยมใหม่และในขณะเดียวกับที่พ่อแม่ทาหน้าที่เป็นตัวแทนสาคัญ
ในการเลี้ยงดูเด็ก ตัวพ่อแม่เองก็ต้องได้รับการเรียนรู้ในบทบาทของ
พ่อแม่และคุณค่าของความเป็นพ่อแม่อีกด้วย
การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคม(ต่อ)
ความหมาย(ต่อ)
การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคม(ต่อ)
1) เพื่อให้มวลสมาชิกได้รู้จักปฏิบัติตนตามบรรทัดฐานและตระหนักถึงสถานภาพ
และบทบาทอย่างถูกต้อง เพื่อจะได้ปฏิบัติตนในฐานะสมาชิกที่ดีของสังคม
2) เพื่อปลูกฝังทักษะที่จะร่วมกิจกรรมกับผู้อื่นในสังคม เช่น การมี มนุษยสัมพันธ์
จุดมุ่งหมายของการอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคม
การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคม(ต่อ)
จุดมุ่งหมายของการอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคม(ต่อ)
3) เพื่อปลูกฝังระเบียบวินัยหรือพฤติกรรมที่จากัดความพอในปัจจุบัน เพื่อ
การยอมรับของสังคม เช่น วิธีการรับประทานอาหาร นิสัยการอาบน้าชาระ
ร่างกาย
4) ปลูกฝังความมุ่งหวังและค่านิยมแก่สมาชิกในสังคม เช่น แรงจูงใจใน
ความสาเร็จในการประกอบอาชีพ ซึ่งจะทาให้บุคคลยอมรับที่จะดาเนินชีวิต
ตามกติกาและปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนของสังคมที่ได้วางไว้
การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคม(ต่อ)
มี 5 องค์กรดังนี้ คือ
1) ครอบครัว จัดเป็นองค์กรในการให้การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคมที่
สาคัญ ทั้งนี้เพราะมีความใกล้ชิดกับเด็กและสมาชิกของครอบครัวและอยู่
ร่วมกันเป็นเวลานาน จึงทาหน้าที่อบรมสั่งสอนได้ตลอดเวลา ประกอบกับ
ครอบครัวมีหน้าที่สาคัญในการอบรมเลี้ยงดูเด็กอยู่ด้วยและวัยเด็กเป็นวัยที่มีผล
มาก ต่อการสร้างบุคลิกภาพรวมทั้งอารมณ์และจิตใจของเด็กครอบครัวจะเป็น
แหล่งอบรมสั่งสอนถ่ายทอดวัฒนธรรม ค่านิยม ทัศนคติ และหลักการดาเนิน
ชีวิตเบื้องต้น
องค์กรที่อบรมให้เรียนรู้ระเบียบแบบแผนของสังคม
การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคม(ต่อ)
องค์กรที่อบรมให้เรียนรู้ระเบียบแบบแผนของสังคม(ต่อ)
2) กลุ่มเพื่อน เมื่อเด็กโตขึ้นก็จะเข้าร่วมสังคมกับเพื่อน ๆ เช่น กับเพื่อนบ้าน
เพื่อนที่สนามเด็กเล่น เพื่อนที่โรงเรียน กลุ่มเพื่อนมีอิทธิพลสาคัญต่อพฤติกรรม
ของเด็กเช่นกัน เด็กอาจเรียนแบบอย่างเพื่อน ดังนั้น ถ้าเด็กได้คบกับเพื่อนดีจะ
ได้รับ แบบอย่างที่ดี ในทางตรงกันข้าม หากคบเพื่อนไม่ดีย่อมมีพฤติกรรมไม่ดี
ด้วย กลุ่มเพื่อนจะช่วยให้เด็กได้เรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ที่อาจไม่ได้รับจากครอบครัว
หรือผู้ใหญ่ เช่น เพศศึกษา ความเสมอภาค ความเป็นตัวของตัวเอง ความเป็น
ผู้นา ซึ่งเด็กอาจนาเอาพฤติกรรมต่าง ๆ ของเพื่อนมาใช้เป็นแนวทางปฏิบัติของ
ตนเอง
การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคม(ต่อ)
องค์กรที่อบรมให้เรียนรู้ระเบียบแบบแผนของสังคม(ต่อ)
3) โรงเรียน เป็นหน่วยอบรมสั่งสอนระเบียบแบบแผนของสังคมอย่าง
เป็นทางการ ปัจจุบันโรงเรียนมีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพของเด็ก
มาก เพราะเด็กในปัจจุบันนี้มีชีวิตอยู่ในโรงเรียนเป็นเวลานาน วันละ
หลาย ๆ ชั่วโมงและหลายปี
การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคม(ต่อ)
องค์กรที่อบรมให้เรียนรู้ระเบียบแบบแผนของสังคม(ต่อ)
เมื่อพิจารณาถึงหน้าที่ของโรงเรียนโดยทั่วไปแล้ว โรงเรียนจะทาหน้าที่
สาคัญ 2 ประการด้วยกัน คือ
1. สอนให้มีความรู้และทักษะในการดารงชีพ
2. อบรมสั่งสอนเพื่อให้เป็นพลเมืองดี มีความจงรักภักดีต่อชาติ มีจรรยา
มรรยาทอันดีงาม นอกจากนั้น โรงเรียนยังเปิ ดโอกาสให้เด็กได้ใกล้ชิด
สังสรรค์กับเพื่อน ๆ เป็นระยะเวลานานทาให้มีโอกาสได้เรียนรู้ระเบียบแบบ
แผนของสังคม ได้มากขึ้น
3) โรงเรียน (ต่อ)
การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคม(ต่อ)
องค์กรที่อบรมให้เรียนรู้ระเบียบแบบแผนของสังคม(ต่อ)
4) สื่อสารมวลชน ได้แก่ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ หนังสือพิมพ์สิ่งตีพิมพ์ต่างๆ
วิทยุ และอื่นๆ สิ่งเหล่านี้จะเป็นสื่อนาให้เกิดค่านิยม ความเชื่อ ทัศนคติ และ
ได้เรียนรู้พฤติกรรมแบบอย่างต่างๆ แล้วนาประพฤติปฏิบัติในสังคม ดังจะ
พบเห็น ได้ง่ายๆ ในหมู่เด็กที่ชมภาพยนต์แล้วนาเอาพฤติกรรมการแสดง
ของผู้แสดงมาปฏิบัติ สื่อสารมวลชนนับว่ามีอิทธิพลและมีบทบาทต่อการ
อบรมให้เรียนรู้ระเบียบแบบแผนของสังคมมากเช่นกัน
การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคม(ต่อ)
องค์กรที่อบรมให้เรียนรู้ระเบียบแบบแผนของสังคม(ต่อ)
5) สถาบันทางสังคมและองค์กรอื่นๆ เช่น สถาบันทางศาสนา สมาคม มูลนิธิ
เป็นต้น สถาบันทางศาสนามีบทบาทสาคัญต่อการอบรมให้เรียนรู้ระเบียบ
แบบแผนของสังคมโดยเฉพาะในสังคมไทย ซึ่งจะเห็นได้ว่า วัดเป็นหน่วยทาง
สังคมที่ใกล้ชิดกับชาวบ้าน ชาวบ้านอาศัยเป็นแหล่งอบรมทางจิตใจ แหล่ง
การศึกษาหาความรู้ เป็นแหล่งให้การอบรมลูกหลาน จึงจัดเป็นหน่วยนาทาง
ระเบียบแบบแผนในการดาเนินชีวิตที่สาคัญ นอกจากนั้น ยังมีหน่วยงานอื่น ๆ
ที่มีส่วนช่วยในการอบรมให้เรียนรู้ระเบียบแบบแผนของสังคม เช่น ยุวพุทธิก
สมาคม ศูนย์พัฒนาเยาวชน
การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคม(ต่อ)
บุคคลที่ควรจะได้รับการอบรม ซึ่งพอจะแบ่งตามเกณฑ์อายุดังต่อไปนี้
1) ในวัยเด็ก ระยะแรก ๆ จะเน้นในด้านการตอบสนองความต้องการของทารก
เช่น การให้อาหาร การให้ความอบอุ่น เมื่อเติบโตขึ้นก็จะเริ่มสอนคลาน นั่ง
ยืน เดิน พูด ในช่วงระยะนี้ จะเริ่มอบรมให้รู้ว่าอะไรผิดอะไรถูก ถ้าผิดพ่อแม่ก็
จะแสดงอาการดุหรือส่งเสียงว่ากล่าว เด็กจะเรียนรู้กิริยาอาการพอใจหรือไม่
พอใจของผู้ใหญ่และจะจดจา เพื่อว่าเมื่อเห็นลักษณะอาการเช่นนั้นอีกจะได้ไม่
ทาเช่นนั้น นั่นคือ เด็กจะเริ่ม รู้จักควบคุมความต้องการและความประพฤติมาก
ขึ้นเรื่อย ๆ
บุคคลที่จะต้องอบรมให้เรียนรู้ระเบียบแบบแผนของสังคม
การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคม(ต่อ)
บุคคลที่จะต้องอบรมให้เรียนรู้ระเบียบแบบแผนของสังคม(ต่อ)
2) ในวัยหนุ่มสาว การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบแบบแผนของสังคม ส่วนใหญ่จะได้
จากกลุ่มเพื่อนเล่นในโรงเรียน วัยนี้มักจะเอาอย่างเลียนแบบผู้อื่น
3) วัยผู้ใหญ่ การอบรมผู้ใหญ่ให้เรียนรู้ระเบียบแบบแผนของสังคม ก็มี
ความจาเป็นอยู่บ้าง แม้จะเป็นผู้ที่มีประสบการณ์มากแล้วก็ตาม ทั้งนี้
เนื่องจาก บางโอกาสต้องประสบกับสถานการณ์ใหม่ ๆ ในสังคม เช่น
เป็นข้าราชการใหม่หรือ ข้าราชการย้ายจากงานลักษณะหนึ่งไปทางาน
ในอีกลักษณะหนึ่ง จาเป็นต้องเข้ารับการ อบรมให้เรียนรู้ระเบียบแบบ
แผนของงานใหม่ หรือการที่คนเราย้ายจากสังคมหนึ่งไปสู่อีกสังคมหนึ่ง
ย่อมมีความจาเป็นในการศึกษาเกี่ยวกับสังคมใหม่ที่ตนเข้าไปร่วมด้วย
การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคม(ต่อ)
บุคคลที่จะต้องอบรมให้เรียนรู้ระเบียบแบบแผนของสังคม(ต่อ)
การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคม(ต่อ)
บุคคลที่จะต้องอบรมให้เรียนรู้ระเบียบแบบแผนของสังคม(ต่อ)
สรุป
ความเป็นระเบียบของสังคมจะเกิดขึ้นได้จาต้องอาศัยบรรทัดฐาน
ของสังคม อันเป็นแนวทางกากับครรลองพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคม ซึ่ง
มันมีความเกี่ยวพันไปถึงตาแหน่งหน้าที่ของบุคคลด้วย นอกจากนั้น ยัง
จะต้องมีการควบคุมทางสังคมอีกด้วย ตลอดถึงการจัดให้มีการอบรมเรียนรู้
ระเบียบของสังคมด้วย เพื่อที่สังคมจะได้เป็นระเบียบเรียบร้อยและนาสันติ
สุขมาสู่สังคมโดยส่วนรวม
ตอนที่ 4
การกระทา และกระบวนการทางสังคม
• การกระทาทางสังคมและกระบวนการทางสังคม
(Social Action and Social Process)
• ปัจจัยที่เป็นตัวกาหนดการกระทาทางสังคม (Element of Social Action)
• ประเภทหรือรูปแบบของกระบวนการทางสังคม
การกระทาทางสังคมและ
กระบวนการทางสังคม
โดยปกติ การกระทาของมนุษย์ในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของสังคม จะมี
พฤติกรรมที่เรียกว่าเป็นการกระทาทางสังคม ซึ่งหมายถึง การกระทาที่
บุคคลแสดงออกมาโดยที่การกระทานั้นมีส่วนเกี่ยวข้องกับคนอื่น มีบางครั้ง
เหมือนกันที่พฤติกรรมของบุคคล ไม่เกี่ยวข้องสังสรรค์กับคนอื่น แต่เป็น
เพียงชั่วครู่ชั่วยามเท่านั้น เช่น การนอนหลับ ตามปกติแล้ว บุคคลมักจะ
หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะอยู่โดยไม่สังสรรค์กับคนอื่นเลย การเกี่ยวข้องกับผู้อื่น
เห็นได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม
ทางตรง คือ การเกี่ยวข้องระหว่างสองฝ่ายที่ติดต่อโดยตรง เช่น การ
พูดคุย การโทรทัศน์ หรือทางอ้อมโดยเรานั่งอยู่ คนเดียวใช้ความนึกคิดถึง
บุคคลอื่นหรือมักจะส่งผลกระทบกระเทือนต่อผู้อื่นทั้งนี้ เพราะเราได้รับ
การกระตุ้นจากผู้อื่น เช่น อ่านหนังสือ ฟังวิทยุ ดูโทรทัศน์ ดูภาพยนตร์ ใน
กรณีที่นักเรียนคนหนึ่งต้องดูหนังสือทั้งที่อยากไปเที่ยวกับเพื่อน ก็
หมายความว่า นักเรียนผู้นี้มีแผนการแล้วว่าจะดูหนังสือเพื่อสอบ เขาถูก
กระตุ้นจากครูหรือได้รับ การคาดหวังจากพ่อแม่ว่าต้องเรียนหนังสือให้เก่ง
เป็นต้น
การกระทาทางสังคมและ
กระบวนการทางสังคม (ต่อ)
มีองค์ประกอบ 4 อย่าง คือ
1) ตัวผู้กระทา (actor)
2) เป้าหมาย (goal or end)
3) เงื่อนไข (condition)
4) วิธีการ (means)
ปัจจัยที่เป็นตัวกาหนดการกระทาทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

หน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคม
หน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคมหน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคม
หน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคมChalit Arm'k
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันPaew Tongpanya
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยYim Wiphawan
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติKantiya Dornkanha
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม Sireetorn Buanak
 

La actualidad más candente (20)

หน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคม
หน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคมหน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคม
หน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคม
 
สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
Human2.1 1
Human2.1 1Human2.1 1
Human2.1 1
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 

Similar a หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม

สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุสังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุpyopyo
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุprimpatcha
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนthanathip
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง daSaiiew
 
มิติโลก+8..
มิติโลก+8..มิติโลก+8..
มิติโลก+8..KoNg KoNgpop
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมthnaporn999
 
06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา
06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา
06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษาTapp Pov
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมbilly ratchadamri
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมbilly ratchadamri
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5kanwan0429
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5kanwan0429
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านNattayaporn Dangjun
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านPlam Preeya
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านPlam Preeya
 

Similar a หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม (20)

สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุสังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุ
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 
มิติโลก+8..
มิติโลก+8..มิติโลก+8..
มิติโลก+8..
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา
06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา
06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 

หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม