SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 16
Descargar para leer sin conexión
3


                                             บทที่ 2

                                       เอกสารที่เกียวข้ อง
                                                   ่


ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (                 WebBlog) ด้วย Wordpress
เรื่ อง ซอฟแวร์ นี้ ผูจดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสารและจากเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
                      ้ั

2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต
         ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
           เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ เป็ นอย่าง
                      ่
มาก ตัวอย่างเช่น
1. การศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยในด้านการค้นคว้าศึกษาแหล่งข้อมูล ทาให้การศึกษา
ง่ายขึ้นและไร้ขีดจากัด ผูเ้ รี ยนมีความสะดวกในการค้นคว้าวิจย
                                                           ั

2. การดารงชีวิตประจาวัน ทาให้มีความสะดวกคล่องตัวและรวดเร็ วในการทากิจกรรมต่าง ๆ ที่
เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน สามารถทางานได้หลายอย่างในเวลาเดียวกันได้หรื อทางานใช้เวลาน้อยลง

3. การดาเนินธุรกิจ ทาให้มีการแข่งขันระหว่างธุรกิจมากขึ้น ทาให้ตองมีการพัฒนาองค์กรเพื่อให้
                                                               ้
ทันกับข้อมูลข่าวสารอยูตลอดเวลา
                      ่
อันส่งผลต่อการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง

4. อัตราการขยายตัวทุก ๆ ด้านที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว เพราะมีการติดต่อสื่อสารที่เจริ ญก้าวหน้า
ทันสมัย รวดเร็ วถูกต้องและ ทาให้
เป็ นโลกที่ไร้พรหมแดน

5. ระบบการทางานมีคอมพิวเตอร์มาใช้ซื่อสามารถทางานได้มากขึ้น งานบางอย่างมนุษย์ทาไม่
ได ก็ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยทางานแทนซึ่งได้ผลถูกต้องรวดเร็ ว
4


ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ต้องประกอบด้วย

     ฮาร์ดแวร์ Hardware

     ซอฟต์แวร์ Software
     อุปกรณ์ที่ใช้ในการให้บริ การข้อมูลและติดต่อสื่อสาร

พื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วยส่วนประกอบ ดังนี้
         1. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ได้แก่
            1. ฮาร์ดแวร์ Hardware
            2. ซอฟต์แวร์ Software
             3. ข้อมูล Data
             4. บุคลากร People
         2. โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ระบบและผูใช้งาน Programmer,System Analyst และ
                                                    ้
User เป็ นบุคคลที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องในงานคอมพิวเตอร์
โปรแกรมเมอร์มีหน้าที่เขียนโปรแกรมตามที่นกวิเคราะห์ได้ออกแบบไว้ ส่วนผูใช้จะเป็ นกลุ่มที่
                                             ั                           ้
มีอิทธิพลต่อทิศทางในการพัฒนาเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์มากที่สุด
          3. หน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยแสดงผลและหน่วยเก็บข้อมูล
                   หน่วยรับข้อมูล ทาหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์
                   หน่วยประมวลผล ทาหน้าที่ประมวลผลและควบคุมการทางานของระบบ
คอมพิวเตอร์ท้งหมด
               ั
                   หน่วยแสดงผล ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลข้อมูล
                   หน่วยเก็บข้อมูล ทาหน้าที่เก็บข้อมูลที่รอการประมวลผล และเก็บผลลัพธ์ที่
ได้จากการประมวลผลในระหว่างที่รอส่งไปยังหน่วย
                                      แสดงผล
           4. การจัดการข้อมูล ซึ่งหมายถึงแฟ้ มข้อมูล
           5. การประมวลผล ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน
                   1. การรวมบรวมข้อมูล
                   2. การประมวลผล
                   3. การดูแลรักษา
5


เทคโนโลยีสารสนเทศรู ปแบบต่าง ๆ
             1. เทคโนโลยีระบบสารสนเทศ เป็ นระบบการจัดการสารสนเทศที่ทาหน้าที่ไม่ว่าจะเป็ น
การบันทึก การแก้ไข การทารายงาน งานบัญชี งาน
ลงทะเบียน ระบบสารสนเทศจะช่วยให้องค์กรมีความสะดวกรวดเร็ วในการทางานและยังช่วยเป็ น
ข้อมูลในการตัดสินใจด้วย
             2. เทคโนโลยีระบบเครื อข่าย เป็ นระบบเทคโนโลยีที่นิยมใช้กนมากในปัจจุบน มี
                                                                         ั             ั
ประโยชน์ ดังนี้
                     1. สามารถติดต่อถึงกันได้ดวยจดหมายอิเลคทอรนิกส์ (E-mail)
                                                 ้
                     2. จัดเก็บข้อมูลไว้รวมในที่เดียวกัน ผูอยูห่างไกลก็สามารถดึงข้อมูลนั้นไป
                                                           ้ ่
ใช้ได้อย่างรวดเร็ วไม่ตองเสียเวลาในการเดินทาง
                          ้
                     3. องค์กรประหยัดค่าใช้จ่ายงบประมาณด้านอุปกรณ์ เพราะระบบเครื่ อข่าย
สามารถใช้อุปกรณ์ร่วมกันได้
                     4. สามารถทางานร่ วมกันได้หรื อทางานโดยใช้เอกสารชุดเดียวกัน
              3. เทคโนโลยีสานักงานอัตโนมัติ เป็ นระบบการทางานที่ใช้ระบบการเืืชื่อมโยง
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สานักงาน ซึ่งมีผลทาให้
                     1. พนักงานสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ทางจดหมายอิเลคทรอนิกส์ (E - mail)
                     2. สามารถบันทึกแฟ้ มเอกสารหรื องานพิมพ์เก็บไว้ และสามารถนามาแก้ไข
ปรับปรุ งให้ดีข้ ึนได้ง่าย
                     3. การออกแบบงานต่าง ๆ ทาได้ง่ายสะดวกรวดเร็ วและใช้งานได้ง่าย
                     4. มีระบบฝากข้อความเสียง (Voice Mail)
                     5. การประชุมทางไกล (Vedio Teleconference)
              4. เทคโนโลยีช่วนสอน CAI ได้รับความนิยมเป็ นอย่างมาก โรงเรี ยนและสถานศึกษา
ก็เริ่ มมีการพัฒนาโปรแกรมบทเรี ยนสาเร็ จรู ปขึ้นมาใช้
และมีผลดีกบนักเรี ยนที่จะได้ส่ือการเรี ยนการสอนที่ทนสมัยและมีความน่าสนใจมากขึ้น
               ั                                        ั

การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
          1. การนามาประยุกต์ใช้งาน จะต้องคานึงถึงผลที่จะได้รับและผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
ตามมาด้วย
          2. การวางแผนที่ดี เพื่อเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เหมาะสมกับงานและเพื่อ
ประโยชน์สูงสุดที่ควรจะได้รับ
6


             3. มาตรฐานการใช้งาน ควรจะมีเจ้าหน้าที่ควมคุมดูแล ไม่ปล่อยปละละเลยหรื อใช้
ในทางที่ผด
         ิ
             4. การลงทุน ควรคานึงถึงงบประมาณและผลประโยชน์ที่ได้รับด้วย หากประโยชน์ที่
ได้ไม่คุมค่าแก่การลงทุนก็ควรที่จะปรับแผนการเสียใหม่
        ้
             5. การจัดการข้อมูล ต้องระมัดระวังไม่ให้ขอมูลซ้ าซ้อน ควรมีการแบ่งปันข้อมูล
                                                     ้
เพื่อให้การทางานร่ วมกัน มีการติดต่อสร้างความสัมพันธ์กน ั
             6. การรักษาความปลอดภัยของระบบ การใช้เทคโนโลยีร่วมกัน ต้องมีการดูแลให้
สิทธิแก่ผใช้ภายในขอบเขตของแต่ละคน
          ู้



ความสาคัญของอินเทอร์ เน็ต

ปัจจุบนอินเทอร์เน็ต มีความสาคัญต่อชีวิตประจาวันของคนเรา หลายๆ ด้าน ทั้งการศึกษา พาณิ ชย์
      ั
ธุรกรรม วรรณกรรม และอื่นๆ ดังนี้

ด้านการศึกษา

      สามารถใช้เป็ นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล ไม่ว่าจะเป็ นข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลด้านการบันเทิง
       ด้านการแพทย์ และอื่นๆ ที่น่าสนใจ
      ระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต จะทาหน้าที่เสมือนเป็ นห้องสมุดขนาดใหญ่
      นักศึกษาในมหาวิทยาลัย สามารถใช้อินเทอร์เน็ต ติดต่อกับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ เพื่อค้นหา
       ข้อมูลที่กาลังศึกษาอยูได้ ทั้งที่ขอมูลที่เป็ น ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ เป็ นต้น
                            ่            ้

ด้านธุรกิจและการพาณิ ชย์

      ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจทางธุรกิจ
      สามารถซื้อขายสินค้า ผ่านระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต
      ผูใช้ที่เป็ นบริ ษท หรื อองค์กรต่าง ๆ ก็สามารถเปิ ดให้บริ การ และสนับสนุนลูกค้าของตน
         ้               ั
       ผ่านระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตได้ เช่น การให้คาแนะนา สอบถามปัญหาต่าง ๆ ให้แก่
       ลูกค้า แจกจ่ายตัวโปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) หรื อโปรแกรมแจกฟรี (Freeware) เป็ น
7



        ต้น

ด้านการบันเทิง

       การพักผ่อนหย่อนใจ สันทนาการ เช่น การค้นหาวารสารต่าง ๆ ผ่านระบบเครื อข่าย
        อินเทอร์เน็ต ที่เรี ยกว่า Magazine Online รวมทั้งหนังสือพิมพ์และข่าวสารอื่นๆ โดยมี
        ภาพประกอบ ที่จอคอมพิวเตอร์เหมือนกับวารสาร ตามร้านหนังสือทัวๆ ไป     ่
       สามารถฟังวิทยุผานระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตได้
                            ่
       สามารถดึงข้อมูล (Download) ภาพยนตร์ตวอย่างทั้งภาพยนตร์ใหม่ และเก่า มาดูได้
                                                    ั

จากเหตุผลดังกล่าว พอจะสรุ ปได้ว่า อินเทอร์เน็ต มีความสาคัญ ในรู ปแบบ ดังนี้

       การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทนสมัย
                                             ั
       การติดต่อสื่อสารที่สะดวก และรวดเร็ ว
       แหล่งรวบรวมข้อมูลแหล่งใหญ่ที่สุดของโลก

โดยสรุ ปอินเทอร์เน็ต ได้นามาใช้เป็ นเครื่ องมือที่จาเป็ นสาหรับงานไอที ทาให้เกิดช่องทางในการ
เข้าถึงข้อมูลที่รวดเร็ ว ช่วยในการตัดสินใจ และบริ หารงานทั้งระดับบุคคลและองค์กร



2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media
        2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media
        2.2.1 ความหมายของ Social Media
                  Social Media คือ เครื่ องมือ หรื อเว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ต ที่นกท่องเว็บและบริ ษท
                                                                               ั                ั
ต่าง ๆ เข้าไปเพื่อทาการสื่อสาร รวบรวมข้อมูล และแม้กระทังไปร่ วมมือกันกับคนในชุมชนนั้น ๆ
                                                       ่
ทางานบางสิ่งบางอย่าง โดยเมื่อเราพูดถึง Social Media เรามักจะรวมถึงเครื่ องมืออย่างเช่น

       blog

       podcast
8


       เว็บประเภท Video Sharing เช่ น YouTube

       เว็บประเภท Social Network เช่ น Facebook, Hi5

       เว็บประเภท micro blog เช่ น Twitter

       เว็บประเภทอัลบั้มรูปภาพอย่างเช่ น Flickr

       เว็บ bookmark ต่าง ๆ เช่ น Digg, Stumble Upon

หรือแม้กระทั่งเว็บอืน ๆ ที่คุณสามารถมีปฎิสัมพันธ์ หรือแบ่ งปันบางสิ่งบางอย่าง กับนักท่ องเว็บคน
                    ่
อืน ๆ ได้ อย่างทันทีทันใด
  ่

        2.2.2 ประวัตความเป็ นมาและพัฒนาการของ Social Media
                    ิ

                 ปัจจุบันคนไทยมีโอกาสเข้ าถึง Internet ความเร็วสู งหรือ Broadbandได้ โดยมี
การขยายตัวเพิมถึง 40เท่ าในระยะเวลาอันสั้น คงไม่ต้องสงสัยเลยว่าในอนาคตต่อจากนี้
             ่
Broadband จะกลายเป็ นสิ่งสาคัญในชีวตของคนไทยอย่างหลีกเลียงไม่ได้ สถิตการใช้ งานInternet
                                   ิ                    ่            ิ
นั้นมีการเติบโตอย่างรวดเร็วมาก โดยตลาดมีการขยายตัวสู งถึง40เท่ าโดยประมาณ การสู้ รบ
ระหว่าง Digital กับ Traditionalจะต้องมาจบด้ วยความพ่ายแพ้ของยุคเก่า ประเทศไทยจะก้าว
ต่อไปในโลก Digital อย่างที่เพือนบ้ านได้ เริ่มมากกว่าทศวรรษแล้วนโยบายของรัฐบาลไทยใน
                              ่
ปัจจุบัน ในหัวข้ อที่ว่า “Creative Economy” นั้น คนไทยจะมีโอกาสสร้ างฝันให้ เป็ นจริงได้ หรือไม่
นั้น อยู่ที่การประยุกต์และผสมผสานเทคโนโลยีเข้ ากับจุดเด่ นของประเทศเพือให้ เกิดคุณค่าทาง
                                                                      ่
เศรษฐกิจสู งสุ ด ดังนั้นถือว่าเทคโนโลยีกเ็ ป็ นปัจจัยที่สาคัญมากสาหรับนโยบายการพัฒนาประเทศ
เทคโนโลยีในการเข้ าถึงได้ มการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง การแข่ งขันเปิ ดอย่างเสรีทาให้ มเี วทีในการ
                           ี
แข่ งขันระหว่างบริษัทชั้นนา เช่ น Apple และ Google ได้ นามาสู่ Disruptive Technology เช่ น
iphone4,IPAD,Android ที่มการนามาใช้ งานBroadband ด้ วยอุปกรณ์มอถือขนาดเล็กผ่าน
                         ี                                    ื
โครงข่ าย3G มีประสิทธิภาพอย่างไม่เคยเป็ นมาก่อน ภายใต้ราคาที่เข้ าถึงได้ และกาลังมียอดขายใน
ประเทศอย่างถล่มทลาย จึงเป็ น Corvergance ของTechnology ที่ระบบโครงข่ าย 3G ซึ่งกาลังจะมี
ขึนทั่วประเทศประจวบกับเทคโนโลยีในการเข้ าถึง กาลังร่ วมสร้ างปรากฏการณ์ของ Broadband ที่
  ้
9


จะเป็ น Disruptive Change แบบต้องตะลึงกัน อย่างไรก็ดี Broadband เป็ นดาบสองคม ถึงจะมี
ประโยชน์ ในด้ านการสื่อสาร ธุรกิจ การศึกษา ฯลฯ จนกระทั่งเพิม GDP ให้ กบพืนที่ครอบคลุมได้
                                                           ่          ั ้
แต่อย่าลืมว่า Broadband ก็เป็ นเครื่องมือเผยแพร่ ข้อมูลข่ าวสาร ความคิด วัฒนธรรม ในรูปแบบ
ของข้ อความ ภาพ เสียง และวีดิโอ ที่สามารถนาไปสู่ การสร้ างสังคมออนไลน์ หรือSocial Media
เช่ น Facebook, YouTube และ Twitter ที่ไม่สามารถทาได้ ด้วยสื่อชนิดอืน
                                                                    ่

        นอกจากนีในปัจจุบันเรากาลังเรากาลังเข้ าสู่ นวัตกรรมของ โลกจาลอง หรือVirtual World
                ้
ที่อาจมาในรูปแบบของ Second Life หรือเกมออนไลน์ ทั้งหมดนี้ มีอทธิพลต่อ ความคิด
                                                             ิ
วัฒนธรรม ซึ่งมีความสาคัญกับการหล่อหลอมแนวคิดความเป็ นไทยอยากหลีกเลียงไม่ได้ สิ่งหนึ่งที่
                                                                   ่
น่ าสังเกตอีกประการคือ Social media ที่คนไทยใช้ เวลาด้ วยมากที่สุดล้วนเป็ นของต่างชาติแต่ใน
สายตาบริษัทที่ควบคุมโดยต่างชาติแล้ว ตลาดในประเทศไทยไม่ใช่ ตลาดใหญ่ หรือตลาดที่สาคัญ ยัง
ไม่มบริษัท,ศูนย์บริการ หรือกระทั่งพนักงานที่รับผิดชอบประเทศไทยเลย ทั้งนี้ social media ที่
    ี
ปราศจากความเป็ นไทยกาลังมีอทธิพลมากในสังคม จานวนชั่วโมงการใช้social mediaต่อวันมีการ
                           ิ
ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง และอาจเป็ นไปได้ ที่คุณค่าทางวัฒนธรรมของคนไทยจะถูกลบเลือนโดย
อิทธิพลของต่างชาติผ่านBroadband ด้ วยเหตุผลที่ว่า สื่อยุคเก่ามีข้อบังคับการนาเสนอข่ าวที่ต้อง
เป็ นประโยชน์ ต่อการเรียนรู้และความเป็ นไทย แต่สื่อทางอินเตอร์ เน็ตนั้นผู้ใช้ สามารถเลือกเข้ าชม
ข้ อมูลได้ อย่างอิสระ ปราศจากข้ อจากัดที่เข้ มงวด

การติดต่อสื่อสารกันในปัจจุบันนีน้ัน
                               ้             “social media” คงเป็ นอีกคาที่หลายๆคนคุ้นหูกนใน
                                                                                         ั
ฐานะของสื่อที่เข้ ามามีบทบาทอย่างมากในประเทศไทยรวมถึงทั่วโลกด้ วยไม่ว่าจะในรูปแบบของ
การติดต่อสื่อสารของบุคคล,ติดต่อประสานงานในองค์กรหรือแม้กระทั่งการเข้ ามาทาธุรกิจผ่าน
ช่ องทางดังกล่าว บทบาทของSocial Media ในประเทศไทยนั้นส่ งผลกระทบต่อการดาเนินธุรกิจ
ขององค์กรต่างๆด้ วย จะเห็นได้ จากการที่องค์กรต่างๆต้องมีการปรับกลยุทธ์ และการดาเนินธุรกิจ
โดยมีการดึง social media เข้ าไปใช้ องค์กรเพือให้ สอดคล้องกับความเปลียนแปลงของเทคโนโลยี
                                             ่                       ่
ของสังคมไทยในยุคปัจจุบัน

        ข้ อดีของการ Social Media,3 ในประเทศไทย
10


        1.เป็ นการเปลียนแปลงประเทศไทยให้ ก้าวเข้ าสู่ อกขั้นของเทคโนโลยีในด้ านการ
                      ่                                ี
ติดต่อสื่อสาร จะเห็นได้ ว่าในอดีตนั้นสื่อหลักที่ใช้ กนในประเทศจะเป็ นสื่อจาพวก โทรทัศน์ ,วิทยุ,สื่อ
                                                     ั
สิ่งพิมพ์ ซึ่งเป็ นจากการติดต่อสื่อสารแบบทางเดียว ไม่มการตอบกลับของผู้รับสื่อ เป็ นการปอน
                                                      ี                                ้
ข้ อมูลผ่านสื่อให้ กบผู้บริโภค แต่เมือมีการนา Social Media เข้ ามาใช้ น้ัน เป็ นสื่อที่อสระในด้ านของ
                    ั                ่                                                  ิ
การให้ ข้อมูลและมีการตอบกลับในส่ วนของความคิดเห็นผ่านสื่อ(เป็ นการสื่อสารแบบ Two-way-
communication) ซึ่งจะมีลกษณะเด่ นในเรื่องของการมีส่วนร่ วมเป็ นอย่างมาก ผู้เสพสื่อหรือผู้รับสื่อ
                        ั
ก็สามารถเป็ นผู้ส่งสารได้ ในเวลาเดียวกัน

        2.มีการผุดขึนของธุรกิจขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ เป็ นจานวนมากผ่านการใช้ สื่อsocial
                    ้
media ไม่ว่าจะเป็ น hi5,facebook,twitter ก็จะมีผู้เข้ ามาดาเนินธุรกิจในรูปแบบนี้ กลายเป็ นอีก
ช่ องทางหนึ่งในการทาธุรกิจที่มความสะดวกสบายและง่ ายต่อการดาเนินงานนอกจากนียงประหยัด
                              ี                                           ้ั
ต้นทุนและค่าใช้ จ่ายจานวนมาก,บริหารจัดการง่ ายในส่ วนของสินค้า จะเห็นได้ ว่ามีธุรกิจจานวนไม่
น้ อยที่ประสบความสาเร็จจากการทาธุรกิจผ่านสื่อทางอินเตอร์ เน็ต เช่ น ร้ านหนังสือ Amazon
,weloveshopping รวมถึงร้ านขนาดเล็กๆอีกมากมาย

        3.เป็ นประโยชน์ ในเรื่องของการสร้ างเครือข่ ายต่างๆ ไม่ผ่านจะเป็ นในด้ านของธุรกิจ,
การเมือง หรือแม้กระทั่งความชอบหรืองานอดิเรกต่างๆ จะเห็นได้ จากแฟนเพจในด้ านต่างๆที่มี
จานวนมากในสื่ออินเตอร์ เน็ต ปัจจุบันนีร้านค้าหรือองค์กรธุรกิจต่างๆก็ใช้ การสร้ างเครือข่ ายเป็ นอีก
                                      ้
ช่ องทางในการให้ ข้อมูลต่างๆของบริษัท ไม่ว่าจะเป็ นรายละเอียดในส่ วนของสินค้า,โปรโมชั่นต่างๆ
หรือแม้กระทั่งการรับฟังข้ อมูลความคิดเห็นของลูกค้าผ่านทางสื่อนี้เนื่องจากมีความสะดวกและ
สามารถเข้ าถึงลูกค้าได้ เป็ นจานวนมาก

        4.เครือข่ าย 3G ถูกพัฒนาเพือตอบสนองการใช้ งานด้ านข้ อมูลเป็ นหลัก เช่ นการรับ-ส่ งไฟล์
                                   ่
เพลง, วีดีโอ, รูปภาพ, การดาวน์ โหลดคอนเท้นต์, การเชื่อมต่ออินเตอร์ เน็ต, การใช้ บริการเสริม เป็ น
ต้น สามารถส่ งเพลง MP3 หรือไฟล์วดีโอ ได้ ในเวลาที่รวดเร็ว ในขณะที่เครือข่ าย GPRS / EDGE ที่
                                ี
ใช้ กนอยู่ในปัจจุบันจะใช้ เวลานานมากๆ ดังนั้นเป็ นประโยชน์ อย่างมากสาหรับบุคคลหรือองค์กรที่
     ั
11


เน้ นการใช้ งานอินเตอร์ เน็ตหรือใช้ งานด้ านข้ อมูลเป็ นหลักซึ่งจะเป็ นการช่ วยลดเวลาในการ
ดาเนินงานรวมถึงเพิมประสิทธิภาพในด้ านการดาเนินงานและการจัดเก็บข้ อมูลได้ เป็ นอย่างดี
                  ่

          ข้ อเสียของการ Social Media,3 ในประเทศไทย
          1.การเข้ ามาของสื่อในประเทศไทยนั้นรุนแรงและน่ ากลัวของอาชญากรรมผ่านสื่อทางนีมี
                                                                                      ้
มาก เนื่องจากว่าการให้ ข้อมูลผ่านสื่อไม่มเี งื่อนไขหรือข้ อจากัดที่เข้ มงวดทาให้ เกิดการก่อ
อาชญากรรมผ่านการให้ ข้อมูล เช่ น การล้วงความลับข้ อมูลต่างๆรวมถึงการให้ ข้อมูลเท็จเพือ
                                                                                     ่
หลอกลวงผู้เสพสื่อ ตัวอย่างเช่ น ธุรกิจสถาบันการเงินมีการใช้ สื่อทางSocial media เพือให้ เกิดความ
                                                                                   ่
สะดวกแก่ลกค้าในด้ านการทาธุรกรรมต่างๆทางการเงิน โดยเพียงแค่ใส่ ข้อมูลส่ วนตัวเข้ าไป ลูกค้าก็
         ู
สามารถทีจะทาธุรกรรมทางการเงินได้ โดยไม่ต้องเดินทางไปยังธนาคารเอง กลับก่อให้ เกิดการ
ขโมยข้ อมูลเมือมีกลุ่มที่สร้ างเว็บไซด์ ลวงขึนมาเพือให้ คนใช้ บริการเกิดความเข้ าใจผิด และเมือใส่
              ่                              ้     ่                                         ่
ข้ อมูลส่ วนตัวหรือรหัสต่างๆเข้ าไปในระบบ ทาให้ กลุ่มผู้ไม่หวังดีดังกล่าวสามารถเข้ าถึงข้ อมูลของ
ผู้ใช้ บริการได้

          2.การใช้ งานด้ าน Social media ในประเทศไทยนั้น ยังเป็ นแค่กลุ่มใช้ งาน แต่ไม่มี
ความสามารถในการแข่ งขันได้ ถึงแม้ว่าจานวนผู้ใช้ งานในประเทศไทยนั้นมีเป็ นจานวนมาก แต่เรา
ไม่สามารถปฏิเสธได้ ว่าการเข้ าใช้ งานสื่อทางนีมคนจานวนไม่น้อยที่เข้ าใช้ งานเนื่องจากเพือให้ ตาม
                                              ้ ี                                       ่
เทรนด์ ของสังคมในยุคปัจจุบันหรือเพือเกาะกระแสสังคม แต่ยงขาดการพัฒนาในด้ านความรู้เพือ
                                   ่                   ั                            ่
สร้ างสื่อบริการท้ องถิ่นภายในประเทศเพือแข่ งขันกับสื่อsocial mediaของต่างประเทศ และเมือ
                                       ่                                               ่
เทียบกับประเทศอืนๆนั้น จะเห็นได้ ว่าประเทศอืนๆมี Social network ท้ องถิ่นที่มประสิทธิภาพสู ง
                ่                           ่                                ี
ไม่ว่าจะเป็ น QQของประเทศจีน,Cyworldของประเทศเกาหลี,Mixiของประเทศญี่ปุ่น ก็ล้วน
แล้วแต่เป็ นอันดับหนึ่งในประเทศของตน แม้กระทั่งในประเทศอินเดียและอินโดนีเซียก็ยงมี
                                                                               ั
Mobile Social Network ชื่อ Mig33 ซึ่งมีการส่ งข้ อความภายในประเทศเป็ นสองเท่ าของจานวน
ทวีทของ Twitter รวมกันทั้งโลก

แต่เมือย้อนกลับมามองที่ประเทศไทยซึ่งกาลังมีการผันกระแสจากการใช้ งาน Hi5 เป็ นการใช้ งาน
      ่
Facebookและtwitterนั้นโดยมองไม่เห็นเงาของการบริการท้ องถิ่นภายในประเทศเลยนอกจากนี้
12


การลงทุนในเรื่องของของเทคโนโลยีต่างๆ เช่ น บริษัทยักษ์ ใหญ่ อย่างIBM เข้ ามาสร้ าง Innovation
centre ในประเทศเวียดนาม หรือแม้กระทั่งการที่ Google.org เลือกประเทศกัมพูชาเป็ น regional
centre โดยมองข้ ามประเทศไทย สาเหตุหลักนั่นก็คอความพร้ อมในด้ านการศึกษาและพัฒนา
                                             ื
ประเทศไทยมีการใช้ งานระบบต่างๆอย่างแพร่ หลายแต่กลับไม่มความมุ่งมันในการพัฒนาระบบ
                                                       ี         ่
เพือให้ ระบบท้ องถิ่นสามารถต่อสู้ กบสื่อต่างประเทศที่เข้ ามามีอทธิพลของประเทศไทยได้
   ่                               ั                           ิ

อนาคตของประเทศไทยหากจะประสบความสาเร็จในโลกของธุรกิจของ                         Social Mediaนั้น
ควรมุ่งที่จะพัฒนาในเรื่องของความสามารถในการแข่ งขันและปลูกฝังในเรื่องของค่านิยมต่างๆ
ภายในประเทศมากกว่าการเพิมจานวนผู้เข้ าถึงการใช้ งานในสื่อทางนีหากมีการมุ่งมันและพัฒนา
                        ่                                     ้             ่
อย่างจริงจัง เชื่อได้ แน่ นอนว่าประเทศไทยกับการผสมผสานระหว่างนโยบาย creative economy
ของรัฐบาลกับการพัฒนาสื่อที่มบทบาทและทันสมัยอย่าง Social media จะทาให้ ประเทศไทยก้าว
                            ี
เข้ าไปสู่ การแข่ งขันกับประเทศเพือนบ้ านหรือแม้กระทั่งบนเวทีโลกได้ อย่างสมบูรณ์
                                  ่



2.2.3 ประเภทเว็บไซต์ที่ให้ บริการ Social Media

myFri3nd มีรูปแบบคล้ายเว็บ Social Network ทั่วไป เป็ นเว็บไซต์ในเครือ sanook.com

        D-Looks เว็บไซต์ Social Network แนว ๆ hi5 แต่มสโลแกนว่า เว็บไซต์ดูดี สาหรับคนดี ๆ
                                                      ี

BangkokSpace เป็ น Social Network สาหรับคนชอบเที่ยวกลางคืน

Blogging

exteen เว็บผู้ให้ บริการ blog อันดับหนึ่งของไทย สู สีเบียดกับ bloggang อยู่ตลอด แต่หลัง ๆ ดู
เหมือนยอดสมาชิกจะแซงแล้ว ตัวระบบ exteen เองพัฒนาได้ ดี

BlogGang ผู้ให้ บริการพืนที่ blog ในเครือ pantip.com ซึ่งสมาชิกส่ วนใหญ่ จะเป็ นแฟนคลับ หรือ
                        ้
ขาประจาของ pantip.com อยู่แล้ว

Micro Blogging
13


NokNok เว็บแบบเดียวกับ twitter แต่พฒนาโดยคนไทย (ในเครือ sanook.com เช่ นกัน) แต่ดูมี
                                   ั
แนวโน้ มการพัฒนาที่ดี ไม่ว่าจะเป็ นการเชื่อมให้ อพเดทกับ twitter ได้ หรือการอัพเดท noknok
                                                 ั
ผ่านมือถือเป็ นต้น

Social Bookmarking

Zickr เว็บ social bookmark อันดับหนึ่งของไทย คนใช้ กนเพียบ เป็ นที่รวมข้ อมูลบทความทันสมัย
                                                    ั
ที่มคนมาช่ วยกันใส่ เรื่องใหม่ ทุกวัน
    ี

Duocore เว็บที่รายงานข่ าวเกียวกับวงการไอทีไทย ในรูปแบบวีดีโอ โดยใช้ ระบบSocial Bookmark
                             ่
มาให้ ผ้ชม ช่ วยกันส่ งเรื่องราวไอทีที่น่าสนใจเข้ ามา ในแต่ละสัปดาห์ จะมีการเลือกเรื่องราวที่
        ู
น่ าสนใจ ไปทารายการเป็ นรูปแบบวีดีโอ

Siam Collective เว็บ Social Bookmark อีกแห่ งหนึ่งของไทย

iam in Thai Social Bookmark ของไทยที่เก็บรวบรวมงานอีเว้นต์ และเทศกาลสาคัญ

Techkr เว็บ Social Bookmark ที่เก็บแต่เรื่องราวเทคโนโลยี

Fwdder.com เว็บที่ให้ คุณสามารถ forward email ต่าง ๆ ที่ได้ รับมาจากคนอืน แล้วนามาขึนแสดง
                                                                        ่           ้
ในเว็บไซต์ได้ ทันที เรียกได้ ว่าเป็ นเว็บไซต์ที่รวมพวก forward email ไว้ให้ อ่านกันนั่นเอง

2.3 เว็บบล็อก (WebBlog)
        2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog)
                          บล็อก (blog) เป็ นคารวมมาจากคาว่า เว็บบล็อก (weblog) เป็ นรูปแบบ
เว็บไซต์ประเภทหนึ่ง ซึ่งถูกเขียนขึนในลาดับที่เรียงตามเวลาในการเขียนซึ่งจะแสดงข้ อมูลที่เขียน
                                  ้
ล่าสุ ดไว้แรกสุ ด บล็อกโดยปกติจะประกอบด้ วย ข้ อความ ภาพลิงก์ ซึ่งบางครั้งจะรวมสื่อต่างๆ ไม่
ว่า เพลง หรือวิดีโอในหลายรูปแบบได้ จุดที่แตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคอ บล็อกจะเปิ ด
                                                                           ื
ให้ ผู้เข้ ามาอ่านข้ อมูล สามารถแสดงความคิดเห็นต่อท้ ายข้ อความที่เจ้าของบล็อกเป็ นคนเขียนซึ่งทา
14


ให้ ผู้เขียนสามารถได้ ผลตอบกลับโดยทันที คาว่า "บล็อก"ยังใช้ เป็ นคากริยาได้ ซึ่งหมายถึง การ
เขียนบล็อก และนอกจากนีผู้ที่เขียนบล็อกเป็ นอาชีพก็จะถูกเรียกว่า "บล็อกเกอร์ "
                      ้

        บล็อกเป็ นเว็บไซต์ที่มเี นือหาหลากหลายขึนอยู่กบเจ้าของบล็อกโดยสามารถใช้ เป็ น
                                   ้            ้     ั
เครื่องมือสื่อสาร การประกาศข่ าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ ผลงาน ในหลายด้ านไม่
ว่า อาหาร การเมือง เทคโนโลยี หรือข่ าวปัจจุบัน นอกจากนีบล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่องส่ วนตัวหรือ
                                                       ้
จะเรียกว่าไดอารีออนไลน์ ซึ่งไดอารีออนไลน์ นี่เองเป็ นจุดเริ่มต้นของการใช้ บล็อกในปัจจุบน
                                                                                       ั
นอกจากนีตามบริษัทเอกชนหลายแห่ งได้ มการจัดทาบล็อกของทางบริษัทขึนเพือเสนอแนว
        ้                           ี                          ้ ่
ความเห็นใหม่ให้ กบลูกค้า โดยมีการเขียนบล็อกออกมาในลักษณะเดียวกับข่ าวสั้น และได้ รับการ
                 ั
ตอบรับจากทางลูกค้าที่แสดงความเห็นตอบกลับเข้ าไปเพือพัฒนาผลิตภัณฑ์
                                                  ่

        เว็บค้นหาบล็อกเทคโนโลยี ได้ อ้างไว้ว่าปัจจุบันในอินเทอร์ เน็ต มีบล็อกมากกว่า112 ล้าน
บล็อกทั่วโลก

        web blog คือ หลายคนก็ได้ ให้ ความหมายสั้นๆว่าเป็ นการบันทึกบทความของตนเอง
(Personal Journal) โดยเนือหาของ blog นั้นจะครอบคลุมได้ ทุกเรื่อง ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องราวส่ วนตัว
                         ้
หรือเป็ นบทความเฉพาะด้ านต่างๆ

บล็อก คือ          สื่อใหม่ (New Media) เป็ นปรากฏการณ์ที่เปลียนรูปแบบการสื่อสารในอดีตอย่าง
                                                              ่
สิ้นเชิง คนเขียนบล็อก สามารถทาหน้ าที่เป็ นสื่อด้ วยตัวเอง ไม่ต้องพึงสื่อสารมวลชน เขาสามารถ
                                                                    ่
สื่อสารกันเองในกลุ่มเล็กๆ หรือกลุ่มใหญ่ กได้ ถ้ าเรื่องไหน เป็ นที่ถูกใจของชาวบล็อก ชาวเน็ต คนๆ
                                         ็
นั้น อาจจะดังได้ เพียงชั่วข้ ามคืน โดยไม่จาเป็ นต้องอาศัยสื่อหลักช่ วยเลย

จากที่ยกตัวอย่างความหมายของคาว่า "บล็อก" มาพอสังเขปจากหลากหลายแนวคิดแล้วนั้น ใน
ส่ วนตัวแล้วเห็นก็เห็นด้ วยกับคานิยาม หรือความหมายของBlog ทั้งหมด แต่โดยส่ วนตัวนั้นอาจจะ
เพิมเติมในส่ วนของบล็อก นั้นเป็ นเสมือนเว็บไซต์สาเร็จรูป ที่มระบบจัดการต่างๆ ได้ มากมาย
   ่                                                         ี
เหมาะสมกับผู้ที่ไม่สามารถพัฒนาเว็บไซต์ได้ เอง และ บล็อก ก็ไม่จากัดความสามารถในการพัฒนา
ต่อไป แบบไม่มสิ้นสุ ด ซึ่งมีท้ังแบบฟรี แบบเสียค่าใช้ จ่าย หรือแบบเขียนบล็อก เองหรือ สร้ างmuli
             ี
blog หรืออืนๆ อีกมากมาย
           ่
15


ซึ่งจากนิยามความหมายของคาว่า บล็อกคืออะไรนั้นคงไม่จากัดเฉพาะแนวคิดใด แนวคิดถึง ซึ่งก็ยง
                                                                                      ั
มีนิยามต่างๆ ในแต่ละมุมของแต่ละบุคคลแตกต่างกันไป

         2.3.2 ประเภทของเว็บบล็อก

         แบ่ งบล็อกออกได้ ดังต่อไปนี้
         1. แบ่ งตามลักษณะของมีเดียที่มในบล็อก ได้ แก่
                                       ี

                 1.1. Linklog บล็อกแบบนีน่าจะเป็ นบล็อกรุ่นแรก ๆ
                                        ้

                 1.2 Photoblog บล็อกประเภทนีเ้ น้ นในโพสต์ภาพถ่ าย และมักจะไม่เน้ นที่จะเขียน
ข้ อความมากนัก

                 1.3. Vlog ย่อมาจาก Videoblog เป็ นบล็อกที่รวมวิดีโอคลิปไว้ในบล็อก Vlog เป็ น
บล็อกที่เรียกได้ ว่าเป็ นบล็อกที่นิยมทากันมากในอนาคตเพราะการเจริญเติบโตของไฮสปี ด
อินเตอร์ เน็ต หรือ อินเตอร์ เน็ตบอร์ ดแบนด์ ที่ทาให้ การถ่ ายทอดเสียง ภาพเคลือนไหว movie […]
                                                                             ่
         2. แบ่ งตามประเภทเนือหา ได้ แก่
                             ้

                 2.1 บล็อกส่ วนตัว (Personal Blog) นาแสนอความคิดเห็น กิจวัตรประจาวัน

                 2.2 บล็อกข่ าว (News Blog) บล็อกที่นาเสนอข่ าว

                 2.3 บล็อกกลุ่ม (Collaborative Blog) เป็ นบล็อกที่เขียนกันเป็ นกลุ่ม

                 2.4 บล็อกการเมือง (Politic Blog) ว่าด้ วยเรื่องการเมืองล้วน ๆ

                 2.5 บล็อกเพือสิ่งแวดล้อม (Environment Blog) พูดถึงเรื่องราวของธรรมชาติและ
                             ่
การรักษาสิ่งแวดล้อม

                 2.6 มีเดียบล็อก (Media Blog) เป็ นบล็อกที่วเิ คราะห์ สื่อต่างๆ สารคดีและสิ่งที่
เกียวกับสื่อ
   ่
16


                2.7 บล็อกบันเทิง (Entertainment Blog) บล็อกที่นาเสนอเรื่องราวบันเทิงทั้งทาง
จอแก้ว และจอเงิน

                2.8 บล็อกเพือการศึกษา (Educational Blog) ในโรงเรียน หรือมหาวิทยาลัยใน
                            ่
ต่างประเทศมักจะใช้ บล็อกเป็ นสื่อในการสอนหรือ แลกเปลียนความคิดกัน
                                                     ่

2.9 ติวเตอร์ บล็อก (Tutorial Blog) เป็ นบล็อกที่นาเสนอวิธีการต่าง

        2.3.3 เว็บไซต์ที่ให้ บริการเว็บบล็อก

                www.blogger.com

                www.exteen.com

                www.mapandy.com

                www.buddythai.com

                www.imigg.com

                www.5iam.com

                www.blogprathai.com

                www.ndesignsblog.com

                www.idatablog.com

                www.inewblog.com

                www.onblogme.com

                www.freeseoblogs.com

                www.sumhua.com
17


               www.diaryi.net

               www.istoreblog.com

       www.skypream.com

               www.thailandspace.com

               www.sungson.com

               www.gujaba.com

               www.sabuyblog.com

               www.ugetblog.com

               www.jaideespace.com

               www.maxsiteth.com

               www.my2blog.com



       2.3.4 ประวัตของเว็บไซต์ Wordpress
                   ิ

       Word Press คือ โปรแกรมสาเร็จรูปตัวหนึ่ง ที่เอาไว้สาหรับสร้ าง บล็อก หรือ เว็บไซต์
สามารถใช้ งานได้ ฟรี ถูกจัดอยู่ในประเภท CMS (Contents Management System) ซึ่งหมายถึง
โปรแกรมสาเร็จรูปที่มไว้สาหรับสร้ างและบริหารจัดการเนือหาและข้ อมูลบนเว็บไซต์
                    ี                                ้

       Word Press ได้ รับการพัฒนาและเขียนชุดคาสั่งมาจากภาษา PHP (เป็ นภาษาโปรแกรมมิง
                                                                                   ่
ตัวหนึ่ง) ทางานบนฐานข้ อมูล MySQL ซึ่งเป็ นโปรแกรมสาหรับจัดการฐานข้ อมูล มีหน้ าที่เก็บ
เรียกดู แก้ไข เพิมและลบข้ อมูล การใช้ งาน Word Press ร่ วมกับ MySQL อยู่ภายใต้สัญญาอนุญาต
                 ่
ใช้ งานแบบ GNU General Public License
18


        Word Press ปรากฏโฉมครั้งแรกในโลกเมือปี พ.ศ. 2546 (2003) เป็ นความร่ วมมือกัน
                                           ่
ระหว่าง Matt Mullenweg และ Mike Littlej มีเว็บไซต์หลักอยู่ที่ http://wordpress.org และยังมี
บริการ Free Hosting (พืนที่สาหรับเก็บทุกอย่างของเว็บ/บล็อก) โดยขอใช้ บริการได้ ที่
                       ้
http://wordpress.com

        ปัจจุบันนี้ Word Press ได้ รับความนิยมเพิมขึนอย่างรวดเร็ว จนมีผู้ใช้ งานมากกว่า 200
                                                 ่ ้
ล้านเว็บบล็อกไปแล้ว แซงหน้ า CMS ตัวอืน ๆ ไม่ว่าจะเป็ น Drupal , Mambo และ Joomla สาเหตุ
                                      ่
เป็ นเพราะ ใช้ งานง่ าย ไม่จาเป็ นต้องมีความรู้ในเรื่อง Programing มีรูปแบบที่สวยงาม อีกทั้งยังมี
ผู้พฒนา Theme (รูปแบบการแสดงผล) และ Plugins (โปรแกรมเสริม) ให้ เลือกใช้ ฟรีอย่างมากมาย
    ั

        นอกจากนี้ สาหรับนักพัฒนา Word Press ยังมี Codex เอาไว้ให้ เราได้ เป็ นไกด์ ไลน์ เพือ
                                                                                           ่
ศึกษาองค์ประกอบส่ วนต่าง ๆ ที่อยู่ภายใน สาหรับพัฒนาต่อยอด หรือ นาไปสร้ างTheme และ
Plugins ขึนมาเองได้ อกด้ วย หนาซ้า ยังมีรุ่นพิเศษ คือ Word Press MU สาหรับไว้ให้ ผู้นาไปใช้
          ้          ี
สามารถเปิ ดให้ บริการพืนที่ทาเว็บบล็อกเป็ นของตนเอง เพือให้ ผู้อนมาสมัครขอร่ วมใช้ บริการในการ
                       ้                               ่        ื่
สร้ างเว็บบล็อก ภายใต้ชื่อโดเมนของเขา หรือที่เรียกว่า Sub-Domain

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องM'suKanya MinHyuk
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศkruchanon2555
 
แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1chaiing
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศKaii Eiei
 
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดelfinspiritap
 
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศpeter dontoom
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศWarakon Phommanee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตnatlove220
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพSujit Chuajine
 
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2sasima
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1HI BO
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายNaruk Naendu
 

La actualidad más candente (19)

01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1แบบฝึกหัด บทที่1
แบบฝึกหัด บทที่1
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
 
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
 
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
 

Destacado

TEATRO DE LA SENSACIÓN Cursos de verano teatro infantil 2016-Junio y Julio
TEATRO DE LA SENSACIÓN Cursos de verano teatro infantil 2016-Junio y JulioTEATRO DE LA SENSACIÓN Cursos de verano teatro infantil 2016-Junio y Julio
TEATRO DE LA SENSACIÓN Cursos de verano teatro infantil 2016-Junio y JulioMiguel Muñoz de Morales
 
العلم قوة -صناع الحياة المنوفية
العلم قوة -صناع الحياة المنوفيةالعلم قوة -صناع الحياة المنوفية
العلم قوة -صناع الحياة المنوفيةYasser Al-barbary
 
Мой город - Кострома, №09-10
Мой город - Кострома, №09-10Мой город - Кострома, №09-10
Мой город - Кострома, №09-10Мой город
 
The Day Ahead. 2-13-2013
The Day Ahead. 2-13-2013The Day Ahead. 2-13-2013
The Day Ahead. 2-13-2013Clint Hammond
 
Advertising presentation 2
Advertising presentation 2Advertising presentation 2
Advertising presentation 2sadieolen
 
Social Media And Project Management
Social Media And Project ManagementSocial Media And Project Management
Social Media And Project ManagementJerryGiltenane
 
Relieve de uganda
Relieve de ugandaRelieve de uganda
Relieve de ugandaSaida Lopez
 
Presentazione inglese
Presentazione inglese Presentazione inglese
Presentazione inglese cliobul
 
Acc 626 slidecast
Acc 626 slidecastAcc 626 slidecast
Acc 626 slidecastj9lai
 
How did I get here?
How did I get here?How did I get here?
How did I get here?gretajtom
 
Chinese Cataloging Through History
Chinese Cataloging Through HistoryChinese Cataloging Through History
Chinese Cataloging Through HistoryVicky Ludas Orlofsky
 
Leino: Mitä pitää tietää HPV-rokotuksista?
Leino: Mitä pitää tietää HPV-rokotuksista?Leino: Mitä pitää tietää HPV-rokotuksista?
Leino: Mitä pitää tietää HPV-rokotuksista?Kouluterveyskysely
 

Destacado (20)

TEATRO DE LA SENSACIÓN Cursos de verano teatro infantil 2016-Junio y Julio
TEATRO DE LA SENSACIÓN Cursos de verano teatro infantil 2016-Junio y JulioTEATRO DE LA SENSACIÓN Cursos de verano teatro infantil 2016-Junio y Julio
TEATRO DE LA SENSACIÓN Cursos de verano teatro infantil 2016-Junio y Julio
 
العلم قوة -صناع الحياة المنوفية
العلم قوة -صناع الحياة المنوفيةالعلم قوة -صناع الحياة المنوفية
العلم قوة -صناع الحياة المنوفية
 
Dp bulgarian 2005
Dp bulgarian 2005Dp bulgarian 2005
Dp bulgarian 2005
 
World I; Module 5
World I; Module 5World I; Module 5
World I; Module 5
 
Мой город - Кострома, №09-10
Мой город - Кострома, №09-10Мой город - Кострома, №09-10
Мой город - Кострома, №09-10
 
The Day Ahead. 2-13-2013
The Day Ahead. 2-13-2013The Day Ahead. 2-13-2013
The Day Ahead. 2-13-2013
 
Advertising presentation 2
Advertising presentation 2Advertising presentation 2
Advertising presentation 2
 
Social Media And Project Management
Social Media And Project ManagementSocial Media And Project Management
Social Media And Project Management
 
Bewonersbedrijf na tekening
Bewonersbedrijf na tekeningBewonersbedrijf na tekening
Bewonersbedrijf na tekening
 
Relieve de uganda
Relieve de ugandaRelieve de uganda
Relieve de uganda
 
Product A
Product A Product A
Product A
 
слайд тест
слайд тестслайд тест
слайд тест
 
Presentazione inglese
Presentazione inglese Presentazione inglese
Presentazione inglese
 
Big era 3
Big era 3Big era 3
Big era 3
 
Pop
PopPop
Pop
 
Acc 626 slidecast
Acc 626 slidecastAcc 626 slidecast
Acc 626 slidecast
 
How did I get here?
How did I get here?How did I get here?
How did I get here?
 
Chinese Cataloging Through History
Chinese Cataloging Through HistoryChinese Cataloging Through History
Chinese Cataloging Through History
 
Parent survey Roosevelt 2011
Parent survey Roosevelt 2011Parent survey Roosevelt 2011
Parent survey Roosevelt 2011
 
Leino: Mitä pitää tietää HPV-rokotuksista?
Leino: Mitä pitää tietää HPV-rokotuksista?Leino: Mitä pitää tietää HPV-rokotuksista?
Leino: Mitä pitää tietää HPV-rokotuksista?
 

Similar a 02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรM'suKanya MinHyuk
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องMiw Inthuorn
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1Thanggwa Taemin
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 

Similar a 02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง (20)

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
1บทนำคอม11
1บทนำคอม111บทนำคอม11
1บทนำคอม11
 
บทที่ 2 ทวีชัย
บทที่ 2 ทวีชัยบทที่ 2 ทวีชัย
บทที่ 2 ทวีชัย
 
155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
 
บทที่ 1 เสร็จ
บทที่ 1 เสร็จบทที่ 1 เสร็จ
บทที่ 1 เสร็จ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
1บท1
1บท11บท1
1บท1
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

Más de Chalita Vitamilkz

06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรมChalita Vitamilkz
 
06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรมChalita Vitamilkz
 
06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรมChalita Vitamilkz
 
06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรมChalita Vitamilkz
 
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะChalita Vitamilkz
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChalita Vitamilkz
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรChalita Vitamilkz
 

Más de Chalita Vitamilkz (10)

06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม
 
06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม
 
06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม
 
06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม
 
07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก
 
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง

  • 1. 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกียวข้ อง ่ ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก ( WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่ อง ซอฟแวร์ นี้ ผูจดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสารและจากเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ ้ั 2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ เป็ นอย่าง ่ มาก ตัวอย่างเช่น 1. การศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยในด้านการค้นคว้าศึกษาแหล่งข้อมูล ทาให้การศึกษา ง่ายขึ้นและไร้ขีดจากัด ผูเ้ รี ยนมีความสะดวกในการค้นคว้าวิจย ั 2. การดารงชีวิตประจาวัน ทาให้มีความสะดวกคล่องตัวและรวดเร็ วในการทากิจกรรมต่าง ๆ ที่ เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน สามารถทางานได้หลายอย่างในเวลาเดียวกันได้หรื อทางานใช้เวลาน้อยลง 3. การดาเนินธุรกิจ ทาให้มีการแข่งขันระหว่างธุรกิจมากขึ้น ทาให้ตองมีการพัฒนาองค์กรเพื่อให้ ้ ทันกับข้อมูลข่าวสารอยูตลอดเวลา ่ อันส่งผลต่อการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง 4. อัตราการขยายตัวทุก ๆ ด้านที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว เพราะมีการติดต่อสื่อสารที่เจริ ญก้าวหน้า ทันสมัย รวดเร็ วถูกต้องและ ทาให้ เป็ นโลกที่ไร้พรหมแดน 5. ระบบการทางานมีคอมพิวเตอร์มาใช้ซื่อสามารถทางานได้มากขึ้น งานบางอย่างมนุษย์ทาไม่ ได ก็ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยทางานแทนซึ่งได้ผลถูกต้องรวดเร็ ว
  • 2. 4 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ต้องประกอบด้วย ฮาร์ดแวร์ Hardware ซอฟต์แวร์ Software อุปกรณ์ที่ใช้ในการให้บริ การข้อมูลและติดต่อสื่อสาร พื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วยส่วนประกอบ ดังนี้ 1. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ได้แก่ 1. ฮาร์ดแวร์ Hardware 2. ซอฟต์แวร์ Software 3. ข้อมูล Data 4. บุคลากร People 2. โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ระบบและผูใช้งาน Programmer,System Analyst และ ้ User เป็ นบุคคลที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องในงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมเมอร์มีหน้าที่เขียนโปรแกรมตามที่นกวิเคราะห์ได้ออกแบบไว้ ส่วนผูใช้จะเป็ นกลุ่มที่ ั ้ มีอิทธิพลต่อทิศทางในการพัฒนาเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์มากที่สุด 3. หน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยแสดงผลและหน่วยเก็บข้อมูล หน่วยรับข้อมูล ทาหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ หน่วยประมวลผล ทาหน้าที่ประมวลผลและควบคุมการทางานของระบบ คอมพิวเตอร์ท้งหมด ั หน่วยแสดงผล ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลข้อมูล หน่วยเก็บข้อมูล ทาหน้าที่เก็บข้อมูลที่รอการประมวลผล และเก็บผลลัพธ์ที่ ได้จากการประมวลผลในระหว่างที่รอส่งไปยังหน่วย แสดงผล 4. การจัดการข้อมูล ซึ่งหมายถึงแฟ้ มข้อมูล 5. การประมวลผล ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน 1. การรวมบรวมข้อมูล 2. การประมวลผล 3. การดูแลรักษา
  • 3. 5 เทคโนโลยีสารสนเทศรู ปแบบต่าง ๆ 1. เทคโนโลยีระบบสารสนเทศ เป็ นระบบการจัดการสารสนเทศที่ทาหน้าที่ไม่ว่าจะเป็ น การบันทึก การแก้ไข การทารายงาน งานบัญชี งาน ลงทะเบียน ระบบสารสนเทศจะช่วยให้องค์กรมีความสะดวกรวดเร็ วในการทางานและยังช่วยเป็ น ข้อมูลในการตัดสินใจด้วย 2. เทคโนโลยีระบบเครื อข่าย เป็ นระบบเทคโนโลยีที่นิยมใช้กนมากในปัจจุบน มี ั ั ประโยชน์ ดังนี้ 1. สามารถติดต่อถึงกันได้ดวยจดหมายอิเลคทอรนิกส์ (E-mail) ้ 2. จัดเก็บข้อมูลไว้รวมในที่เดียวกัน ผูอยูห่างไกลก็สามารถดึงข้อมูลนั้นไป ้ ่ ใช้ได้อย่างรวดเร็ วไม่ตองเสียเวลาในการเดินทาง ้ 3. องค์กรประหยัดค่าใช้จ่ายงบประมาณด้านอุปกรณ์ เพราะระบบเครื่ อข่าย สามารถใช้อุปกรณ์ร่วมกันได้ 4. สามารถทางานร่ วมกันได้หรื อทางานโดยใช้เอกสารชุดเดียวกัน 3. เทคโนโลยีสานักงานอัตโนมัติ เป็ นระบบการทางานที่ใช้ระบบการเืืชื่อมโยง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สานักงาน ซึ่งมีผลทาให้ 1. พนักงานสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ทางจดหมายอิเลคทรอนิกส์ (E - mail) 2. สามารถบันทึกแฟ้ มเอกสารหรื องานพิมพ์เก็บไว้ และสามารถนามาแก้ไข ปรับปรุ งให้ดีข้ ึนได้ง่าย 3. การออกแบบงานต่าง ๆ ทาได้ง่ายสะดวกรวดเร็ วและใช้งานได้ง่าย 4. มีระบบฝากข้อความเสียง (Voice Mail) 5. การประชุมทางไกล (Vedio Teleconference) 4. เทคโนโลยีช่วนสอน CAI ได้รับความนิยมเป็ นอย่างมาก โรงเรี ยนและสถานศึกษา ก็เริ่ มมีการพัฒนาโปรแกรมบทเรี ยนสาเร็ จรู ปขึ้นมาใช้ และมีผลดีกบนักเรี ยนที่จะได้ส่ือการเรี ยนการสอนที่ทนสมัยและมีความน่าสนใจมากขึ้น ั ั การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. การนามาประยุกต์ใช้งาน จะต้องคานึงถึงผลที่จะได้รับและผลกระทบที่จะเกิดขึ้น ตามมาด้วย 2. การวางแผนที่ดี เพื่อเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เหมาะสมกับงานและเพื่อ ประโยชน์สูงสุดที่ควรจะได้รับ
  • 4. 6 3. มาตรฐานการใช้งาน ควรจะมีเจ้าหน้าที่ควมคุมดูแล ไม่ปล่อยปละละเลยหรื อใช้ ในทางที่ผด ิ 4. การลงทุน ควรคานึงถึงงบประมาณและผลประโยชน์ที่ได้รับด้วย หากประโยชน์ที่ ได้ไม่คุมค่าแก่การลงทุนก็ควรที่จะปรับแผนการเสียใหม่ ้ 5. การจัดการข้อมูล ต้องระมัดระวังไม่ให้ขอมูลซ้ าซ้อน ควรมีการแบ่งปันข้อมูล ้ เพื่อให้การทางานร่ วมกัน มีการติดต่อสร้างความสัมพันธ์กน ั 6. การรักษาความปลอดภัยของระบบ การใช้เทคโนโลยีร่วมกัน ต้องมีการดูแลให้ สิทธิแก่ผใช้ภายในขอบเขตของแต่ละคน ู้ ความสาคัญของอินเทอร์ เน็ต ปัจจุบนอินเทอร์เน็ต มีความสาคัญต่อชีวิตประจาวันของคนเรา หลายๆ ด้าน ทั้งการศึกษา พาณิ ชย์ ั ธุรกรรม วรรณกรรม และอื่นๆ ดังนี้ ด้านการศึกษา  สามารถใช้เป็ นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล ไม่ว่าจะเป็ นข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลด้านการบันเทิง ด้านการแพทย์ และอื่นๆ ที่น่าสนใจ  ระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต จะทาหน้าที่เสมือนเป็ นห้องสมุดขนาดใหญ่  นักศึกษาในมหาวิทยาลัย สามารถใช้อินเทอร์เน็ต ติดต่อกับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ เพื่อค้นหา ข้อมูลที่กาลังศึกษาอยูได้ ทั้งที่ขอมูลที่เป็ น ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ เป็ นต้น ่ ้ ด้านธุรกิจและการพาณิ ชย์  ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจทางธุรกิจ  สามารถซื้อขายสินค้า ผ่านระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต  ผูใช้ที่เป็ นบริ ษท หรื อองค์กรต่าง ๆ ก็สามารถเปิ ดให้บริ การ และสนับสนุนลูกค้าของตน ้ ั ผ่านระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตได้ เช่น การให้คาแนะนา สอบถามปัญหาต่าง ๆ ให้แก่ ลูกค้า แจกจ่ายตัวโปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) หรื อโปรแกรมแจกฟรี (Freeware) เป็ น
  • 5. 7 ต้น ด้านการบันเทิง  การพักผ่อนหย่อนใจ สันทนาการ เช่น การค้นหาวารสารต่าง ๆ ผ่านระบบเครื อข่าย อินเทอร์เน็ต ที่เรี ยกว่า Magazine Online รวมทั้งหนังสือพิมพ์และข่าวสารอื่นๆ โดยมี ภาพประกอบ ที่จอคอมพิวเตอร์เหมือนกับวารสาร ตามร้านหนังสือทัวๆ ไป ่  สามารถฟังวิทยุผานระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตได้ ่  สามารถดึงข้อมูล (Download) ภาพยนตร์ตวอย่างทั้งภาพยนตร์ใหม่ และเก่า มาดูได้ ั จากเหตุผลดังกล่าว พอจะสรุ ปได้ว่า อินเทอร์เน็ต มีความสาคัญ ในรู ปแบบ ดังนี้  การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทนสมัย ั  การติดต่อสื่อสารที่สะดวก และรวดเร็ ว  แหล่งรวบรวมข้อมูลแหล่งใหญ่ที่สุดของโลก โดยสรุ ปอินเทอร์เน็ต ได้นามาใช้เป็ นเครื่ องมือที่จาเป็ นสาหรับงานไอที ทาให้เกิดช่องทางในการ เข้าถึงข้อมูลที่รวดเร็ ว ช่วยในการตัดสินใจ และบริ หารงานทั้งระดับบุคคลและองค์กร 2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media 2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media 2.2.1 ความหมายของ Social Media Social Media คือ เครื่ องมือ หรื อเว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ต ที่นกท่องเว็บและบริ ษท ั ั ต่าง ๆ เข้าไปเพื่อทาการสื่อสาร รวบรวมข้อมูล และแม้กระทังไปร่ วมมือกันกับคนในชุมชนนั้น ๆ ่ ทางานบางสิ่งบางอย่าง โดยเมื่อเราพูดถึง Social Media เรามักจะรวมถึงเครื่ องมืออย่างเช่น  blog  podcast
  • 6. 8  เว็บประเภท Video Sharing เช่ น YouTube  เว็บประเภท Social Network เช่ น Facebook, Hi5  เว็บประเภท micro blog เช่ น Twitter  เว็บประเภทอัลบั้มรูปภาพอย่างเช่ น Flickr  เว็บ bookmark ต่าง ๆ เช่ น Digg, Stumble Upon หรือแม้กระทั่งเว็บอืน ๆ ที่คุณสามารถมีปฎิสัมพันธ์ หรือแบ่ งปันบางสิ่งบางอย่าง กับนักท่ องเว็บคน ่ อืน ๆ ได้ อย่างทันทีทันใด ่ 2.2.2 ประวัตความเป็ นมาและพัฒนาการของ Social Media ิ ปัจจุบันคนไทยมีโอกาสเข้ าถึง Internet ความเร็วสู งหรือ Broadbandได้ โดยมี การขยายตัวเพิมถึง 40เท่ าในระยะเวลาอันสั้น คงไม่ต้องสงสัยเลยว่าในอนาคตต่อจากนี้ ่ Broadband จะกลายเป็ นสิ่งสาคัญในชีวตของคนไทยอย่างหลีกเลียงไม่ได้ สถิตการใช้ งานInternet ิ ่ ิ นั้นมีการเติบโตอย่างรวดเร็วมาก โดยตลาดมีการขยายตัวสู งถึง40เท่ าโดยประมาณ การสู้ รบ ระหว่าง Digital กับ Traditionalจะต้องมาจบด้ วยความพ่ายแพ้ของยุคเก่า ประเทศไทยจะก้าว ต่อไปในโลก Digital อย่างที่เพือนบ้ านได้ เริ่มมากกว่าทศวรรษแล้วนโยบายของรัฐบาลไทยใน ่ ปัจจุบัน ในหัวข้ อที่ว่า “Creative Economy” นั้น คนไทยจะมีโอกาสสร้ างฝันให้ เป็ นจริงได้ หรือไม่ นั้น อยู่ที่การประยุกต์และผสมผสานเทคโนโลยีเข้ ากับจุดเด่ นของประเทศเพือให้ เกิดคุณค่าทาง ่ เศรษฐกิจสู งสุ ด ดังนั้นถือว่าเทคโนโลยีกเ็ ป็ นปัจจัยที่สาคัญมากสาหรับนโยบายการพัฒนาประเทศ เทคโนโลยีในการเข้ าถึงได้ มการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง การแข่ งขันเปิ ดอย่างเสรีทาให้ มเี วทีในการ ี แข่ งขันระหว่างบริษัทชั้นนา เช่ น Apple และ Google ได้ นามาสู่ Disruptive Technology เช่ น iphone4,IPAD,Android ที่มการนามาใช้ งานBroadband ด้ วยอุปกรณ์มอถือขนาดเล็กผ่าน ี ื โครงข่ าย3G มีประสิทธิภาพอย่างไม่เคยเป็ นมาก่อน ภายใต้ราคาที่เข้ าถึงได้ และกาลังมียอดขายใน ประเทศอย่างถล่มทลาย จึงเป็ น Corvergance ของTechnology ที่ระบบโครงข่ าย 3G ซึ่งกาลังจะมี ขึนทั่วประเทศประจวบกับเทคโนโลยีในการเข้ าถึง กาลังร่ วมสร้ างปรากฏการณ์ของ Broadband ที่ ้
  • 7. 9 จะเป็ น Disruptive Change แบบต้องตะลึงกัน อย่างไรก็ดี Broadband เป็ นดาบสองคม ถึงจะมี ประโยชน์ ในด้ านการสื่อสาร ธุรกิจ การศึกษา ฯลฯ จนกระทั่งเพิม GDP ให้ กบพืนที่ครอบคลุมได้ ่ ั ้ แต่อย่าลืมว่า Broadband ก็เป็ นเครื่องมือเผยแพร่ ข้อมูลข่ าวสาร ความคิด วัฒนธรรม ในรูปแบบ ของข้ อความ ภาพ เสียง และวีดิโอ ที่สามารถนาไปสู่ การสร้ างสังคมออนไลน์ หรือSocial Media เช่ น Facebook, YouTube และ Twitter ที่ไม่สามารถทาได้ ด้วยสื่อชนิดอืน ่ นอกจากนีในปัจจุบันเรากาลังเรากาลังเข้ าสู่ นวัตกรรมของ โลกจาลอง หรือVirtual World ้ ที่อาจมาในรูปแบบของ Second Life หรือเกมออนไลน์ ทั้งหมดนี้ มีอทธิพลต่อ ความคิด ิ วัฒนธรรม ซึ่งมีความสาคัญกับการหล่อหลอมแนวคิดความเป็ นไทยอยากหลีกเลียงไม่ได้ สิ่งหนึ่งที่ ่ น่ าสังเกตอีกประการคือ Social media ที่คนไทยใช้ เวลาด้ วยมากที่สุดล้วนเป็ นของต่างชาติแต่ใน สายตาบริษัทที่ควบคุมโดยต่างชาติแล้ว ตลาดในประเทศไทยไม่ใช่ ตลาดใหญ่ หรือตลาดที่สาคัญ ยัง ไม่มบริษัท,ศูนย์บริการ หรือกระทั่งพนักงานที่รับผิดชอบประเทศไทยเลย ทั้งนี้ social media ที่ ี ปราศจากความเป็ นไทยกาลังมีอทธิพลมากในสังคม จานวนชั่วโมงการใช้social mediaต่อวันมีการ ิ ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง และอาจเป็ นไปได้ ที่คุณค่าทางวัฒนธรรมของคนไทยจะถูกลบเลือนโดย อิทธิพลของต่างชาติผ่านBroadband ด้ วยเหตุผลที่ว่า สื่อยุคเก่ามีข้อบังคับการนาเสนอข่ าวที่ต้อง เป็ นประโยชน์ ต่อการเรียนรู้และความเป็ นไทย แต่สื่อทางอินเตอร์ เน็ตนั้นผู้ใช้ สามารถเลือกเข้ าชม ข้ อมูลได้ อย่างอิสระ ปราศจากข้ อจากัดที่เข้ มงวด การติดต่อสื่อสารกันในปัจจุบันนีน้ัน ้ “social media” คงเป็ นอีกคาที่หลายๆคนคุ้นหูกนใน ั ฐานะของสื่อที่เข้ ามามีบทบาทอย่างมากในประเทศไทยรวมถึงทั่วโลกด้ วยไม่ว่าจะในรูปแบบของ การติดต่อสื่อสารของบุคคล,ติดต่อประสานงานในองค์กรหรือแม้กระทั่งการเข้ ามาทาธุรกิจผ่าน ช่ องทางดังกล่าว บทบาทของSocial Media ในประเทศไทยนั้นส่ งผลกระทบต่อการดาเนินธุรกิจ ขององค์กรต่างๆด้ วย จะเห็นได้ จากการที่องค์กรต่างๆต้องมีการปรับกลยุทธ์ และการดาเนินธุรกิจ โดยมีการดึง social media เข้ าไปใช้ องค์กรเพือให้ สอดคล้องกับความเปลียนแปลงของเทคโนโลยี ่ ่ ของสังคมไทยในยุคปัจจุบัน ข้ อดีของการ Social Media,3 ในประเทศไทย
  • 8. 10 1.เป็ นการเปลียนแปลงประเทศไทยให้ ก้าวเข้ าสู่ อกขั้นของเทคโนโลยีในด้ านการ ่ ี ติดต่อสื่อสาร จะเห็นได้ ว่าในอดีตนั้นสื่อหลักที่ใช้ กนในประเทศจะเป็ นสื่อจาพวก โทรทัศน์ ,วิทยุ,สื่อ ั สิ่งพิมพ์ ซึ่งเป็ นจากการติดต่อสื่อสารแบบทางเดียว ไม่มการตอบกลับของผู้รับสื่อ เป็ นการปอน ี ้ ข้ อมูลผ่านสื่อให้ กบผู้บริโภค แต่เมือมีการนา Social Media เข้ ามาใช้ น้ัน เป็ นสื่อที่อสระในด้ านของ ั ่ ิ การให้ ข้อมูลและมีการตอบกลับในส่ วนของความคิดเห็นผ่านสื่อ(เป็ นการสื่อสารแบบ Two-way- communication) ซึ่งจะมีลกษณะเด่ นในเรื่องของการมีส่วนร่ วมเป็ นอย่างมาก ผู้เสพสื่อหรือผู้รับสื่อ ั ก็สามารถเป็ นผู้ส่งสารได้ ในเวลาเดียวกัน 2.มีการผุดขึนของธุรกิจขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ เป็ นจานวนมากผ่านการใช้ สื่อsocial ้ media ไม่ว่าจะเป็ น hi5,facebook,twitter ก็จะมีผู้เข้ ามาดาเนินธุรกิจในรูปแบบนี้ กลายเป็ นอีก ช่ องทางหนึ่งในการทาธุรกิจที่มความสะดวกสบายและง่ ายต่อการดาเนินงานนอกจากนียงประหยัด ี ้ั ต้นทุนและค่าใช้ จ่ายจานวนมาก,บริหารจัดการง่ ายในส่ วนของสินค้า จะเห็นได้ ว่ามีธุรกิจจานวนไม่ น้ อยที่ประสบความสาเร็จจากการทาธุรกิจผ่านสื่อทางอินเตอร์ เน็ต เช่ น ร้ านหนังสือ Amazon ,weloveshopping รวมถึงร้ านขนาดเล็กๆอีกมากมาย 3.เป็ นประโยชน์ ในเรื่องของการสร้ างเครือข่ ายต่างๆ ไม่ผ่านจะเป็ นในด้ านของธุรกิจ, การเมือง หรือแม้กระทั่งความชอบหรืองานอดิเรกต่างๆ จะเห็นได้ จากแฟนเพจในด้ านต่างๆที่มี จานวนมากในสื่ออินเตอร์ เน็ต ปัจจุบันนีร้านค้าหรือองค์กรธุรกิจต่างๆก็ใช้ การสร้ างเครือข่ ายเป็ นอีก ้ ช่ องทางในการให้ ข้อมูลต่างๆของบริษัท ไม่ว่าจะเป็ นรายละเอียดในส่ วนของสินค้า,โปรโมชั่นต่างๆ หรือแม้กระทั่งการรับฟังข้ อมูลความคิดเห็นของลูกค้าผ่านทางสื่อนี้เนื่องจากมีความสะดวกและ สามารถเข้ าถึงลูกค้าได้ เป็ นจานวนมาก 4.เครือข่ าย 3G ถูกพัฒนาเพือตอบสนองการใช้ งานด้ านข้ อมูลเป็ นหลัก เช่ นการรับ-ส่ งไฟล์ ่ เพลง, วีดีโอ, รูปภาพ, การดาวน์ โหลดคอนเท้นต์, การเชื่อมต่ออินเตอร์ เน็ต, การใช้ บริการเสริม เป็ น ต้น สามารถส่ งเพลง MP3 หรือไฟล์วดีโอ ได้ ในเวลาที่รวดเร็ว ในขณะที่เครือข่ าย GPRS / EDGE ที่ ี ใช้ กนอยู่ในปัจจุบันจะใช้ เวลานานมากๆ ดังนั้นเป็ นประโยชน์ อย่างมากสาหรับบุคคลหรือองค์กรที่ ั
  • 9. 11 เน้ นการใช้ งานอินเตอร์ เน็ตหรือใช้ งานด้ านข้ อมูลเป็ นหลักซึ่งจะเป็ นการช่ วยลดเวลาในการ ดาเนินงานรวมถึงเพิมประสิทธิภาพในด้ านการดาเนินงานและการจัดเก็บข้ อมูลได้ เป็ นอย่างดี ่ ข้ อเสียของการ Social Media,3 ในประเทศไทย 1.การเข้ ามาของสื่อในประเทศไทยนั้นรุนแรงและน่ ากลัวของอาชญากรรมผ่านสื่อทางนีมี ้ มาก เนื่องจากว่าการให้ ข้อมูลผ่านสื่อไม่มเี งื่อนไขหรือข้ อจากัดที่เข้ มงวดทาให้ เกิดการก่อ อาชญากรรมผ่านการให้ ข้อมูล เช่ น การล้วงความลับข้ อมูลต่างๆรวมถึงการให้ ข้อมูลเท็จเพือ ่ หลอกลวงผู้เสพสื่อ ตัวอย่างเช่ น ธุรกิจสถาบันการเงินมีการใช้ สื่อทางSocial media เพือให้ เกิดความ ่ สะดวกแก่ลกค้าในด้ านการทาธุรกรรมต่างๆทางการเงิน โดยเพียงแค่ใส่ ข้อมูลส่ วนตัวเข้ าไป ลูกค้าก็ ู สามารถทีจะทาธุรกรรมทางการเงินได้ โดยไม่ต้องเดินทางไปยังธนาคารเอง กลับก่อให้ เกิดการ ขโมยข้ อมูลเมือมีกลุ่มที่สร้ างเว็บไซด์ ลวงขึนมาเพือให้ คนใช้ บริการเกิดความเข้ าใจผิด และเมือใส่ ่ ้ ่ ่ ข้ อมูลส่ วนตัวหรือรหัสต่างๆเข้ าไปในระบบ ทาให้ กลุ่มผู้ไม่หวังดีดังกล่าวสามารถเข้ าถึงข้ อมูลของ ผู้ใช้ บริการได้ 2.การใช้ งานด้ าน Social media ในประเทศไทยนั้น ยังเป็ นแค่กลุ่มใช้ งาน แต่ไม่มี ความสามารถในการแข่ งขันได้ ถึงแม้ว่าจานวนผู้ใช้ งานในประเทศไทยนั้นมีเป็ นจานวนมาก แต่เรา ไม่สามารถปฏิเสธได้ ว่าการเข้ าใช้ งานสื่อทางนีมคนจานวนไม่น้อยที่เข้ าใช้ งานเนื่องจากเพือให้ ตาม ้ ี ่ เทรนด์ ของสังคมในยุคปัจจุบันหรือเพือเกาะกระแสสังคม แต่ยงขาดการพัฒนาในด้ านความรู้เพือ ่ ั ่ สร้ างสื่อบริการท้ องถิ่นภายในประเทศเพือแข่ งขันกับสื่อsocial mediaของต่างประเทศ และเมือ ่ ่ เทียบกับประเทศอืนๆนั้น จะเห็นได้ ว่าประเทศอืนๆมี Social network ท้ องถิ่นที่มประสิทธิภาพสู ง ่ ่ ี ไม่ว่าจะเป็ น QQของประเทศจีน,Cyworldของประเทศเกาหลี,Mixiของประเทศญี่ปุ่น ก็ล้วน แล้วแต่เป็ นอันดับหนึ่งในประเทศของตน แม้กระทั่งในประเทศอินเดียและอินโดนีเซียก็ยงมี ั Mobile Social Network ชื่อ Mig33 ซึ่งมีการส่ งข้ อความภายในประเทศเป็ นสองเท่ าของจานวน ทวีทของ Twitter รวมกันทั้งโลก แต่เมือย้อนกลับมามองที่ประเทศไทยซึ่งกาลังมีการผันกระแสจากการใช้ งาน Hi5 เป็ นการใช้ งาน ่ Facebookและtwitterนั้นโดยมองไม่เห็นเงาของการบริการท้ องถิ่นภายในประเทศเลยนอกจากนี้
  • 10. 12 การลงทุนในเรื่องของของเทคโนโลยีต่างๆ เช่ น บริษัทยักษ์ ใหญ่ อย่างIBM เข้ ามาสร้ าง Innovation centre ในประเทศเวียดนาม หรือแม้กระทั่งการที่ Google.org เลือกประเทศกัมพูชาเป็ น regional centre โดยมองข้ ามประเทศไทย สาเหตุหลักนั่นก็คอความพร้ อมในด้ านการศึกษาและพัฒนา ื ประเทศไทยมีการใช้ งานระบบต่างๆอย่างแพร่ หลายแต่กลับไม่มความมุ่งมันในการพัฒนาระบบ ี ่ เพือให้ ระบบท้ องถิ่นสามารถต่อสู้ กบสื่อต่างประเทศที่เข้ ามามีอทธิพลของประเทศไทยได้ ่ ั ิ อนาคตของประเทศไทยหากจะประสบความสาเร็จในโลกของธุรกิจของ Social Mediaนั้น ควรมุ่งที่จะพัฒนาในเรื่องของความสามารถในการแข่ งขันและปลูกฝังในเรื่องของค่านิยมต่างๆ ภายในประเทศมากกว่าการเพิมจานวนผู้เข้ าถึงการใช้ งานในสื่อทางนีหากมีการมุ่งมันและพัฒนา ่ ้ ่ อย่างจริงจัง เชื่อได้ แน่ นอนว่าประเทศไทยกับการผสมผสานระหว่างนโยบาย creative economy ของรัฐบาลกับการพัฒนาสื่อที่มบทบาทและทันสมัยอย่าง Social media จะทาให้ ประเทศไทยก้าว ี เข้ าไปสู่ การแข่ งขันกับประเทศเพือนบ้ านหรือแม้กระทั่งบนเวทีโลกได้ อย่างสมบูรณ์ ่ 2.2.3 ประเภทเว็บไซต์ที่ให้ บริการ Social Media myFri3nd มีรูปแบบคล้ายเว็บ Social Network ทั่วไป เป็ นเว็บไซต์ในเครือ sanook.com D-Looks เว็บไซต์ Social Network แนว ๆ hi5 แต่มสโลแกนว่า เว็บไซต์ดูดี สาหรับคนดี ๆ ี BangkokSpace เป็ น Social Network สาหรับคนชอบเที่ยวกลางคืน Blogging exteen เว็บผู้ให้ บริการ blog อันดับหนึ่งของไทย สู สีเบียดกับ bloggang อยู่ตลอด แต่หลัง ๆ ดู เหมือนยอดสมาชิกจะแซงแล้ว ตัวระบบ exteen เองพัฒนาได้ ดี BlogGang ผู้ให้ บริการพืนที่ blog ในเครือ pantip.com ซึ่งสมาชิกส่ วนใหญ่ จะเป็ นแฟนคลับ หรือ ้ ขาประจาของ pantip.com อยู่แล้ว Micro Blogging
  • 11. 13 NokNok เว็บแบบเดียวกับ twitter แต่พฒนาโดยคนไทย (ในเครือ sanook.com เช่ นกัน) แต่ดูมี ั แนวโน้ มการพัฒนาที่ดี ไม่ว่าจะเป็ นการเชื่อมให้ อพเดทกับ twitter ได้ หรือการอัพเดท noknok ั ผ่านมือถือเป็ นต้น Social Bookmarking Zickr เว็บ social bookmark อันดับหนึ่งของไทย คนใช้ กนเพียบ เป็ นที่รวมข้ อมูลบทความทันสมัย ั ที่มคนมาช่ วยกันใส่ เรื่องใหม่ ทุกวัน ี Duocore เว็บที่รายงานข่ าวเกียวกับวงการไอทีไทย ในรูปแบบวีดีโอ โดยใช้ ระบบSocial Bookmark ่ มาให้ ผ้ชม ช่ วยกันส่ งเรื่องราวไอทีที่น่าสนใจเข้ ามา ในแต่ละสัปดาห์ จะมีการเลือกเรื่องราวที่ ู น่ าสนใจ ไปทารายการเป็ นรูปแบบวีดีโอ Siam Collective เว็บ Social Bookmark อีกแห่ งหนึ่งของไทย iam in Thai Social Bookmark ของไทยที่เก็บรวบรวมงานอีเว้นต์ และเทศกาลสาคัญ Techkr เว็บ Social Bookmark ที่เก็บแต่เรื่องราวเทคโนโลยี Fwdder.com เว็บที่ให้ คุณสามารถ forward email ต่าง ๆ ที่ได้ รับมาจากคนอืน แล้วนามาขึนแสดง ่ ้ ในเว็บไซต์ได้ ทันที เรียกได้ ว่าเป็ นเว็บไซต์ที่รวมพวก forward email ไว้ให้ อ่านกันนั่นเอง 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog) บล็อก (blog) เป็ นคารวมมาจากคาว่า เว็บบล็อก (weblog) เป็ นรูปแบบ เว็บไซต์ประเภทหนึ่ง ซึ่งถูกเขียนขึนในลาดับที่เรียงตามเวลาในการเขียนซึ่งจะแสดงข้ อมูลที่เขียน ้ ล่าสุ ดไว้แรกสุ ด บล็อกโดยปกติจะประกอบด้ วย ข้ อความ ภาพลิงก์ ซึ่งบางครั้งจะรวมสื่อต่างๆ ไม่ ว่า เพลง หรือวิดีโอในหลายรูปแบบได้ จุดที่แตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคอ บล็อกจะเปิ ด ื ให้ ผู้เข้ ามาอ่านข้ อมูล สามารถแสดงความคิดเห็นต่อท้ ายข้ อความที่เจ้าของบล็อกเป็ นคนเขียนซึ่งทา
  • 12. 14 ให้ ผู้เขียนสามารถได้ ผลตอบกลับโดยทันที คาว่า "บล็อก"ยังใช้ เป็ นคากริยาได้ ซึ่งหมายถึง การ เขียนบล็อก และนอกจากนีผู้ที่เขียนบล็อกเป็ นอาชีพก็จะถูกเรียกว่า "บล็อกเกอร์ " ้ บล็อกเป็ นเว็บไซต์ที่มเี นือหาหลากหลายขึนอยู่กบเจ้าของบล็อกโดยสามารถใช้ เป็ น ้ ้ ั เครื่องมือสื่อสาร การประกาศข่ าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ ผลงาน ในหลายด้ านไม่ ว่า อาหาร การเมือง เทคโนโลยี หรือข่ าวปัจจุบัน นอกจากนีบล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่องส่ วนตัวหรือ ้ จะเรียกว่าไดอารีออนไลน์ ซึ่งไดอารีออนไลน์ นี่เองเป็ นจุดเริ่มต้นของการใช้ บล็อกในปัจจุบน ั นอกจากนีตามบริษัทเอกชนหลายแห่ งได้ มการจัดทาบล็อกของทางบริษัทขึนเพือเสนอแนว ้ ี ้ ่ ความเห็นใหม่ให้ กบลูกค้า โดยมีการเขียนบล็อกออกมาในลักษณะเดียวกับข่ าวสั้น และได้ รับการ ั ตอบรับจากทางลูกค้าที่แสดงความเห็นตอบกลับเข้ าไปเพือพัฒนาผลิตภัณฑ์ ่ เว็บค้นหาบล็อกเทคโนโลยี ได้ อ้างไว้ว่าปัจจุบันในอินเทอร์ เน็ต มีบล็อกมากกว่า112 ล้าน บล็อกทั่วโลก web blog คือ หลายคนก็ได้ ให้ ความหมายสั้นๆว่าเป็ นการบันทึกบทความของตนเอง (Personal Journal) โดยเนือหาของ blog นั้นจะครอบคลุมได้ ทุกเรื่อง ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องราวส่ วนตัว ้ หรือเป็ นบทความเฉพาะด้ านต่างๆ บล็อก คือ สื่อใหม่ (New Media) เป็ นปรากฏการณ์ที่เปลียนรูปแบบการสื่อสารในอดีตอย่าง ่ สิ้นเชิง คนเขียนบล็อก สามารถทาหน้ าที่เป็ นสื่อด้ วยตัวเอง ไม่ต้องพึงสื่อสารมวลชน เขาสามารถ ่ สื่อสารกันเองในกลุ่มเล็กๆ หรือกลุ่มใหญ่ กได้ ถ้ าเรื่องไหน เป็ นที่ถูกใจของชาวบล็อก ชาวเน็ต คนๆ ็ นั้น อาจจะดังได้ เพียงชั่วข้ ามคืน โดยไม่จาเป็ นต้องอาศัยสื่อหลักช่ วยเลย จากที่ยกตัวอย่างความหมายของคาว่า "บล็อก" มาพอสังเขปจากหลากหลายแนวคิดแล้วนั้น ใน ส่ วนตัวแล้วเห็นก็เห็นด้ วยกับคานิยาม หรือความหมายของBlog ทั้งหมด แต่โดยส่ วนตัวนั้นอาจจะ เพิมเติมในส่ วนของบล็อก นั้นเป็ นเสมือนเว็บไซต์สาเร็จรูป ที่มระบบจัดการต่างๆ ได้ มากมาย ่ ี เหมาะสมกับผู้ที่ไม่สามารถพัฒนาเว็บไซต์ได้ เอง และ บล็อก ก็ไม่จากัดความสามารถในการพัฒนา ต่อไป แบบไม่มสิ้นสุ ด ซึ่งมีท้ังแบบฟรี แบบเสียค่าใช้ จ่าย หรือแบบเขียนบล็อก เองหรือ สร้ างmuli ี blog หรืออืนๆ อีกมากมาย ่
  • 13. 15 ซึ่งจากนิยามความหมายของคาว่า บล็อกคืออะไรนั้นคงไม่จากัดเฉพาะแนวคิดใด แนวคิดถึง ซึ่งก็ยง ั มีนิยามต่างๆ ในแต่ละมุมของแต่ละบุคคลแตกต่างกันไป 2.3.2 ประเภทของเว็บบล็อก แบ่ งบล็อกออกได้ ดังต่อไปนี้ 1. แบ่ งตามลักษณะของมีเดียที่มในบล็อก ได้ แก่ ี 1.1. Linklog บล็อกแบบนีน่าจะเป็ นบล็อกรุ่นแรก ๆ ้ 1.2 Photoblog บล็อกประเภทนีเ้ น้ นในโพสต์ภาพถ่ าย และมักจะไม่เน้ นที่จะเขียน ข้ อความมากนัก 1.3. Vlog ย่อมาจาก Videoblog เป็ นบล็อกที่รวมวิดีโอคลิปไว้ในบล็อก Vlog เป็ น บล็อกที่เรียกได้ ว่าเป็ นบล็อกที่นิยมทากันมากในอนาคตเพราะการเจริญเติบโตของไฮสปี ด อินเตอร์ เน็ต หรือ อินเตอร์ เน็ตบอร์ ดแบนด์ ที่ทาให้ การถ่ ายทอดเสียง ภาพเคลือนไหว movie […] ่ 2. แบ่ งตามประเภทเนือหา ได้ แก่ ้ 2.1 บล็อกส่ วนตัว (Personal Blog) นาแสนอความคิดเห็น กิจวัตรประจาวัน 2.2 บล็อกข่ าว (News Blog) บล็อกที่นาเสนอข่ าว 2.3 บล็อกกลุ่ม (Collaborative Blog) เป็ นบล็อกที่เขียนกันเป็ นกลุ่ม 2.4 บล็อกการเมือง (Politic Blog) ว่าด้ วยเรื่องการเมืองล้วน ๆ 2.5 บล็อกเพือสิ่งแวดล้อม (Environment Blog) พูดถึงเรื่องราวของธรรมชาติและ ่ การรักษาสิ่งแวดล้อม 2.6 มีเดียบล็อก (Media Blog) เป็ นบล็อกที่วเิ คราะห์ สื่อต่างๆ สารคดีและสิ่งที่ เกียวกับสื่อ ่
  • 14. 16 2.7 บล็อกบันเทิง (Entertainment Blog) บล็อกที่นาเสนอเรื่องราวบันเทิงทั้งทาง จอแก้ว และจอเงิน 2.8 บล็อกเพือการศึกษา (Educational Blog) ในโรงเรียน หรือมหาวิทยาลัยใน ่ ต่างประเทศมักจะใช้ บล็อกเป็ นสื่อในการสอนหรือ แลกเปลียนความคิดกัน ่ 2.9 ติวเตอร์ บล็อก (Tutorial Blog) เป็ นบล็อกที่นาเสนอวิธีการต่าง 2.3.3 เว็บไซต์ที่ให้ บริการเว็บบล็อก www.blogger.com www.exteen.com www.mapandy.com www.buddythai.com www.imigg.com www.5iam.com www.blogprathai.com www.ndesignsblog.com www.idatablog.com www.inewblog.com www.onblogme.com www.freeseoblogs.com www.sumhua.com
  • 15. 17 www.diaryi.net www.istoreblog.com www.skypream.com www.thailandspace.com www.sungson.com www.gujaba.com www.sabuyblog.com www.ugetblog.com www.jaideespace.com www.maxsiteth.com www.my2blog.com 2.3.4 ประวัตของเว็บไซต์ Wordpress ิ Word Press คือ โปรแกรมสาเร็จรูปตัวหนึ่ง ที่เอาไว้สาหรับสร้ าง บล็อก หรือ เว็บไซต์ สามารถใช้ งานได้ ฟรี ถูกจัดอยู่ในประเภท CMS (Contents Management System) ซึ่งหมายถึง โปรแกรมสาเร็จรูปที่มไว้สาหรับสร้ างและบริหารจัดการเนือหาและข้ อมูลบนเว็บไซต์ ี ้ Word Press ได้ รับการพัฒนาและเขียนชุดคาสั่งมาจากภาษา PHP (เป็ นภาษาโปรแกรมมิง ่ ตัวหนึ่ง) ทางานบนฐานข้ อมูล MySQL ซึ่งเป็ นโปรแกรมสาหรับจัดการฐานข้ อมูล มีหน้ าที่เก็บ เรียกดู แก้ไข เพิมและลบข้ อมูล การใช้ งาน Word Press ร่ วมกับ MySQL อยู่ภายใต้สัญญาอนุญาต ่ ใช้ งานแบบ GNU General Public License
  • 16. 18 Word Press ปรากฏโฉมครั้งแรกในโลกเมือปี พ.ศ. 2546 (2003) เป็ นความร่ วมมือกัน ่ ระหว่าง Matt Mullenweg และ Mike Littlej มีเว็บไซต์หลักอยู่ที่ http://wordpress.org และยังมี บริการ Free Hosting (พืนที่สาหรับเก็บทุกอย่างของเว็บ/บล็อก) โดยขอใช้ บริการได้ ที่ ้ http://wordpress.com ปัจจุบันนี้ Word Press ได้ รับความนิยมเพิมขึนอย่างรวดเร็ว จนมีผู้ใช้ งานมากกว่า 200 ่ ้ ล้านเว็บบล็อกไปแล้ว แซงหน้ า CMS ตัวอืน ๆ ไม่ว่าจะเป็ น Drupal , Mambo และ Joomla สาเหตุ ่ เป็ นเพราะ ใช้ งานง่ าย ไม่จาเป็ นต้องมีความรู้ในเรื่อง Programing มีรูปแบบที่สวยงาม อีกทั้งยังมี ผู้พฒนา Theme (รูปแบบการแสดงผล) และ Plugins (โปรแกรมเสริม) ให้ เลือกใช้ ฟรีอย่างมากมาย ั นอกจากนี้ สาหรับนักพัฒนา Word Press ยังมี Codex เอาไว้ให้ เราได้ เป็ นไกด์ ไลน์ เพือ ่ ศึกษาองค์ประกอบส่ วนต่าง ๆ ที่อยู่ภายใน สาหรับพัฒนาต่อยอด หรือ นาไปสร้ างTheme และ Plugins ขึนมาเองได้ อกด้ วย หนาซ้า ยังมีรุ่นพิเศษ คือ Word Press MU สาหรับไว้ให้ ผู้นาไปใช้ ้ ี สามารถเปิ ดให้ บริการพืนที่ทาเว็บบล็อกเป็ นของตนเอง เพือให้ ผู้อนมาสมัครขอร่ วมใช้ บริการในการ ้ ่ ื่ สร้ างเว็บบล็อก ภายใต้ชื่อโดเมนของเขา หรือที่เรียกว่า Sub-Domain