SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 4
Descargar para leer sin conexión
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
ฟังก์ชันลอการิทึม
สมบัติที่สาคัญของลอการิทึม
เมื่อ a , M , N เป็นจานวนจริงบวกที่ 1a และ k เป็นจานวนจริง
1. 1log aa 2. 01log a 3. NMMN aaa logloglog 
4. NM
N
M
aaa logloglog  5. MkM a
k
a loglog  6.
N
M
M
a
a
N
log
log
log 
7. NN
N
a
a
a loglog
1
log 1  8.
a
b
b
a
log
1
log  9. Ma Ma
log
10. M
k
M aak log
1
log 
บทนิยาม ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล คือ ฟังก์ชัน
ข้อสังเกต 1. ฐานของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ต้องเป็นจานวนจริงบวกและไม่เท่ากับ 1
2.
พิจารณา เมื่อ x เป็นจานวนจริงใด ๆ ถ้า จะได้
ซึ่งเป็นฟังก์ชันคงที่ จึงไม่ใช่ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทนิยาม ฟังก์ชันลอการิทึม คือ
ซึ่งเป็นฟังก์ชันผกผันของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
ข้อสังเกต ความสัมพันธ์ระหว่าง x กับ y ที่เขียนในรูป เขียนในรูปลอการิทึม
ได้ เช่น เขียนในรูปลอการิทึม ได้
เขียนในรูปลอการิทึม ได้
ลอการิทึมสามัญและลอการิทึมธรรมชาติ
ฟังก์ชันลอการิทึมที่สาคัญมีอยู่ 2 ชนิด คือ ลอการิทึมฐานสิบ หรือลอการิทึมสามัญ กับ
ลอการิทึมฐาน e หรือลอการิทึมธรรมชาติ
ลอการิทึมสามัญ
ลอการิทึมสามัญ คือลอการิทึมที่มีฐานเท่ากับ 10 และนิยมเขียนลอการิทึมสามัญโดยไม่ต้องมี
ฐานกากับไว้ เช่น 5log10 เขียนแทนด้วย 5log , N10log เขียนแทนด้วย Nlog , 
RN
การหาค่าลอการิทึมสามัญของจานวนจริงบวก N โดยที่ 101  N
โดยใช้ตารางลอการิทึม สิ่งที่ควรทราบจากตาราง
1. ค่าลอการิทึมที่ปรากฏในตารางเป็นค่าประมาณที่อยู่ในรูปทศนิยม 4 ตาแหน่ง
2. ตารางลอการิทึมที่กาหนดให้ จะแสดงค่าลอการิทึมสามัญของจานวน (N) ที่มีทศนิยม 2 ตาแหน่งและมี
ขอบเขตตั้งแต่ 1.00 – 9.99 เท่านั้น
3. แสดงว่าเราสามารถหาค่าลอการิทึมสามัญของจานวน (N) ที่มีทศนิยม 2 ตาแหน่ง และมีขอบเขตตั้งแต่
1.00 – 9.99 จากตารางได้ทันที เช่น 34.1log = …………………
4. ถ้าเราต้องการหาค่าลอการิทึมสามัญของจานวน (N) ที่มีทศนิยมมากกว่า 2 ตาแหน่ง และมีขอบเขตตั้งแต่
1.00 – 9.99 จะหาจากตารางโดยตรงไม่ได้ เช่น N = 1.437 จะพบว่า 1.43 < 1.437 < 1.44
การหาค่าลอการิทึมสามัญของจานวนจริงบวกใด ๆ
กาหนดให้ x เป็นจานวนจริงบวกเราสามารถหาค่า xlog ได้โดย เขียน x ให้อยู่ในรูป
n
Nx 10 เมื่อ 101  N และ n เป็นจานวนเต็ม
หลังจากที่เราเขียนจานวนจริงบวก x ให้อยู่ในรููป n
N 10 เมื่อ 101  N และ n เป็นจานวน
เต็มแล้วการหาค่า xlog สามารถทาได้โดยอาศัยคุณสมบัติของลอการิทึม ดังนี้
x = n
N 10
xlog =  n
N 10log 
= n
N 10loglog 
นั่นคือ xlog = nN log
ซึ่งเราเรียกค่าของ Nlog ว่า แมนทิสซา ( mantissa ) ของ xlog
และเรียกจานวนเต็ม n ว่า แคแรกเทอริสติก ( characteristic ) ของ xlog
แอนติลอการิทึม เป็นการดาเนินการที่ตรงข้ามกับการหาค่าลอการิทึม กล่าวคือ
แทนที่จะกาหนดค่า x แล้วให้หาค่า xlog แต่กลับกาหนดค่า xlog แล้วให้หาค่า x แทน ซึ่งจานวนจริง x
ที่ได้เราเรียกว่า แอนติลอการิทึม ของ xlog เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ antilog ( xlog )
เมื่อกาหนดค่า xlog เรามีวิธีการหาค่า x ได้ดังนี้
1. เขียน xlog ให้เป็นผลบวกของแมนทิสซา และแคเรกเทอริสติกของ xlog ดังนี้ xlog = Nlog + n
2. ใช้ตารางลอการิทึมสามัญหาจานวนจริง N ที่ทาให้ N = M ดังนี้
xlog = Nlog + n
= n
N 10loglog 
xlog =  n
N 10log  เพราะฉะนั้น n
Nx 10
ลอการิทึมธรรมชาติ
ลอการิทึมธรรมชาติ หมายถึง ลอการิทึมที่มีฐานเป็น e โดยที่ e เป็นสัญลักษณ์แทน
จานวนอตรรกยะจานวนหนึ่งซึ่งมีค่าประมาณ 2.7182818 ( โดยประมาณ ) และนิยมเขียน ln x แทน xelog
การหาค่า ln x เมื่อ x เป็นจานวนจริงบวก หาได้โดยอาศัยลอการิทึมสามัญ ดังนี้
ln x = xelog
ln x =
e
x
log
log
( แต่ 4343.0718.2loglog e )
ดังนั้น ln x =
4343.0
log x
=   xlog3026.2
สมการเอกซ์โพเนนเชียล และสมการลอการิทึม
สมการเอกซ์โพเนนเชียล
สมการเอกซ์โพเนนเชียล คือ สมการที่มีตัวแปรเป็นเลขชี้กาลัง ถ้าทั้งสองข้างของสมการ
สามารถทาให้ฐานของเลขยกกาลังเท่ากันได้ก็จะแก้สมการเพื่อหาคาตอบได้ ซึ่งอาศัยสมบัติของฟังก์ชัน
เอกซ์โพเนนเชียล โดยเฉพาะสมบัติความเป็นฟังก์ชัน 1 – 1 ช่วยในการแก้สมการ
สมการลอการิทึม
สมการลอการิทึม คือ สมการที่มีลอการิทึมของตัวแปร การแก้สมการเพื่อหาคาตอบของสมการ
ลอการิทึมทาได้โดยการกาจัดลอการิทึม ซึ่งอาศัยสมบัติต่าง ๆ ของลอการิทึม โดยเฉพาะสมบัติการเป็นฟังก์ชัน
*****************************************************
การประยุกต์ของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล และ ฟังก์ชันลอการิทึม
เป็นการนาความรู้เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล และฟังก์ชันลอการิทึมไปประยุกต์ใช้ใน
สาขาวิชาอื่น ๆ ได้แก
- การเติบโตของประชากร ณ เวลาหนึ่งในกรณีที่การเพิ่มไม่ได้เป็นไปอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา
มีสูตรดังนี้    t
rntn  10 เมื่อ n ( t ) แทน จานวนประชากรเมื่อเวลาผ่านไป t
0n แทน จานวนประชากร ณ จุดเริ่มต้น
r แทน อัตราการเติบโตของจานวนประชากรต่อเวลา
t แทน เวลา
- การสลายตัวของสารกัมมันตภาพรังสี ที่มีครึ่งชีวิตเท่ากับ h ปริมาณสารที่เหลืออยู่ มีสูตรดังนี้
  rt
emtm 
 0
เมื่อ m ( t ) แทน ปริมาณของสารกัมมันตภาพรังสีที่เหลืออยู่เมื่อเวลาผ่านไป t
0m แทน ปริมาณของสารกัมมันตภาพรังสี ณ จุดเริ่มต้น
h
r
2ln

- การวัดระดับความเข้มเสียง เป็นการวัดความเข้มเสียงโดยเทียบกับความเข้มเสียงที่หูคนปกติเริ่ม
ได้ยินเป็นเกณฑ์อ้างอิง ระดับความเข้มเสียง มีสูตรดังนี้
0
log10
I
I

เมื่อ  แทน ระดับความเข้มเสียงมีหน่วยเป็นเดซิเบล
I แทน ความเข้มเสียงที่ต้องการวัด
0I แทน ความเข้มเสียงที่หูคนปกติเริ่มได้ยิน ซึ่งเท่ากับ 12
10
วัตต์/ ตร.ม.
- ระดับความเป็น กรด – ด่าง ของสารละลาย มีสูตรดังนี้
 
 HpH log
เมื่อ pH แทน ระดับความเป็น กรด – ด่าง ของสารละลาย
 
H แทน ความเข้มข้นของประจุไฮโดรเจนในสารละลาย 1 ลิตร มีหน่วยเป็นโมล

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
Ritthinarongron School
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
นายเค ครูกาย
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
phaephae
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
ssusera0c3361
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
kroojaja
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
Arocha Chaichana
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
Aui Ounjai
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
Inmylove Nupad
 

La actualidad más candente (20)

ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้งชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
 
ใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูล
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 

Destacado

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
aass012
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
Jiraprapa Suwannajak
 
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwkแยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
คุณครูพี่อั๋น
 
เรื่องฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
เรื่องฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์เรื่องฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
เรื่องฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
guestbcc425
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
Nitikan2539
 

Destacado (20)

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
 
Expolog clipvidva
Expolog clipvidvaExpolog clipvidva
Expolog clipvidva
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
 
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwkแยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
 
เรื่องฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
เรื่องฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์เรื่องฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
เรื่องฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
 
Acid base
Acid baseAcid base
Acid base
 
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
ฟังก์ชันลอการิทึม(สมบัติของลอการิทึม)
ฟังก์ชันลอการิทึม(สมบัติของลอการิทึม)ฟังก์ชันลอการิทึม(สมบัติของลอการิทึม)
ฟังก์ชันลอการิทึม(สมบัติของลอการิทึม)
 
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
เวกเตอร์
เวกเตอร์เวกเตอร์
เวกเตอร์
 
ฟังก์ชันขั้นบันได
ฟังก์ชันขั้นบันไดฟังก์ชันขั้นบันได
ฟังก์ชันขั้นบันได
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
 
คำกลอน...สอนคณิตฯ
คำกลอน...สอนคณิตฯคำกลอน...สอนคณิตฯ
คำกลอน...สอนคณิตฯ
 
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียลฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
 

Similar a ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1

Similar a ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1 (10)

ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
7
77
7
 
Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)
 
Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลัง
 

Más de Chay Nyx

จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1
Chay Nyx
 
จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1
Chay Nyx
 
Wordpress 1 แบบทดสอบระบบจำนวนจริง
Wordpress 1 แบบทดสอบระบบจำนวนจริงWordpress 1 แบบทดสอบระบบจำนวนจริง
Wordpress 1 แบบทดสอบระบบจำนวนจริง
Chay Nyx
 
แบบทดสอบระบบจำนวนจริง
แบบทดสอบระบบจำนวนจริงแบบทดสอบระบบจำนวนจริง
แบบทดสอบระบบจำนวนจริง
Chay Nyx
 

Más de Chay Nyx (6)

จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1
 
จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1จี๊ดดดดด1
จี๊ดดดดด1
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
ตรีโกณมิต2
ตรีโกณมิต2ตรีโกณมิต2
ตรีโกณมิต2
 
Wordpress 1 แบบทดสอบระบบจำนวนจริง
Wordpress 1 แบบทดสอบระบบจำนวนจริงWordpress 1 แบบทดสอบระบบจำนวนจริง
Wordpress 1 แบบทดสอบระบบจำนวนจริง
 
แบบทดสอบระบบจำนวนจริง
แบบทดสอบระบบจำนวนจริงแบบทดสอบระบบจำนวนจริง
แบบทดสอบระบบจำนวนจริง
 

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล1

  • 1. ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ฟังก์ชันลอการิทึม สมบัติที่สาคัญของลอการิทึม เมื่อ a , M , N เป็นจานวนจริงบวกที่ 1a และ k เป็นจานวนจริง 1. 1log aa 2. 01log a 3. NMMN aaa logloglog  4. NM N M aaa logloglog  5. MkM a k a loglog  6. N M M a a N log log log  7. NN N a a a loglog 1 log 1  8. a b b a log 1 log  9. Ma Ma log 10. M k M aak log 1 log  บทนิยาม ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล คือ ฟังก์ชัน ข้อสังเกต 1. ฐานของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ต้องเป็นจานวนจริงบวกและไม่เท่ากับ 1 2. พิจารณา เมื่อ x เป็นจานวนจริงใด ๆ ถ้า จะได้ ซึ่งเป็นฟังก์ชันคงที่ จึงไม่ใช่ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล บทนิยาม ฟังก์ชันลอการิทึม คือ ซึ่งเป็นฟังก์ชันผกผันของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ข้อสังเกต ความสัมพันธ์ระหว่าง x กับ y ที่เขียนในรูป เขียนในรูปลอการิทึม ได้ เช่น เขียนในรูปลอการิทึม ได้ เขียนในรูปลอการิทึม ได้
  • 2. ลอการิทึมสามัญและลอการิทึมธรรมชาติ ฟังก์ชันลอการิทึมที่สาคัญมีอยู่ 2 ชนิด คือ ลอการิทึมฐานสิบ หรือลอการิทึมสามัญ กับ ลอการิทึมฐาน e หรือลอการิทึมธรรมชาติ ลอการิทึมสามัญ ลอการิทึมสามัญ คือลอการิทึมที่มีฐานเท่ากับ 10 และนิยมเขียนลอการิทึมสามัญโดยไม่ต้องมี ฐานกากับไว้ เช่น 5log10 เขียนแทนด้วย 5log , N10log เขียนแทนด้วย Nlog ,  RN การหาค่าลอการิทึมสามัญของจานวนจริงบวก N โดยที่ 101  N โดยใช้ตารางลอการิทึม สิ่งที่ควรทราบจากตาราง 1. ค่าลอการิทึมที่ปรากฏในตารางเป็นค่าประมาณที่อยู่ในรูปทศนิยม 4 ตาแหน่ง 2. ตารางลอการิทึมที่กาหนดให้ จะแสดงค่าลอการิทึมสามัญของจานวน (N) ที่มีทศนิยม 2 ตาแหน่งและมี ขอบเขตตั้งแต่ 1.00 – 9.99 เท่านั้น 3. แสดงว่าเราสามารถหาค่าลอการิทึมสามัญของจานวน (N) ที่มีทศนิยม 2 ตาแหน่ง และมีขอบเขตตั้งแต่ 1.00 – 9.99 จากตารางได้ทันที เช่น 34.1log = ………………… 4. ถ้าเราต้องการหาค่าลอการิทึมสามัญของจานวน (N) ที่มีทศนิยมมากกว่า 2 ตาแหน่ง และมีขอบเขตตั้งแต่ 1.00 – 9.99 จะหาจากตารางโดยตรงไม่ได้ เช่น N = 1.437 จะพบว่า 1.43 < 1.437 < 1.44 การหาค่าลอการิทึมสามัญของจานวนจริงบวกใด ๆ กาหนดให้ x เป็นจานวนจริงบวกเราสามารถหาค่า xlog ได้โดย เขียน x ให้อยู่ในรูป n Nx 10 เมื่อ 101  N และ n เป็นจานวนเต็ม หลังจากที่เราเขียนจานวนจริงบวก x ให้อยู่ในรููป n N 10 เมื่อ 101  N และ n เป็นจานวน เต็มแล้วการหาค่า xlog สามารถทาได้โดยอาศัยคุณสมบัติของลอการิทึม ดังนี้ x = n N 10 xlog =  n N 10log  = n N 10loglog  นั่นคือ xlog = nN log ซึ่งเราเรียกค่าของ Nlog ว่า แมนทิสซา ( mantissa ) ของ xlog
  • 3. และเรียกจานวนเต็ม n ว่า แคแรกเทอริสติก ( characteristic ) ของ xlog แอนติลอการิทึม เป็นการดาเนินการที่ตรงข้ามกับการหาค่าลอการิทึม กล่าวคือ แทนที่จะกาหนดค่า x แล้วให้หาค่า xlog แต่กลับกาหนดค่า xlog แล้วให้หาค่า x แทน ซึ่งจานวนจริง x ที่ได้เราเรียกว่า แอนติลอการิทึม ของ xlog เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ antilog ( xlog ) เมื่อกาหนดค่า xlog เรามีวิธีการหาค่า x ได้ดังนี้ 1. เขียน xlog ให้เป็นผลบวกของแมนทิสซา และแคเรกเทอริสติกของ xlog ดังนี้ xlog = Nlog + n 2. ใช้ตารางลอการิทึมสามัญหาจานวนจริง N ที่ทาให้ N = M ดังนี้ xlog = Nlog + n = n N 10loglog  xlog =  n N 10log  เพราะฉะนั้น n Nx 10 ลอการิทึมธรรมชาติ ลอการิทึมธรรมชาติ หมายถึง ลอการิทึมที่มีฐานเป็น e โดยที่ e เป็นสัญลักษณ์แทน จานวนอตรรกยะจานวนหนึ่งซึ่งมีค่าประมาณ 2.7182818 ( โดยประมาณ ) และนิยมเขียน ln x แทน xelog การหาค่า ln x เมื่อ x เป็นจานวนจริงบวก หาได้โดยอาศัยลอการิทึมสามัญ ดังนี้ ln x = xelog ln x = e x log log ( แต่ 4343.0718.2loglog e ) ดังนั้น ln x = 4343.0 log x =   xlog3026.2 สมการเอกซ์โพเนนเชียล และสมการลอการิทึม สมการเอกซ์โพเนนเชียล สมการเอกซ์โพเนนเชียล คือ สมการที่มีตัวแปรเป็นเลขชี้กาลัง ถ้าทั้งสองข้างของสมการ สามารถทาให้ฐานของเลขยกกาลังเท่ากันได้ก็จะแก้สมการเพื่อหาคาตอบได้ ซึ่งอาศัยสมบัติของฟังก์ชัน เอกซ์โพเนนเชียล โดยเฉพาะสมบัติความเป็นฟังก์ชัน 1 – 1 ช่วยในการแก้สมการ สมการลอการิทึม
  • 4. สมการลอการิทึม คือ สมการที่มีลอการิทึมของตัวแปร การแก้สมการเพื่อหาคาตอบของสมการ ลอการิทึมทาได้โดยการกาจัดลอการิทึม ซึ่งอาศัยสมบัติต่าง ๆ ของลอการิทึม โดยเฉพาะสมบัติการเป็นฟังก์ชัน ***************************************************** การประยุกต์ของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล และ ฟังก์ชันลอการิทึม เป็นการนาความรู้เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล และฟังก์ชันลอการิทึมไปประยุกต์ใช้ใน สาขาวิชาอื่น ๆ ได้แก - การเติบโตของประชากร ณ เวลาหนึ่งในกรณีที่การเพิ่มไม่ได้เป็นไปอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา มีสูตรดังนี้    t rntn  10 เมื่อ n ( t ) แทน จานวนประชากรเมื่อเวลาผ่านไป t 0n แทน จานวนประชากร ณ จุดเริ่มต้น r แทน อัตราการเติบโตของจานวนประชากรต่อเวลา t แทน เวลา - การสลายตัวของสารกัมมันตภาพรังสี ที่มีครึ่งชีวิตเท่ากับ h ปริมาณสารที่เหลืออยู่ มีสูตรดังนี้   rt emtm   0 เมื่อ m ( t ) แทน ปริมาณของสารกัมมันตภาพรังสีที่เหลืออยู่เมื่อเวลาผ่านไป t 0m แทน ปริมาณของสารกัมมันตภาพรังสี ณ จุดเริ่มต้น h r 2ln  - การวัดระดับความเข้มเสียง เป็นการวัดความเข้มเสียงโดยเทียบกับความเข้มเสียงที่หูคนปกติเริ่ม ได้ยินเป็นเกณฑ์อ้างอิง ระดับความเข้มเสียง มีสูตรดังนี้ 0 log10 I I  เมื่อ  แทน ระดับความเข้มเสียงมีหน่วยเป็นเดซิเบล I แทน ความเข้มเสียงที่ต้องการวัด 0I แทน ความเข้มเสียงที่หูคนปกติเริ่มได้ยิน ซึ่งเท่ากับ 12 10 วัตต์/ ตร.ม. - ระดับความเป็น กรด – ด่าง ของสารละลาย มีสูตรดังนี้    HpH log เมื่อ pH แทน ระดับความเป็น กรด – ด่าง ของสารละลาย   H แทน ความเข้มข้นของประจุไฮโดรเจนในสารละลาย 1 ลิตร มีหน่วยเป็นโมล