SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 10
Descargar para leer sin conexión
ผิวพรรณ       1




                     1. ผิวพรรณ (skin)
	       ผิวหนังที่ปกคลุมร่างกาย	 หมายถึงระบบที่ประกอบด้วยผิวหนัง	 (skin)	 และอวัยวะที่
ก�าเนิดมาจากผิวหนัง	(skin	appendages)		ซึ่งได้แก่	 ขน	ผม	เล็บ	ต่อมไขมัน	และต่อมเหงื่อ	
ผิวหนังซึ่งเป็นอวัยวะที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย	มีพื้นที่ผิวประมาณ	1.8	ตารางเมตรในผู้ชายและ
1.5	ตารางเมตรในผู้หญิง	ความหนาของผิวหนังอยู่ระหว่าง	0.5-6	มิลลิเมตร	ผิวหนังที่บางอยู่
บริเวณหนังตาและเยือแก้วหู	 ผิวหนังทีหนาอยูบริเวณฝ่ามือและฝ่าเท้า	 ผิวพรรณทีดดมสขภาพดี	
                    ่                 ่        ่                           ่ ู ี ีุ
เป็นจุดแรกของคนเราทีเป็นทีดงดูดความสนใจของผูทพบเห็น	ผิวทีมสขภาพดีจะดูเปล่งประกาย
                       ่     ่ ึ                    ้ ี่        ่ ีุ
สดใสมีเลือดฝาด	สีผิวออกชมพูระเรื่อ	ดูมีน�้ามีนวล	ดูอ่อนวัย	ผิวพรรณนอกจากจะให้ความงาม
กับร่างกายแล้วยังมีหน้าที่ป้องกันอวัยวะที่อยู่ภายในร่างกายของเราดังนี้
2   แต่งหน้าพัฒนาบุคลิก

                           หน้าที่และความสำาคัญของผิวหนัง
                          1. การปองกัน (protection)
                          	       ผิวหนังช่วยป้องกันอันตรายจากรังสีอลตราไวโอเลต
                                                                    ั
                          และความร้อนไม่ให้ผานเข้าสูรางกายมากเกินไป	และช่วย
                                               ่        ่่
                          ป้องกันไม่ให้มการระเหยของน�าออกจากร่างกายมากเกิน
                                         ี                 ้
                          ไป	 นอกจากนี้	 ผิวหนังยังเป็นด่านป้องกันเชื้อโรคชนิด
                          ต่างๆ	ไม่ให้ผ่านเข้าสู่ร่างกายอีกด้วย

                          2. การรับความรู้สึก (sensation)
                          	      ผิวหนังประกอบด้วยอวัยวะรับความรูสกมากมาย
                                                                     ้ึ
                          หลายชนิด	 เช่น	 อวัยวะรับความรู้สึกเกี่ยวกับการสัมผัส	
                          (touch),	ความเจ็บปวด	(pain),	ความร้อน-เย็น	(tem-
                          perature)

                          3. ควบคุมอุณหภูมของร่างกาย (thermoregulator)
                                                 ิ
                                    โดยการท�างานของต่อมเหงื่อกลุ่มร่างแหของ
                          หลอดเลือดฝอยและไขมันที่อยู่ในชั้นใต้ผิวหนัง	 ท�าให้
                          อุ ณ หภู มิ ข องร่ า งกายคงที่ ไ ม่ เ ปลี่ ย นแปลงตามสภาพ
                          แวดล้อม

                          4. ควบคุมเมแทบอลิซม (metabolism) ของร่างกาย
                                                ึ
                          	       โดยเป็นแหล่งเก็บสะสมพลังงานไว้ในรูปของชั้น
                          ไขมันใต้ผิวหนัง	 และเซลล์ในชั้นหนังก�าพร้ายังช่วยสร้าง
                          วิตามินดีให้กับร่างกายอีกด้วย

                          5. ความสวยงาม (beauty appearance)
                          	        มนุษย์เราในสังคมต้องมีการอยู่ร่วมกัน	 ความ
                          สวยงามของผิวพรรณย่อมมีส่วนท�าให้มนุษย์เรามีความ
                          ประทับใจซึ่งกันและกันเป็นอีกจุดหนึ่งที่ท�าให้มนุษย์เรา
                          อยู่ด้วยกันเข้าใจกันอย่างมีความสุข
ผิวพรรณ       3

       โครงสร้างของผิวหนัง
	        ผิวหนังมีสวนประกอบหลายชัน	หากเราดูดวยกล้องจุลทรรศน์จะพบว่าผิวหนังประกอบด้วย
                    ่               ้           ้
เซลล์เล็กๆ	มากมายซึ่งประกอบด้วยเนื้อเยื่อ		2	ชั้น	คือ
1. หนังกำาพร้า (epidermis)	เป็นผิวหนังที่อยู่ชั้นนอกสุดของผิวหนัง	ประกอบด้วยเซลล์เล็กๆ	 	
				มากมายซ้อนกันอยู่เป็นชั้นๆ
2. หนังแท้ (dermis)	อยู่ชั้นล่าง	เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิด	dense	irregular	connective		
				tissue	ซึ่งเจริญมาจากชั้นเมโซเดิร์ม	(mesoderm)	ในระยะตัวอ่อน	
3. อวัยวะที่กำาเนิดมาจากผิวหนัง (skin appendages)	อวัยวะเหล่านี้	ได้แก่	ขน	(hair),		
				ต่อมไขมัน	(sebaceous	glands),	ต่อมเหงื่อ	(sweat	glands)	และเล็บ	(nails)




1. หนังกำาพร้า (epidermis)
         เป็นเนือเยือบุผวชนิด	stratified	squamous	epithelium	keratinized	type	หนังก�าพร้า
                ้ ่ ิ
แบ่งได้เป็น	2	ชนิด	คือ
         1.1 หนังกำาพร้าชนิดหนา (thick epidermis)	เราพบได้บริเวณฝ่ามือ	(palm)	และ
ฝ่าเท้า	(sole)
         1.2 หนังกำาพร้าชนิดบาง (thin epidermis)	พบบริเวณส่วนอืน	ๆ	ของร่างกาย	อย่าง
                                                                   ่
เช่น	ตามล�าตัว	แขน	ขา	ใบหน้า	เป็นต้น
4    แต่งหน้าพัฒนาบุคลิก

    				หนังก�าพร้าประกอบด้วยเซลล์ชนิดต่าง	ๆ	สามารถแบ่งออกเป็นชั้นย่อยๆ	ได้เป็น	4	ชั้น		เรียง
    จากชั้นล่างขึ้นมาชั้นบน	ได้แก่
              1. stratum basale (stratum geminativum)
    	         	 	 เป็นชั้นล่างสุดของหนังก�าพร้าประกอบด้วยเซลล์ทรงเหลี่ยมลูกบาศก์	 เรียกว่า	 basal	
    cell	เรียงตัวกันชั้นเดียววางตัวอยู่บน	basement	membrane	เซลล์ในชั้นนี้มีการเจริญแบ่งตัว
    มากเพื่อเพิ่มจ�านวนและเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์ในชั้นบนต่อไป
              2. stratum spinosum
    	         					ประกอบด้วยเซลล์เรียงตัวซ้อนกัน	5-10	ชัน	เซลล์มลกษณะเป็นรูปหลายเหลียม	เรียก
                                                          ้        ีั                      ่
    เซลล์ในชั้นนี้ว่า	prickle	cell	(spinous	cell)	เนื่องจากในระดับกล้องจุลทรรศน์ธรรมดาพบว่า
    ตามขอบของเซลล์มีลักษณะคล้ายหนามยื่นไปยึดกับเซลล์ข้างเคียง	เรียกส่วนที่ยึดระหว่างเซลล์นี้
    ว่า	intercellular	bridges	ซึ่งเมื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนพบว่า	intercellular	
    bridges	นี้คือ	desmosome	นั้นเอง	เซลล์ในชั้นนี้มีการเคลื่อนตัวขึ้นบนเพื่อทดแทนเซลล์ชั้นบน	
    ที่เคลื่อนขึ้นและลอกหลุดออกกลายเป็นขี้ไคล
              3. stratum granulosum
    	         			ชั้นนี้จะประกอบด้วยเซลล์ค่อนข้างแบน	ขนาดและรูปร่างไม่แน่นอน	เรียงตัวกัน	3-5	
    ชั้น	เรียกว่า	granular	cell	เนื่องจากภายในไซโทพลาซึม	(cytoplasm)	ของเซลล์บรรจุแกรนูล
    (granules)	จ�านวนมาก	เรียกว่า	keratohyalin	granules	ซึงแกรนูลเหล่านียอมติดสีดางและไม่มี	
                                                              ่             ้้           ่
    unit	membrane	ล้อมรอบ	keratohyalin		granule	เกียวข้องในกระบวนการสร้างเคราทิน	(keratin)	
                                                        ่
    หรือ	(ชันขีไคล)	นอกจากนี	เซลล์ในชันนียงสร้างแกรนูลทีเรียกว่า	membrane	coating	granules	
             ้ ้                  ้        ้ ้ั             ่
    (odland		bodies)		ซึ่งบรรจุสารที่จะปล่อยออกมานอกเซลล์เพื่อท�าหน้าที่เคลื่อนระหว่างเซลล์
    ท�าให้เซลล์ยึดติดกันได้ดี	มีประสิทธิภาพมากขึ้น	และช่วยป้องกันการเสียน�้าของเซลล์ผิวหนังด้วย
              4. stratum corneum
                   เป็นชันบนสุดของหนังก�าพร้า	ประกอบด้วยเซลล์ทมลกษณะเป็นแผ่นบางๆ	จ�านวนชัน
                         ้                                      ี่ ี ั                         ้
    ของเซลล์แตกต่างกันตั้งแต่	5-10	ชั้นจนถึงหลายร้อยชั้น	ขึ้นอยู่กับบริเวณต่าง	ๆ	ของผิวหนัง	เช่น	
    บริเวณหลังมือและเปลือกตา	stratum	corneum		จะค่อนข้างบาง	และจะหนามากบริเวณฝ่าเท้า	
    ในระดับกล้องจุลทรรศน์ธรรมดาจะเห็นเซลล์ในชั้นนี้มีลักษณะเหมือนเซลล์ตายหรือเซลล์ที่เสื่อม
    โดยเฉพาะเซลล์ที่อยู่ชั้นบนสุดนั้นองค์ประกอบอื่นๆ	 ภายในเซลล์แตกสลายไปหมด	 เรียกว่าเกิด	
    desquamation	เซลล์เหล่านีเมือลอกหลุดเป็นขีไคลจะถูกเซลล์ทอยูใต้ถดลงไปแบ่งตัวขึนมาแทนที่	
                                    ้ ่            ้                ี่ ่ ั             ้
    ซึ่งเป็นกระบวนการหนึ่งของการเกิด	keratinization	ผิวหนังที่มีชั้น	stratum	corneum	หนา	
    จะมีชั้นใสโปร่งแสงเห็นเป็นแถบสีชมพูจางอยู่บริเวณรอยต่อระหว่างชั้น	stratum	granulosum	
    และ	stratum	corneum	เรียกว่าชั้น	stratum	lucidum	ซึ่งเป็นชั้นของสารที่ถูกปล่อยออกมา
    จาก	membrane	coating	granules		(odland	bodies)	ชั้นนี้ไม่พบในหนังก�าพร้าชนิดบาง
ผิวพรรณ        5


เซลล์ของหนังกำาพร้า
เนื้อเยื่อบุผิวของหนังกำาพร้าประกอบด้วยเซลล์ 4 ชนิด ได้แก่
1. kerationocyte
	       เป็นเซลล์ที่พบมากที่สุดของหนังก�าพร้า	 เซลล์ชนิดนี้มีความสามารถในการสร้างเคราทิน	
กระบวนการทีเซลล์ในชั้น	stratum	basale		มีการแบ่งตัวและเปลี่ยนแปลงไปจนกลายเป็นเซลล์
             ่
ตายที่บรรจุเคราทิน	ในชั้น	stratum	corneum	เรียกว่า	keratinization
2. melanocyte
	        เป็นเซลล์รูปแฉกดาวท�าหน้าที่สร้างเมลานิน	 ซึ่งเป็นสารที่ท�าให้เกิดสีที่ผิวหนัง	 ผมและ
ม่านตา	เซลล์เหล่านี้ก�าเนิดมาจาก	neural	 crest	 ectoderm	 พบเมลาโนไซต์	 (melanocyte)	
กระจายแทรกระหว่าง	keratinocytes	ในชั้น	stratum	geminativum		และ	stratum	spino-
sum	นอกจากนี้ยังพบใน	hair	follicles	และเนื้อเยื่อเกี่ยวพันของหนังแท้ด้วย	เมลานินถูกสร้าง
ขึ้นใน	membrane	bound	granules	เรียกว่า	melanosome		ซึ่งจะถูกส่งออกนอกเซลล์เข้าไป
อยู่ในไซโทพลาซึมของ	keratinocytes
		       epidermal–melanin	 unit	 หมายถึง	 melanocyte	 	 หนึ่งเซลล์ที่ท�าหน้าที่สร้างสีผิว
ของผิวหนังบริเวณนั้น	จ�านวนของ	melanocyte	ต่อหน่วยพื้นที่ผิวของผิวหนังไม่มีความแตกต่าง
กันในเพศหรือเชื้อชาติ	 แต่ความแตกต่างของสีผิวในแต่ละเชื้อชาติขึ้นอยู่กับจ�านวนและชนิดของ	
melanosome		ที่บรรจุในไซโทพลาซึมของ	keratinocyte		บริเวณที่พบ	melanocyte	หนาแน่น
มากที่สุด	ได้แก่	บริเวณใบหน้าและระบบสืบพันธุ์เพศชาย
3. langerhans cell
	       เป็นเซลล์รูปแฉกดาว	 ขอบของนิวเคลียสมีลักษณะหยักลึกล้อมรอบด้วยไซโทพลาซึมที่
ใส	แยกออกจากเซลล์ของหนังก�าพร้าชนิดอื่นได้จากการที่เซลล์นี้ไม่มี		desmosome		และ	me-
lanosome	นอกจากนี้ยังพบแกรนูลทรงแท่งที่มี	 unit	membrane	ล้อมรอบเรียกว่า	Birbeck	      	
granules	ภายในไซโทพลาซึมของเซลล์ชนิดนี้อีกด้วย
	       langerhans	 cell	 เป็นเซลล์ทเกียวข้องกับระบบภูมคมกันของร่างกาย	 พบได้ทวไปในชัน
                                     ี่ ่              ิ ุ้                   ั่     ้
หนังก�าพร้า	หนังแท้	และต่อมน�้าเหลืองบริเวณใกล้เคียง
4. merkel cell
	        เป็นเซลล์ที่มีลักษณะคล้าย		keratinocyte		ซึ่งจะแยกออกจากกันได้ในระดับกล้อง
จุลทรรศน์อเล็กตรอน		นิวเคลียสของเซลล์ชนิดนีมลกษณะเป็นกลีบ	(lobulated	nucleus)	รูปร่าง
            ิ                              ้ ีั
ไม่สม�่าเสมอ	มีลักษณะส�าคัญคือ	ภายในไซโทพลาซึมของเซลล์จะพบ		electrondense,	mem-
brane–bound	 granules	 ที่เหมือนกับที่พบในเซลล์ของต่อมหมวกไต	 (adrenal	 medulla)
	        merkel	cell	พบเป็นจ�านวนมากในผิวหนังบริเวณที่มีความไวต่อความรู้สึกสัมผัสมาก	
เช่น	บริเวณปลายนิว	และมักพบ	unmyelinated	axon	ใกล้กบเซลล์เหล่านี	เข้าใจว่าเซลล์เหล่านี้
                   ้                                     ั        ้
เกี่ยวข้องกับปลายประสาทรับความรู้สึก	(sensory	receptor)
6    แต่งหน้าพัฒนาบุคลิก


    2. หนังแท้ (dermis)
             เป็นชั้นของเนื้อยึดต่อชนิด	dense	irregular	connective	tissue	อยู่ลึกถัดลงมาจากชั้น
    หนังก�าพร้า	 ตรงบริเวณรอยต่อของทั้ง	 2	 ชั้นจะมีส่วนของชั้นหนังก�าพร้าที่ยื่นลงไปในชั้นหนังแท้	
    เรียกว่า	epidermal	ridge	และเรียกส่วนของหนังแท้ที่แทรกอยู่ระหว่างหนังก�าพร้าว่า	dermal	
    papillae	ซึ่งเป็นการเพิ่มผิวสัมผัสระหว่างหนังก�าพร้ากับหนังแท้	ท�าให้ทั้ง	2	ชั้นยึดติดกันได้แข็ง
    แรงมากขึ้น
    	        หนังแท้แบ่งออกได้เป็น	2	ชั้น	คือ
    	        1.	papillary	layer	อยูชนบนประกอบด้วยส่วนของ	dermal	papillae	ทีแทรกอยูระหว่าง	
                                    ่ ั้                                            ่        ่
    epidermal	ridge	ในชันนีจะพบหลอดเลือดจ�านวนมาก	ส่วนใหญ่บรรจุอยูใน	dermal	papillae
                             ้ ้                                             ่
    	        2.	reticular	layer	ประกอบด้วยเส้นใยคอลลาเจนเรียงตัวประสานกันอย่างหยาบ	ๆ	อาจ
    พบเส้นใยอิลาสติกแทรกอยู่ด้วย	ชั้นนี้มีหลอดเลือดน้อยกว่าชั้นแรก
    	        ต่อจากชั้นหนังแท้จะเป็นชั้นของ	loose	connective	tissue	ประกอบด้วย	adipose	tis-
    sue	เรียกว่า	subcutaneous	tissue	ซึ่งไม่นับรวมเป็นชั้นของผิวหนัง

    3. อวัยวะที่กำาเนิดมาจากผิวหนัง (skin sppendages)
       3.1 cutaneous glands
    	        1.	ต่อมเหงื่อ	(sweat	glands)
    	        				เป็นต่อมชนิด	simple	coiled	tubular	gland	พบกระจายทั่วไปตามส่วนต่าง	ๆ	ของ
    ร่างกาย	ต่อมเหงื่อแบ่งออกได้เป็น	2	ชนิด	คือ
                 1.1	Eccrine	sweat	gland
    	        												เป็นต่อมเหงือชนิดทีพบได้ทวไปตามผิวของร่างกายยกเว้นบริเวณริมฝปาก	อวัยวะ
                                     ่       ่      ั่
    เพศชาย	ปุ่มกระสัน	(clitoris)	และ	labia	minora	เหงื่อที่สร้างขึ้นจากต่อมชนิดนี้มีลักษณะเป็น
    น�้าใสและถูกส่งผ่านทางท่อออกสู่ผิวหนังโดยตรง	 หน้าที่ของต่อมเหงื่อชนิดนี้เกี่ยวกับการควบคุม
    อุณหภูมิของร่างกายภายใต้การควบคุมของระบบประสาทอัตโนมัติ
    	        			1.2	Apocrine	sweat	gland
                        เป็นต่อมเหงื่อชนิดที่พบบริเวณรักแร้	(axilla),	อวัยวะสืบพันธุ์	(genitalia)	และ
    รอบ	ๆ	หัวนม	(nipple)	ต่อมชนิดนี้สร้างสารที่มีลักษณะเหนียวข้น	ขุ่นขาวคล้ายน�้านม	ไม่มีกลิ่น	
    แต่เมื่อท�าปฏิกิริยากับแบคทีเรียที่ผิวหนังจะกลายเป็นสารที่มีกลิ่น	ท่อของต่อมชนิดนี้มักเปดเข้าสู่
    โคนขน	(hair	follicle)	การท�างานของต่อมชนิดนี้ถูกควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติ	ในสัตว์
    จะพบต่อมชนิดนี้กระจายอยู่ทั่วไปตามร่างกาย	 มีความส�าคัญเกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศและการ
    แสดงอาณาเขต
ผิวพรรณ        7

	         2.	ต่อมไขมัน	(sebaceous	gland)
             ต่อมไขมันเป็นต่อมทีมความสัมพันธ์กบขน	โดยมีทอสันๆ	ไปเปดทีโคนของขนหรือผม	
                                ่ ี           ั            ่ ้             ่
ท่อที่เปดออกสู่ผิวหนังโดยตรงมักยาวกว่าต่อมไขมัน	พบได้ทั่วไปตามร่างกาย	ลักษณะโครงสร้าง
ของต่อมเป็นชนิด	 alveolar	 gland	 ไขมันที่สร้างเรียกว่า	 sebum	 เมื่อหลั่งออกมาจะเคลือบขน
และผิวหนังบริเวณนั้นป้องกันไม่ให้เปยกน้�า	 การท�างานของต่อมไขมันถูกควบคุมโดยฮอร์โมน
เพศ		ก่อนวัยรุ่นต่อมไขมันจะมีขนาดเล็กมาก	เมื่อถึงวัยรุ่นการท�างานและขนาดของต่อมไขมัน
จะเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากอิทธิพลของฮอร์โมนเพศโดยเฉพาะฮอร์โมนเพศชาย	(androgen)

3.2 ขน (hair)
         ขนก�าเนิดมาจากต่อมขน	(hair	follicles)	ซึ่งเกิดจากชั้นหนังก�าพร้าที่เว้าลึกลงไปในชั้น
หนังแท้	ส่วนโคนของต่อมขนมีลักษณะเป็นกระเปาะ	มีชั้นหนังแท้เรียกว่า	hair	papilla	เป็นแกน	
และมีชั้นหนังก�าพร้าหุ้มล้อมรอบเป็นส่วนของ	hair	matrix	รูปร่างลักษณะของต่อมขนนั้นแตก
ต่างกันไปในแต่ละบริเวณซึงท�าให้ขนทีสร้างนันมีลกษณะต่างกันด้วย	เช่น	ต่อมขนบริเวณหนังศีรษะ
                           ่          ่     ้ ั
มีลักษณะเป็นทรงกระบอกยาวตั้งตรงซึ่งสร้างผมยาว	ส่วนต่อมขนบริเวณล�าตัวมีลักษณะค่อนข้าง
สั้นและอ้วนกว่าซึ่งจะสร้างขนที่สั้นและละเอียด	เส้นบางนุ่ม
	        ขนแบ่งออกเป็น	2	ชนิด	คือ
	        1.	vellus	hair		เป็นขนละเอียด	สั้น	สีอ่อน
	        2.	terminal	hair	เป็นขนหยาบ	ยาว	สีเข้ม	
	        การเจริญเติบโตของขนเริมจากโคนของต่อมขน	(hair	follicle)		ทีมลกษณะเป็นกระเปาะ
                                   ่                                  ่ ีั
เรียกว่า		hair	bulb	โดยเซลล์ของหนังก�าพร้าตรงส่วนของ	hair	matrix	จะแบ่งตัวเพิ่มขึ้นและ
เกิดการ	keratinization	กลายเป็นขนงอกยาวออกพ้นชั้นหนังก�าพร้า
         โครงสร้างของขน ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้
         1.	Outer	cuticle	เป็นชันนอกสุด มีองค์ประกอบเป็น	hard	keratin	มีลกษณะเป็นเกล็ด
                                ้                                        ั
บาง	ๆ	
        2.	Cortex	ประกอบด้วยเซลล์แบนหลายชัน	ภายในเซลล์เหล่านีบรรจุพวก	hard	keratin	
                                                 ้                      ้
และ	pigment	granules	
        3.	 Medulla	 ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะเหมือนเซลล์ที่เสื่อม เห็นเป็นถุงน�้ามากมาย
อยู่ภายในเซลล์	 เซลล์เหล่านี้บรรจุ	 soft	keratin	สีของขนเกิดจาก	melanocytes	บริเวณ	hair	
matrix	สร้างเม็ดสีส่งไปไว้ในชั้น	cortex	และ	medulla	ของขน
	       บริเวณชั้นนอกสุดของ	 hair	 follicle	 จะมีเนื้อเยื่อเกี่ยวพันหุ้มล้อมรอบและมีกล้ามเนื้อ
เรียบเกาะจากเนื้อยึดต่อไปยัง	dermal	papillae	เรียกว่ากล้ามเนื้อ	arrector	pili		เมื่อกล้ามเนื้อ
นีหดตัวจะท�าให้ขนตังชันและผิวหนังบุมลงไปเกิดอาการทีเรียกว่าขนลุก	การท�างานของกล้ามเนือนี้
  ้                 ้                                 ่                                  ้
ถูกควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติ	(sympathetic	nervous	system)		ซึ่งจะถูกกระตุ้นด้วย
ความเย็นหรือความกลัว
8    แต่งหน้าพัฒนาบุคลิก


    3.3 เล็บ (nail)
    	         แผ่นเล็บ	(nail	plate)	เป็นแผ่น	keratin	ที่คลุมอยู่บนผิวหนังบริเวณปลายนิ้วมือและ
    นิ้วเท้า	เรียกส่วนของ	stratified	squamous	epithelium	ทีรองรับแผ่นเล็บนีวา	nail	bed		ตรง
                                                               ่               ้่
    โคนของแผ่นเล็บจะมีลักษณะเป็นรูปพระจันทร์เสี้ยว	เรียกว่า	lunula	เซลล์เนื้อเยื่อบุผิวที่อยู่ใต้
    ต่อจาก	lunula	เป็นส่วนที่ท�าหน้าที่สร้างแผ่นเล็บ	เรียกเนื้อเยื่อบุผิวบริเวณนี้ว่า	nail	matrix
    จากแผ่นเล็บจะเจริญงอกยาวไปจาก	nail	matrix	โดยค่อย	ๆ	ยื่นยาวออกไปทางปลายนิ้ว
    ส่วน	nail	bed	นั้น	ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการสร้างเล็บ	แต่มีหน้าที่รองรับแผ่นเล็บ

    ลักษณะของผิว
    ลักษณะผิวโดยทั่วไปแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท

    1.	ผิวมัน	(oily	skin)
    	        เป็นลักษณะผิวที่มีต่อมไขมันจ�านวนมากขับไขมันออกมาเกินความต้องการของผิว
    2.	ผิวแห้ง	(dry	skin)	
    	        เป็นลักษณะผิวที่ต่อมไขมันท�างานน้อย	ขับไขมันออกมาไม่เพียงพอในการหล่อเลี้ยงผิว
    3.	ผิวธรรมดา	(normal	skin)	
    	        เป็นลักษณะผิวที่มีความสมดุล	ต่อมไขมันขับไขมันพอดีกับความต้องการของผิว	ท�าให้
    ผิวอยู่ในสภาพสวยงาม
    4.	ผิวผสม	(combination	skin)
    	        เป็นลักษณะผิวที่ต่อมไขมันบนใบหน้าท�างานไม่สม�่าเสมอบริเวณรูปตัว		“ที”	บนใบหน้า
    จะมันมาก	ส่วนบริเวณข้างแก้มจะแห้ง


                                                      ผิวมัน
                                                      มีไขมันบนผิวมาก
                                                      รูขุมขนกว้าง
                                                      ผิวค่อนข้างหนา
                                                      มักจะมีสิวเสี้ยนหรือสิวหนอง
                                                      ผิวจะแลดูหยาบแต่ไม่กร้าน
                                                      ผิวจะดูตึงแต่หยาบ
ผิวพรรณ        9


                                      ผิวแห้ง
                                      ผิวจะแห้งเป็นขุย
                                      ผิวกร้าน
                                      ผิวมีรอยย่น	ฝ้า
                                      ช่วงจมูกไม่มีความมัน
                                      รูขุมขนเล็ก
                                      ผิวจะดูบางเห็นเส้นเลือด

                                           ผิวธรรมดา
                                            ผิวละเอียด
                                            รูขุมขนเล็ก
                                      ผิวไม่มัน	ไม่แห้ง
                                 ผิวจะดูเปล่งปลั่งสดใส
                                บริเวณจมูกมันเล็กน้อย



                                        ผิวผสม
                                        จะมันและแห้งเป็นหย่อม
                                        ส่วนใหญ่บริเวณจมูกจะมันมาก
                                        ด้านข้างแก้มจะแห้งเป็นขุย



	         ลักษณะผิวต่างๆ	 จะมีความสมบูรณ์ในตัวเองอยู่แล้ว	 หากเราดูแลผิวไม่ถูกต้องก็จะเกิด
ปัญหาที่ผิวได้ง่าย	ปัญหาที่เกิดคือ
          1. การไม่ระวังเรื่องความสะอาดบนใบหน้า
             คนเราโดยทั่วไปมักจะใช้มือจับใบหน้าและมือของเรานี่แหละที่จับต้องสิ่งต่างๆ	 ที่อยู่
รอบๆ	ตัวเราตลอดเวลา	มือจึงสกปรก	พอเผลอมาจับหน้า	สิ่งสกปรกที่ติดอยู่ที่มือก็เปลี่ยนมาอยู่
ที่หน้าด้วย	ดังนั้น	จึงควรฝกไม่จับต้องหรือแกะเกาใบหน้าเพราะจะท�าให้เกิดปัญหาผิวได้
          2. การไม่ทำาความสะอาดอุปกรณ์และเครื่องสำาอางที่ใช้
             ต้องหมันดูแลอุปกรณ์ของเครืองส�าอาง	ควรล้างมือให้สะอาดก่อนใช้เครืองส�าอาง	เมือ
                     ่                    ่                                  ่             ่
เปดฝากระปุกเครืองส�าอางควรกะให้พอดี	หากเหลือใช้กไม่ควรเทกลับลงในภาชนะเพราะจะท�าให้
                   ่                                ็
เครื่องส�าอางเสื่อมลงได้ง่าย
10   แต่งหน้าพัฒนาบุคลิก

                             สภาพผิวแต่ละวัย
                           ผิวอ่อนเยาว์
                           ผิวละเอียด	เปล่งปลั่ง	ซึ่งบ่งบอก
                           สุขภาพผิวดี
                           	      *	ผิวชุ่มชื้น	เนียนเรียบ
                           	      *	ผิวตึงและนุ่ม
                           	      *	การไหลเวียนโลหิตดี
                           	      *	ผิวหนังไม่หย่อนยาน



                            สภาพผิวเมื่ออายุสูงขึ้น
                            ผิวค่อนข้างแห้ง	แลเห็นความ
                            ขรุขระ
                            	      *	ผิวแห้ง
                            	      *	ผิวมีริ้วรอย
                            	      *	ผิวไม่เรียบเนียน
                            	      *	มีฝ้า



                            ผิวที่ขาดการดูแล
                            ผิวแห้ง	หยาบกร้าน
                            	       *	มีริ้วรอย
                            	       *	มีสิว
                            	       *	มีฝ้า
                            	       *	สภาพผิวไม่สมดุล

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืชWichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกพัน พัน
 
โครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชโครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชWichai Likitponrak
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557Pinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชเข็มชาติ วรนุช
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชJaratpong Moonjai
 
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิงระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิงNokko Bio
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชPinutchaya Nakchumroon
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueIssara Mo
 

La actualidad más candente (20)

Animal tissue
Animal tissueAnimal tissue
Animal tissue
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
สุข
สุขสุข
สุข
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
โครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชโครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืช
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
Cartilage
CartilageCartilage
Cartilage
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1 เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1
 
Tissue1
Tissue1Tissue1
Tissue1
 
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิงระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
พืช
พืชพืช
พืช
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
 
Movement
MovementMovement
Movement
 

Destacado

Luke Sanford " A Closer Look In How Luke Communication" 2010
Luke Sanford " A Closer Look In How Luke Communication" 2010 Luke Sanford " A Closer Look In How Luke Communication" 2010
Luke Sanford " A Closer Look In How Luke Communication" 2010 LukeFinlaySanford
 
CLU New Graduate Student Orientation
CLU New Graduate Student OrientationCLU New Graduate Student Orientation
CLU New Graduate Student Orientationcallutheran
 
The Baker Family of Cambridgeshire.
The Baker Family of Cambridgeshire.The Baker Family of Cambridgeshire.
The Baker Family of Cambridgeshire.rekab20
 
X第4章 struts2入门
X第4章  struts2入门X第4章  struts2入门
X第4章 struts2入门shmily7788
 
Rail Transportation Of Ethanol: Will There Be Enough Capacity?
Rail Transportation Of Ethanol: Will There Be Enough Capacity?Rail Transportation Of Ethanol: Will There Be Enough Capacity?
Rail Transportation Of Ethanol: Will There Be Enough Capacity?John Schmitter
 
Libros que leemos este año 3 er año
Libros que leemos este año 3 er añoLibros que leemos este año 3 er año
Libros que leemos este año 3 er añoPilar Cortés
 
Cute baby animals of all kindz
Cute baby animals of all kindzCute baby animals of all kindz
Cute baby animals of all kindzSpartaKiss
 
Summer Peak Meeting 2011
Summer Peak Meeting 2011Summer Peak Meeting 2011
Summer Peak Meeting 2011Nathan Maltba
 
company overview
company overviewcompany overview
company overviewnikumoni
 

Destacado (20)

Directory moodle folders revised by dale
Directory moodle folders   revised by daleDirectory moodle folders   revised by dale
Directory moodle folders revised by dale
 
Historia de puebla
Historia de pueblaHistoria de puebla
Historia de puebla
 
Luke Sanford " A Closer Look In How Luke Communication" 2010
Luke Sanford " A Closer Look In How Luke Communication" 2010 Luke Sanford " A Closer Look In How Luke Communication" 2010
Luke Sanford " A Closer Look In How Luke Communication" 2010
 
Lexus RX450h
Lexus RX450hLexus RX450h
Lexus RX450h
 
CLU New Graduate Student Orientation
CLU New Graduate Student OrientationCLU New Graduate Student Orientation
CLU New Graduate Student Orientation
 
The Baker Family of Cambridgeshire.
The Baker Family of Cambridgeshire.The Baker Family of Cambridgeshire.
The Baker Family of Cambridgeshire.
 
강의자료8
강의자료8강의자료8
강의자료8
 
My Resume
My ResumeMy Resume
My Resume
 
X第4章 struts2入门
X第4章  struts2入门X第4章  struts2入门
X第4章 struts2入门
 
Ciao
CiaoCiao
Ciao
 
Rail Transportation Of Ethanol: Will There Be Enough Capacity?
Rail Transportation Of Ethanol: Will There Be Enough Capacity?Rail Transportation Of Ethanol: Will There Be Enough Capacity?
Rail Transportation Of Ethanol: Will There Be Enough Capacity?
 
Libros que leemos este año 3 er año
Libros que leemos este año 3 er añoLibros que leemos este año 3 er año
Libros que leemos este año 3 er año
 
Cute baby animals of all kindz
Cute baby animals of all kindzCute baby animals of all kindz
Cute baby animals of all kindz
 
Drinking ageeeeee
Drinking ageeeeeeDrinking ageeeeee
Drinking ageeeeee
 
Summer Peak Meeting 2011
Summer Peak Meeting 2011Summer Peak Meeting 2011
Summer Peak Meeting 2011
 
Dad 3
Dad 3Dad 3
Dad 3
 
B2B seo ian miller
B2B seo ian millerB2B seo ian miller
B2B seo ian miller
 
company overview
company overviewcompany overview
company overview
 
Scout Powerpoint
Scout PowerpointScout Powerpoint
Scout Powerpoint
 
Osos en el frio
Osos en el frioOsos en el frio
Osos en el frio
 

Similar a 9789740328049

อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...kasidid20309
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.itualeksuriya
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
หลักพยาธิบ.7ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
หลักพยาธิบ.7ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายหลักพยาธิบ.7ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
หลักพยาธิบ.7ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายpop Jaturong
 
Presentation1คิมส่ง
Presentation1คิมส่งPresentation1คิมส่ง
Presentation1คิมส่งkimkim2535
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10Chok Ke
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)firstnarak
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)Thitaree Samphao
 

Similar a 9789740328049 (20)

อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
หลักพยาธิบ.7ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
หลักพยาธิบ.7ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายหลักพยาธิบ.7ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
หลักพยาธิบ.7ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
 
Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
 
Presentation1คิมส่ง
Presentation1คิมส่งPresentation1คิมส่ง
Presentation1คิมส่ง
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 10
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
เนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อเนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อ
 
B06
B06B06
B06
 
งาน1
งาน1งาน1
งาน1
 
B06
B06B06
B06
 
งาน1
งาน1งาน1
งาน1
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 

Más de Chirawat Wangka (7)

9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766
 
9789740328735
97897403287359789740328735
9789740328735
 
9789740328698
97897403286989789740328698
9789740328698
 
9789740328698
97897403286989789740328698
9789740328698
 
9789740328681
97897403286819789740328681
9789740328681
 
9789740328667
97897403286679789740328667
9789740328667
 
9789740328018
97897403280189789740328018
9789740328018
 

9789740328049

  • 1. ผิวพรรณ 1 1. ผิวพรรณ (skin) ผิวหนังที่ปกคลุมร่างกาย หมายถึงระบบที่ประกอบด้วยผิวหนัง (skin) และอวัยวะที่ ก�าเนิดมาจากผิวหนัง (skin appendages) ซึ่งได้แก่ ขน ผม เล็บ ต่อมไขมัน และต่อมเหงื่อ ผิวหนังซึ่งเป็นอวัยวะที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย มีพื้นที่ผิวประมาณ 1.8 ตารางเมตรในผู้ชายและ 1.5 ตารางเมตรในผู้หญิง ความหนาของผิวหนังอยู่ระหว่าง 0.5-6 มิลลิเมตร ผิวหนังที่บางอยู่ บริเวณหนังตาและเยือแก้วหู ผิวหนังทีหนาอยูบริเวณฝ่ามือและฝ่าเท้า ผิวพรรณทีดดมสขภาพดี ่ ่ ่ ่ ู ี ีุ เป็นจุดแรกของคนเราทีเป็นทีดงดูดความสนใจของผูทพบเห็น ผิวทีมสขภาพดีจะดูเปล่งประกาย ่ ่ ึ ้ ี่ ่ ีุ สดใสมีเลือดฝาด สีผิวออกชมพูระเรื่อ ดูมีน�้ามีนวล ดูอ่อนวัย ผิวพรรณนอกจากจะให้ความงาม กับร่างกายแล้วยังมีหน้าที่ป้องกันอวัยวะที่อยู่ภายในร่างกายของเราดังนี้
  • 2. 2 แต่งหน้าพัฒนาบุคลิก หน้าที่และความสำาคัญของผิวหนัง 1. การปองกัน (protection) ผิวหนังช่วยป้องกันอันตรายจากรังสีอลตราไวโอเลต ั และความร้อนไม่ให้ผานเข้าสูรางกายมากเกินไป และช่วย ่ ่่ ป้องกันไม่ให้มการระเหยของน�าออกจากร่างกายมากเกิน ี ้ ไป นอกจากนี้ ผิวหนังยังเป็นด่านป้องกันเชื้อโรคชนิด ต่างๆ ไม่ให้ผ่านเข้าสู่ร่างกายอีกด้วย 2. การรับความรู้สึก (sensation) ผิวหนังประกอบด้วยอวัยวะรับความรูสกมากมาย ้ึ หลายชนิด เช่น อวัยวะรับความรู้สึกเกี่ยวกับการสัมผัส (touch), ความเจ็บปวด (pain), ความร้อน-เย็น (tem- perature) 3. ควบคุมอุณหภูมของร่างกาย (thermoregulator) ิ โดยการท�างานของต่อมเหงื่อกลุ่มร่างแหของ หลอดเลือดฝอยและไขมันที่อยู่ในชั้นใต้ผิวหนัง ท�าให้ อุ ณ หภู มิ ข องร่ า งกายคงที่ ไ ม่ เ ปลี่ ย นแปลงตามสภาพ แวดล้อม 4. ควบคุมเมแทบอลิซม (metabolism) ของร่างกาย ึ โดยเป็นแหล่งเก็บสะสมพลังงานไว้ในรูปของชั้น ไขมันใต้ผิวหนัง และเซลล์ในชั้นหนังก�าพร้ายังช่วยสร้าง วิตามินดีให้กับร่างกายอีกด้วย 5. ความสวยงาม (beauty appearance) มนุษย์เราในสังคมต้องมีการอยู่ร่วมกัน ความ สวยงามของผิวพรรณย่อมมีส่วนท�าให้มนุษย์เรามีความ ประทับใจซึ่งกันและกันเป็นอีกจุดหนึ่งที่ท�าให้มนุษย์เรา อยู่ด้วยกันเข้าใจกันอย่างมีความสุข
  • 3. ผิวพรรณ 3 โครงสร้างของผิวหนัง ผิวหนังมีสวนประกอบหลายชัน หากเราดูดวยกล้องจุลทรรศน์จะพบว่าผิวหนังประกอบด้วย ่ ้ ้ เซลล์เล็กๆ มากมายซึ่งประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้น คือ 1. หนังกำาพร้า (epidermis) เป็นผิวหนังที่อยู่ชั้นนอกสุดของผิวหนัง ประกอบด้วยเซลล์เล็กๆ มากมายซ้อนกันอยู่เป็นชั้นๆ 2. หนังแท้ (dermis) อยู่ชั้นล่าง เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิด dense irregular connective tissue ซึ่งเจริญมาจากชั้นเมโซเดิร์ม (mesoderm) ในระยะตัวอ่อน 3. อวัยวะที่กำาเนิดมาจากผิวหนัง (skin appendages) อวัยวะเหล่านี้ ได้แก่ ขน (hair), ต่อมไขมัน (sebaceous glands), ต่อมเหงื่อ (sweat glands) และเล็บ (nails) 1. หนังกำาพร้า (epidermis) เป็นเนือเยือบุผวชนิด stratified squamous epithelium keratinized type หนังก�าพร้า ้ ่ ิ แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ 1.1 หนังกำาพร้าชนิดหนา (thick epidermis) เราพบได้บริเวณฝ่ามือ (palm) และ ฝ่าเท้า (sole) 1.2 หนังกำาพร้าชนิดบาง (thin epidermis) พบบริเวณส่วนอืน ๆ ของร่างกาย อย่าง ่ เช่น ตามล�าตัว แขน ขา ใบหน้า เป็นต้น
  • 4. 4 แต่งหน้าพัฒนาบุคลิก หนังก�าพร้าประกอบด้วยเซลล์ชนิดต่าง ๆ สามารถแบ่งออกเป็นชั้นย่อยๆ ได้เป็น 4 ชั้น เรียง จากชั้นล่างขึ้นมาชั้นบน ได้แก่ 1. stratum basale (stratum geminativum) เป็นชั้นล่างสุดของหนังก�าพร้าประกอบด้วยเซลล์ทรงเหลี่ยมลูกบาศก์ เรียกว่า basal cell เรียงตัวกันชั้นเดียววางตัวอยู่บน basement membrane เซลล์ในชั้นนี้มีการเจริญแบ่งตัว มากเพื่อเพิ่มจ�านวนและเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์ในชั้นบนต่อไป 2. stratum spinosum ประกอบด้วยเซลล์เรียงตัวซ้อนกัน 5-10 ชัน เซลล์มลกษณะเป็นรูปหลายเหลียม เรียก ้ ีั ่ เซลล์ในชั้นนี้ว่า prickle cell (spinous cell) เนื่องจากในระดับกล้องจุลทรรศน์ธรรมดาพบว่า ตามขอบของเซลล์มีลักษณะคล้ายหนามยื่นไปยึดกับเซลล์ข้างเคียง เรียกส่วนที่ยึดระหว่างเซลล์นี้ ว่า intercellular bridges ซึ่งเมื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนพบว่า intercellular bridges นี้คือ desmosome นั้นเอง เซลล์ในชั้นนี้มีการเคลื่อนตัวขึ้นบนเพื่อทดแทนเซลล์ชั้นบน ที่เคลื่อนขึ้นและลอกหลุดออกกลายเป็นขี้ไคล 3. stratum granulosum ชั้นนี้จะประกอบด้วยเซลล์ค่อนข้างแบน ขนาดและรูปร่างไม่แน่นอน เรียงตัวกัน 3-5 ชั้น เรียกว่า granular cell เนื่องจากภายในไซโทพลาซึม (cytoplasm) ของเซลล์บรรจุแกรนูล (granules) จ�านวนมาก เรียกว่า keratohyalin granules ซึงแกรนูลเหล่านียอมติดสีดางและไม่มี ่ ้้ ่ unit membrane ล้อมรอบ keratohyalin granule เกียวข้องในกระบวนการสร้างเคราทิน (keratin) ่ หรือ (ชันขีไคล) นอกจากนี เซลล์ในชันนียงสร้างแกรนูลทีเรียกว่า membrane coating granules ้ ้ ้ ้ ้ั ่ (odland bodies) ซึ่งบรรจุสารที่จะปล่อยออกมานอกเซลล์เพื่อท�าหน้าที่เคลื่อนระหว่างเซลล์ ท�าให้เซลล์ยึดติดกันได้ดี มีประสิทธิภาพมากขึ้น และช่วยป้องกันการเสียน�้าของเซลล์ผิวหนังด้วย 4. stratum corneum เป็นชันบนสุดของหนังก�าพร้า ประกอบด้วยเซลล์ทมลกษณะเป็นแผ่นบางๆ จ�านวนชัน ้ ี่ ี ั ้ ของเซลล์แตกต่างกันตั้งแต่ 5-10 ชั้นจนถึงหลายร้อยชั้น ขึ้นอยู่กับบริเวณต่าง ๆ ของผิวหนัง เช่น บริเวณหลังมือและเปลือกตา stratum corneum จะค่อนข้างบาง และจะหนามากบริเวณฝ่าเท้า ในระดับกล้องจุลทรรศน์ธรรมดาจะเห็นเซลล์ในชั้นนี้มีลักษณะเหมือนเซลล์ตายหรือเซลล์ที่เสื่อม โดยเฉพาะเซลล์ที่อยู่ชั้นบนสุดนั้นองค์ประกอบอื่นๆ ภายในเซลล์แตกสลายไปหมด เรียกว่าเกิด desquamation เซลล์เหล่านีเมือลอกหลุดเป็นขีไคลจะถูกเซลล์ทอยูใต้ถดลงไปแบ่งตัวขึนมาแทนที่ ้ ่ ้ ี่ ่ ั ้ ซึ่งเป็นกระบวนการหนึ่งของการเกิด keratinization ผิวหนังที่มีชั้น stratum corneum หนา จะมีชั้นใสโปร่งแสงเห็นเป็นแถบสีชมพูจางอยู่บริเวณรอยต่อระหว่างชั้น stratum granulosum และ stratum corneum เรียกว่าชั้น stratum lucidum ซึ่งเป็นชั้นของสารที่ถูกปล่อยออกมา จาก membrane coating granules (odland bodies) ชั้นนี้ไม่พบในหนังก�าพร้าชนิดบาง
  • 5. ผิวพรรณ 5 เซลล์ของหนังกำาพร้า เนื้อเยื่อบุผิวของหนังกำาพร้าประกอบด้วยเซลล์ 4 ชนิด ได้แก่ 1. kerationocyte เป็นเซลล์ที่พบมากที่สุดของหนังก�าพร้า เซลล์ชนิดนี้มีความสามารถในการสร้างเคราทิน กระบวนการทีเซลล์ในชั้น stratum basale มีการแบ่งตัวและเปลี่ยนแปลงไปจนกลายเป็นเซลล์ ่ ตายที่บรรจุเคราทิน ในชั้น stratum corneum เรียกว่า keratinization 2. melanocyte เป็นเซลล์รูปแฉกดาวท�าหน้าที่สร้างเมลานิน ซึ่งเป็นสารที่ท�าให้เกิดสีที่ผิวหนัง ผมและ ม่านตา เซลล์เหล่านี้ก�าเนิดมาจาก neural crest ectoderm พบเมลาโนไซต์ (melanocyte) กระจายแทรกระหว่าง keratinocytes ในชั้น stratum geminativum และ stratum spino- sum นอกจากนี้ยังพบใน hair follicles และเนื้อเยื่อเกี่ยวพันของหนังแท้ด้วย เมลานินถูกสร้าง ขึ้นใน membrane bound granules เรียกว่า melanosome ซึ่งจะถูกส่งออกนอกเซลล์เข้าไป อยู่ในไซโทพลาซึมของ keratinocytes epidermal–melanin unit หมายถึง melanocyte หนึ่งเซลล์ที่ท�าหน้าที่สร้างสีผิว ของผิวหนังบริเวณนั้น จ�านวนของ melanocyte ต่อหน่วยพื้นที่ผิวของผิวหนังไม่มีความแตกต่าง กันในเพศหรือเชื้อชาติ แต่ความแตกต่างของสีผิวในแต่ละเชื้อชาติขึ้นอยู่กับจ�านวนและชนิดของ melanosome ที่บรรจุในไซโทพลาซึมของ keratinocyte บริเวณที่พบ melanocyte หนาแน่น มากที่สุด ได้แก่ บริเวณใบหน้าและระบบสืบพันธุ์เพศชาย 3. langerhans cell เป็นเซลล์รูปแฉกดาว ขอบของนิวเคลียสมีลักษณะหยักลึกล้อมรอบด้วยไซโทพลาซึมที่ ใส แยกออกจากเซลล์ของหนังก�าพร้าชนิดอื่นได้จากการที่เซลล์นี้ไม่มี desmosome และ me- lanosome นอกจากนี้ยังพบแกรนูลทรงแท่งที่มี unit membrane ล้อมรอบเรียกว่า Birbeck granules ภายในไซโทพลาซึมของเซลล์ชนิดนี้อีกด้วย langerhans cell เป็นเซลล์ทเกียวข้องกับระบบภูมคมกันของร่างกาย พบได้ทวไปในชัน ี่ ่ ิ ุ้ ั่ ้ หนังก�าพร้า หนังแท้ และต่อมน�้าเหลืองบริเวณใกล้เคียง 4. merkel cell เป็นเซลล์ที่มีลักษณะคล้าย keratinocyte ซึ่งจะแยกออกจากกันได้ในระดับกล้อง จุลทรรศน์อเล็กตรอน นิวเคลียสของเซลล์ชนิดนีมลกษณะเป็นกลีบ (lobulated nucleus) รูปร่าง ิ ้ ีั ไม่สม�่าเสมอ มีลักษณะส�าคัญคือ ภายในไซโทพลาซึมของเซลล์จะพบ electrondense, mem- brane–bound granules ที่เหมือนกับที่พบในเซลล์ของต่อมหมวกไต (adrenal medulla) merkel cell พบเป็นจ�านวนมากในผิวหนังบริเวณที่มีความไวต่อความรู้สึกสัมผัสมาก เช่น บริเวณปลายนิว และมักพบ unmyelinated axon ใกล้กบเซลล์เหล่านี เข้าใจว่าเซลล์เหล่านี้ ้ ั ้ เกี่ยวข้องกับปลายประสาทรับความรู้สึก (sensory receptor)
  • 6. 6 แต่งหน้าพัฒนาบุคลิก 2. หนังแท้ (dermis) เป็นชั้นของเนื้อยึดต่อชนิด dense irregular connective tissue อยู่ลึกถัดลงมาจากชั้น หนังก�าพร้า ตรงบริเวณรอยต่อของทั้ง 2 ชั้นจะมีส่วนของชั้นหนังก�าพร้าที่ยื่นลงไปในชั้นหนังแท้ เรียกว่า epidermal ridge และเรียกส่วนของหนังแท้ที่แทรกอยู่ระหว่างหนังก�าพร้าว่า dermal papillae ซึ่งเป็นการเพิ่มผิวสัมผัสระหว่างหนังก�าพร้ากับหนังแท้ ท�าให้ทั้ง 2 ชั้นยึดติดกันได้แข็ง แรงมากขึ้น หนังแท้แบ่งออกได้เป็น 2 ชั้น คือ 1. papillary layer อยูชนบนประกอบด้วยส่วนของ dermal papillae ทีแทรกอยูระหว่าง ่ ั้ ่ ่ epidermal ridge ในชันนีจะพบหลอดเลือดจ�านวนมาก ส่วนใหญ่บรรจุอยูใน dermal papillae ้ ้ ่ 2. reticular layer ประกอบด้วยเส้นใยคอลลาเจนเรียงตัวประสานกันอย่างหยาบ ๆ อาจ พบเส้นใยอิลาสติกแทรกอยู่ด้วย ชั้นนี้มีหลอดเลือดน้อยกว่าชั้นแรก ต่อจากชั้นหนังแท้จะเป็นชั้นของ loose connective tissue ประกอบด้วย adipose tis- sue เรียกว่า subcutaneous tissue ซึ่งไม่นับรวมเป็นชั้นของผิวหนัง 3. อวัยวะที่กำาเนิดมาจากผิวหนัง (skin sppendages) 3.1 cutaneous glands 1. ต่อมเหงื่อ (sweat glands) เป็นต่อมชนิด simple coiled tubular gland พบกระจายทั่วไปตามส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกาย ต่อมเหงื่อแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ 1.1 Eccrine sweat gland เป็นต่อมเหงือชนิดทีพบได้ทวไปตามผิวของร่างกายยกเว้นบริเวณริมฝปาก อวัยวะ ่ ่ ั่ เพศชาย ปุ่มกระสัน (clitoris) และ labia minora เหงื่อที่สร้างขึ้นจากต่อมชนิดนี้มีลักษณะเป็น น�้าใสและถูกส่งผ่านทางท่อออกสู่ผิวหนังโดยตรง หน้าที่ของต่อมเหงื่อชนิดนี้เกี่ยวกับการควบคุม อุณหภูมิของร่างกายภายใต้การควบคุมของระบบประสาทอัตโนมัติ 1.2 Apocrine sweat gland เป็นต่อมเหงื่อชนิดที่พบบริเวณรักแร้ (axilla), อวัยวะสืบพันธุ์ (genitalia) และ รอบ ๆ หัวนม (nipple) ต่อมชนิดนี้สร้างสารที่มีลักษณะเหนียวข้น ขุ่นขาวคล้ายน�้านม ไม่มีกลิ่น แต่เมื่อท�าปฏิกิริยากับแบคทีเรียที่ผิวหนังจะกลายเป็นสารที่มีกลิ่น ท่อของต่อมชนิดนี้มักเปดเข้าสู่ โคนขน (hair follicle) การท�างานของต่อมชนิดนี้ถูกควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติ ในสัตว์ จะพบต่อมชนิดนี้กระจายอยู่ทั่วไปตามร่างกาย มีความส�าคัญเกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศและการ แสดงอาณาเขต
  • 7. ผิวพรรณ 7 2. ต่อมไขมัน (sebaceous gland) ต่อมไขมันเป็นต่อมทีมความสัมพันธ์กบขน โดยมีทอสันๆ ไปเปดทีโคนของขนหรือผม ่ ี ั ่ ้ ่ ท่อที่เปดออกสู่ผิวหนังโดยตรงมักยาวกว่าต่อมไขมัน พบได้ทั่วไปตามร่างกาย ลักษณะโครงสร้าง ของต่อมเป็นชนิด alveolar gland ไขมันที่สร้างเรียกว่า sebum เมื่อหลั่งออกมาจะเคลือบขน และผิวหนังบริเวณนั้นป้องกันไม่ให้เปยกน้�า การท�างานของต่อมไขมันถูกควบคุมโดยฮอร์โมน เพศ ก่อนวัยรุ่นต่อมไขมันจะมีขนาดเล็กมาก เมื่อถึงวัยรุ่นการท�างานและขนาดของต่อมไขมัน จะเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากอิทธิพลของฮอร์โมนเพศโดยเฉพาะฮอร์โมนเพศชาย (androgen) 3.2 ขน (hair) ขนก�าเนิดมาจากต่อมขน (hair follicles) ซึ่งเกิดจากชั้นหนังก�าพร้าที่เว้าลึกลงไปในชั้น หนังแท้ ส่วนโคนของต่อมขนมีลักษณะเป็นกระเปาะ มีชั้นหนังแท้เรียกว่า hair papilla เป็นแกน และมีชั้นหนังก�าพร้าหุ้มล้อมรอบเป็นส่วนของ hair matrix รูปร่างลักษณะของต่อมขนนั้นแตก ต่างกันไปในแต่ละบริเวณซึงท�าให้ขนทีสร้างนันมีลกษณะต่างกันด้วย เช่น ต่อมขนบริเวณหนังศีรษะ ่ ่ ้ ั มีลักษณะเป็นทรงกระบอกยาวตั้งตรงซึ่งสร้างผมยาว ส่วนต่อมขนบริเวณล�าตัวมีลักษณะค่อนข้าง สั้นและอ้วนกว่าซึ่งจะสร้างขนที่สั้นและละเอียด เส้นบางนุ่ม ขนแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. vellus hair เป็นขนละเอียด สั้น สีอ่อน 2. terminal hair เป็นขนหยาบ ยาว สีเข้ม การเจริญเติบโตของขนเริมจากโคนของต่อมขน (hair follicle) ทีมลกษณะเป็นกระเปาะ ่ ่ ีั เรียกว่า hair bulb โดยเซลล์ของหนังก�าพร้าตรงส่วนของ hair matrix จะแบ่งตัวเพิ่มขึ้นและ เกิดการ keratinization กลายเป็นขนงอกยาวออกพ้นชั้นหนังก�าพร้า โครงสร้างของขน ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้ 1. Outer cuticle เป็นชันนอกสุด มีองค์ประกอบเป็น hard keratin มีลกษณะเป็นเกล็ด ้ ั บาง ๆ 2. Cortex ประกอบด้วยเซลล์แบนหลายชัน ภายในเซลล์เหล่านีบรรจุพวก hard keratin ้ ้ และ pigment granules 3. Medulla ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะเหมือนเซลล์ที่เสื่อม เห็นเป็นถุงน�้ามากมาย อยู่ภายในเซลล์ เซลล์เหล่านี้บรรจุ soft keratin สีของขนเกิดจาก melanocytes บริเวณ hair matrix สร้างเม็ดสีส่งไปไว้ในชั้น cortex และ medulla ของขน บริเวณชั้นนอกสุดของ hair follicle จะมีเนื้อเยื่อเกี่ยวพันหุ้มล้อมรอบและมีกล้ามเนื้อ เรียบเกาะจากเนื้อยึดต่อไปยัง dermal papillae เรียกว่ากล้ามเนื้อ arrector pili เมื่อกล้ามเนื้อ นีหดตัวจะท�าให้ขนตังชันและผิวหนังบุมลงไปเกิดอาการทีเรียกว่าขนลุก การท�างานของกล้ามเนือนี้ ้ ้  ่ ้ ถูกควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติ (sympathetic nervous system) ซึ่งจะถูกกระตุ้นด้วย ความเย็นหรือความกลัว
  • 8. 8 แต่งหน้าพัฒนาบุคลิก 3.3 เล็บ (nail) แผ่นเล็บ (nail plate) เป็นแผ่น keratin ที่คลุมอยู่บนผิวหนังบริเวณปลายนิ้วมือและ นิ้วเท้า เรียกส่วนของ stratified squamous epithelium ทีรองรับแผ่นเล็บนีวา nail bed ตรง ่ ้่ โคนของแผ่นเล็บจะมีลักษณะเป็นรูปพระจันทร์เสี้ยว เรียกว่า lunula เซลล์เนื้อเยื่อบุผิวที่อยู่ใต้ ต่อจาก lunula เป็นส่วนที่ท�าหน้าที่สร้างแผ่นเล็บ เรียกเนื้อเยื่อบุผิวบริเวณนี้ว่า nail matrix จากแผ่นเล็บจะเจริญงอกยาวไปจาก nail matrix โดยค่อย ๆ ยื่นยาวออกไปทางปลายนิ้ว ส่วน nail bed นั้น ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการสร้างเล็บ แต่มีหน้าที่รองรับแผ่นเล็บ ลักษณะของผิว ลักษณะผิวโดยทั่วไปแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท 1. ผิวมัน (oily skin) เป็นลักษณะผิวที่มีต่อมไขมันจ�านวนมากขับไขมันออกมาเกินความต้องการของผิว 2. ผิวแห้ง (dry skin) เป็นลักษณะผิวที่ต่อมไขมันท�างานน้อย ขับไขมันออกมาไม่เพียงพอในการหล่อเลี้ยงผิว 3. ผิวธรรมดา (normal skin) เป็นลักษณะผิวที่มีความสมดุล ต่อมไขมันขับไขมันพอดีกับความต้องการของผิว ท�าให้ ผิวอยู่ในสภาพสวยงาม 4. ผิวผสม (combination skin) เป็นลักษณะผิวที่ต่อมไขมันบนใบหน้าท�างานไม่สม�่าเสมอบริเวณรูปตัว “ที” บนใบหน้า จะมันมาก ส่วนบริเวณข้างแก้มจะแห้ง ผิวมัน มีไขมันบนผิวมาก รูขุมขนกว้าง ผิวค่อนข้างหนา มักจะมีสิวเสี้ยนหรือสิวหนอง ผิวจะแลดูหยาบแต่ไม่กร้าน ผิวจะดูตึงแต่หยาบ
  • 9. ผิวพรรณ 9 ผิวแห้ง ผิวจะแห้งเป็นขุย ผิวกร้าน ผิวมีรอยย่น ฝ้า ช่วงจมูกไม่มีความมัน รูขุมขนเล็ก ผิวจะดูบางเห็นเส้นเลือด ผิวธรรมดา ผิวละเอียด รูขุมขนเล็ก ผิวไม่มัน ไม่แห้ง ผิวจะดูเปล่งปลั่งสดใส บริเวณจมูกมันเล็กน้อย ผิวผสม จะมันและแห้งเป็นหย่อม ส่วนใหญ่บริเวณจมูกจะมันมาก ด้านข้างแก้มจะแห้งเป็นขุย ลักษณะผิวต่างๆ จะมีความสมบูรณ์ในตัวเองอยู่แล้ว หากเราดูแลผิวไม่ถูกต้องก็จะเกิด ปัญหาที่ผิวได้ง่าย ปัญหาที่เกิดคือ 1. การไม่ระวังเรื่องความสะอาดบนใบหน้า คนเราโดยทั่วไปมักจะใช้มือจับใบหน้าและมือของเรานี่แหละที่จับต้องสิ่งต่างๆ ที่อยู่ รอบๆ ตัวเราตลอดเวลา มือจึงสกปรก พอเผลอมาจับหน้า สิ่งสกปรกที่ติดอยู่ที่มือก็เปลี่ยนมาอยู่ ที่หน้าด้วย ดังนั้น จึงควรฝกไม่จับต้องหรือแกะเกาใบหน้าเพราะจะท�าให้เกิดปัญหาผิวได้ 2. การไม่ทำาความสะอาดอุปกรณ์และเครื่องสำาอางที่ใช้ ต้องหมันดูแลอุปกรณ์ของเครืองส�าอาง ควรล้างมือให้สะอาดก่อนใช้เครืองส�าอาง เมือ ่ ่ ่ ่ เปดฝากระปุกเครืองส�าอางควรกะให้พอดี หากเหลือใช้กไม่ควรเทกลับลงในภาชนะเพราะจะท�าให้ ่ ็ เครื่องส�าอางเสื่อมลงได้ง่าย
  • 10. 10 แต่งหน้าพัฒนาบุคลิก สภาพผิวแต่ละวัย ผิวอ่อนเยาว์ ผิวละเอียด เปล่งปลั่ง ซึ่งบ่งบอก สุขภาพผิวดี * ผิวชุ่มชื้น เนียนเรียบ * ผิวตึงและนุ่ม * การไหลเวียนโลหิตดี * ผิวหนังไม่หย่อนยาน สภาพผิวเมื่ออายุสูงขึ้น ผิวค่อนข้างแห้ง แลเห็นความ ขรุขระ * ผิวแห้ง * ผิวมีริ้วรอย * ผิวไม่เรียบเนียน * มีฝ้า ผิวที่ขาดการดูแล ผิวแห้ง หยาบกร้าน * มีริ้วรอย * มีสิว * มีฝ้า * สภาพผิวไม่สมดุล