SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 18
Descargar para leer sin conexión
1
บันทึกการเดินทางจอร์แดนปีใหม่ ๒๕๖๑
ราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า จอร์แดน ประเทศเล็กๆ ในตะวันออกกลาง ปกครองด้วย
ระบบกษัตริย์ มีพรมแดนติดกับประเทศซีเรียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอิรักทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดต่อกับ
ซาอุดีอาระเบียทางทิศตะวันออกและทิศใต้ รวมทั้งติดต่อกับอิสราเอลและดินแดนที่อิสราเอลครอบครองทางทิศ
ตะวันตก ระดับการพัฒนาก็อยู่ในโลกที่สาม เคยถูกปกครองโดยอังกฤษ ก็เลยใช้ภาษาอังกฤษเป็นทางการภาษาที่สอง
รองจากภาษาอาหรับ อยู่ในท่ามกลางความขัดแย้งปัญหาความรุนแรงในประเทศรอบๆ ไม่ว่าจะเป็นซีเรีย ซาอุดิอราเบีย
อิสราเอล อิสราเอลที่เกี่ยวกับการแย่งดินแดนอันเป็นประวัติศาสตร์ซ้อนประวัติศาสตร์ ประชากร 6.57 ล้านคน ครึ่งหนึ่ง
เป็นชาวปาเลสไตน์ เชื้อชาติ อาหรับ ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 95 ที่เหลือก็เป็นคริสต์
คืนแรกของการมาที่จอร์แดน อัมมัน หลังจากที่ check in ที่โรงแรม 4 ดาว ชื่อ Geneva Hotel ก็ออกมาเดิน.
ซื้อ SIM card ในท่ามกลางอากาศ แห้ง-ลมแรง 57 องศาฟาเรนไฮต์ (11-12 องศา เซลเซียส มั๊ง) ราคา 20 JD หรือ
992 บาทไทย ที่ 4 GB (1 JD = 46.6 บาทไทย ในวันที่ 27 ธันวาคม 2560) ราคาที่นี่ก็ถือว่าแพงกว่าเมื่อเทียบกับที่
เมืองไทย
เช้าวันแรกของการมาท่องเที่ยวในแผ่นดินนี้ ออกจากอัมมานด้วยรถเช่า MPV ยี่ห้อฮุนได ไปตามถนนไฮเวย์ ใน
เช้าของวันแรก 28 ธันวาคม 2017 เดินทางจากที่พักในเมืองหลวงอัมมัน ไป Jarash ซึ่งอยู่ไม่ไกลนัก (น่าจะระยะทาง
ประมาณ กรุงเทพ-ฉะเชิงเทรา) แต่สภาพสองข้างทางเป็นทะเลทรายสลับกับเนินเขาสูง-ต่่า
2
คุยกับ “จีฮาส” ซึ่งเป็นทั้งคนขับรถและ Guide ตลอด trip นี้ ที่นี่มีปัญหาเรื่องน้่า ทั้งอุปโภคบริโภค แม้ว่าจะมี
เขื่อนใหญ่ 16 เขื่อน และกระทรวงน้่าและชลประทาน (Ministry of Water and Irrigation) ของจอร์แดน ได้ส่ง
เจ้าหน้าที่ด้านเทคนิคมาศึกษาดูงานการท่าฝนหลวงของไทย เพื่อน่าไปประยุกต์ใช้กับภาวะขาดแคลนฝนในจอร์แดนแต่ก็
ต้องจ่ากัดเรื่องการใช้น้่า ทุกบ้านปลูกบ้านเป็นรูปกล่องๆ สี่เหลี่ยมเหมือนกันต่างกันที่ความสูงของบ้านอาจจะ 3 ชั้นบ้าง
หรือมากชั้นกว่านั้นบ้าง แต่ที่ต้องมีก็คือ “ที่เก็บน้่าของบ้าน” ไว้ด้วยบนหลังคาดาดฟ้าบ้าน เพราะจะมีการจ่ายน้่าประปา
สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ไม่ใช่จ่ายให้ตลอดเวลา
ตั้งแต่มีปัญหาความขัดแย้งในตะวันออกกลางโดยเฉพาะแถบฝั่งแม่น้่าจอร์แดนในตอนเหนือของประเทศ ท่าให้มี
ผู้อพยพชาวปาเลสไตน์กว่า 1.2 ล้านคนทะลักมาอยู่ในจอร์แดน มีค่ายอพยพมาตั้งกว่า 60 ปีแล้วเป็นค่ายขนาดใหญ่มาก
ตั้งอยู่ริมถนนไฮเวย์ยาวน่าจะประมาณ 2 กม. ลึกเข้าไปเป็นเนินเขา เป็นปัญหาที่ตามมาเรื่องภาระของรัฐบาล และ
องค์กรนานาชาติ ที่จะต้องจัดหาที่ตั้งถิ่นฐานให้ ทั้งที่ประเทศเองก็มีปัญหาความเหลื่อมล้่า ผลิตภาพของแรงงานไร้ฝีมือ
อย่างไรก็ตาม แม้ว่ารอบๆ ประเทศจะมีปัญหาความขัดแย้ง ปัญหา Arab spring ทั่วไปหมดทั้งตะวันออกกลาง
และอาฟริกาตอนบน (อันเนื่องมาจากเงินเฟ้อ ว่างงาน อาหารแพง ช่องว่างรายได้ การเมืองการปกครอง โซเชียลเนต
เวิร์ค คล้ายๆกันหมด) แต่ประเทศนี้ก็สงบ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ไม่มีการประท้วงตามท้องถนน ไม่มีการ
เข่นฆ่ากันเอง ในกลุ่มที่เห็นต่าง นักท่องเที่ยวสามารถไปเที่ยวตามแหล่งท่องเที่ยวได้อย่างรู้สึกปลอดภัย
ประเทศนี้เต็มไปด้วยอารยธรรม ได้รับการกล่าวถึงเป็นอย่างมากในฐานะที่เป็นประเทศศูนย์กลางประวัติศาสตร์
และศาสนา มีการพูดถึงดินแดนของจอร์แดนหลายส่วนในทั้งคัมภีร์ กุรอาน และในคัมภีร์ไบเบิล โดยเฉพาะความ
เกี่ยวข้องกับพระศาสดาต่าง ๆ ศาสนายูดาห์ซึ่งชาวยิวมีความเชื่อว่า พระเจ้าทรงสร้างโลกและมนุษย์คู่แรกเมื่อประมาณ
4,000 ปีก่อนคริสตกาล และถือว่าโมเสสคือศาสดา ผู้ให้ก่าเนิดศาสนายูดาห์ เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล พระ
เยซูเจ้าของศาสนาคริสต์ มุสลิมที่เชื่อว่าพระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ จุดประสงค์ของการด่ารงอยู่ คือ เพื่อรัก
3
และรับใช้พระเป็นเจ้า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์
อับราฮัม โมเสส และพระเยซู
ระหว่างทางไป Jarash ซึ่งใช้เวลาประมาณ 1.45 ชั่วโมง คุยกันเรื่องทั่วไป
ทางตอนเหนือของประเทศนี้ ซึ่งมีแม่น้่าจอร์แดน ที่ไหลลงสู่ทะเล Dead Sea แม้ว่าจะถูกแบ่งน้่าจืดไปใช้ใน
อิสราเอลด้วย แต่ก็เป็นแหล่งผลิตอาหารเกษตร ซึ่งมะเขือเทศ กะหล่่า มะกอก องุ่นและเหล้าองุ่น แตงกวา ก็เป็น
สินค้าออกของประเทศ อันดับ 4 รองจาก ปุ๋ย แร่ธาตุ และภาคบริการการท่องเที่ยวสินค้าจากการท่องเที่ยวเช่นโคลน
จากทะเล Dead Sea
ระบบบริการสาธารณสุข น่าจะยังไม่ UHC คนยังต้องจ่ายเงินออกจากกระเป๋ามากเมื่อยามเจ็บป่วย การควบคุม
บริโภคบุหรี่น่าจะยังไม่เข้มข้น คนสูบบุหรี่ที่ไหนก็ได้แม้แต่ในโรงแรมล้อบบี้ และส่าหรับ บารากู่ ยาสูบที่น่ามาใช้กับ
อุปกรณ์ที่ใช้เสพที่มีชื่อเรียกว่า ฮุคคา hookah อุปกรณ์นี้ท่าเป็นขวดแก้วออกแบบสวยงามแบบอาหรับมีน้่าใส่อยู่ข้างใน
เวลาสูบให้ควันผ่านน้่าก่อนถึงผู้สูบ ก็เห็นสูบกันทั่วไปกลิ่นหวานเอียนฟุ้ง (ประเทศไทยห้าม)
ระหว่างทาง เห็นมหาวิทยาลัยใหญ่มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า มหาวิทยาลัยฟิลาเดลเฟีย นึกว่าเป็นสาขาของ
มหาวิทยาลัยจากสหรัฐอเมริกา เลยถามจีฮาท ว่าระบบการศึกษาที่ประเทศนี้เป็นยังไง ถึงได้เปิดกว้างให้ประเทศ
ตะวันตกเข้ามาเปิดสถาบันอุดมศึกษา แบบนี้ จีฮาท บอกว่า ไม่ใช่ ไม่เกี่ยวกับระบบอะไรหรอก ชื่อ Philadelphia เป็น
ชื่อเดิมของกรุงอัมมาน เพราะว่าในพระคัมภีร์เก่า (Old Testament) มีการเอ่ยชื่อของ “Rabbath-Ammon” เมือง
หลวงแห่งราชอาณาจักร Ammonites ซึ่งก็ราวๆ 1,200 ปีก่อนคริสตกาล และเมื่อชาวกรีก-โรมันเข้ามาปกครองดินแดน
แห่งนี้ ก็เปลี่ยนชื่อเมือง อัมมาน เป็น “Philadelphia” ซึ่งภาษากรีก แปลว่า “ความรักดั่งพี่น้องร่วมสายโลหิตเดียวกัน”
ต่อมาพวก คริสเตียนมาครอบครองก็ยังใช้ชื่อนี้ จนกระทั่งมุสลิมได้แผ่อ่านาจเข้ามาจากคาบสมุทรอาราเบียนและเข้ายึด
ครอง จึงเปลี่ยนชื่อกลับมาเป็น “กรุงอัมมาน” อีกครั้งหนึ่ง
สาธารณูปโภค ถนนดี รถไฟเฉาไปนานแล้วกว่า 60 ปี (คือมีเส้นทางรถไฟทอดยาว เกือบ 6,000 กม. จากซาอุดิ
อารเบียพาดไปจนถึงตุรกี สร้างโดยอังกฤษสมัยอาณานิคมปัจจุบันใช้ขนสินค้าเท่านั้น) รถเมล์สาธารณะไม่ค่อยมีไม่ค่อยดี
4
นักท่องเที่ยวใช้รถเช่าเหมา เป็นรถตู้ขนาดเล็ก รถ MPV ชาวบ้านใช้รถส่วนตัว ยี่ห้อญี่ปุ่น เกาหลี มีของฝรั่งเศส เยอรมัน
ประปราย ค่าเช่ารถ และราคาน้่ามันรถยนต์ แพงเมื่อคิดเทียบจากเงินจอร์แดนดีน่าร์มาเป็นค่าเงินบาท เพราะต้องน่าเข้า
ทั้งรถและน้่ามัน ประเทศนี้ไม่ได้เป็นประเทศผลิตน้่ามัน ไฟฟ้า 220 – 230 volt แต่ปลั๊กไฟมีหลากหลายมาตรฐาน ของ
รูเสียบจริงๆ (เวลาจะชาร์ตไฟมือถือต้องควานหา universal adaptor กันวุ่น)
เมืองเจอราช (Jerash) ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศจอร์แดน ติดชายแดนซีเรีย ตั้งชื่อตามชื่อมหาราชินี สม
ยานามหนึ่งคือ “เมืองพันเสา” เป็นอดีต 1 ใน 10 หัวเมืองเอกด้านตะวันออกอันยิ่งใหญ่ของอาณาจักรโรมัน โดย
สันนิษฐานว่าเมืองนี้น่าจะถูกสร้างในราว 200-100 ปีก่อนคริสตกาล ต้องซื้อตั๋วเพื่อเข้าชมก่อน ราคา 8 JD (ซื้อ JD pass
แล้ว ก็เลยแสดง QR code ให้คนเก็บตั๋วดู) ได้เห็นความอลังการงานสร้าง ของมหาอ่านาจยุคต่างๆ ตั้งแต่ยุค
ประวัติศาสตร์โบราณ ไบเซนไทน์ โรมัน คริสตกาล มุุสลิม สร้างซ้อนทับขยับขยาย อยู่เต็มหุบเขาเนินเขา ความยิ่งใหญ่
ของสถาปัตยกรรมโรมัน จัตุรัสโอวัล (Oval Plaza) ซึ่งเป็นหนึ่งในสถาปัตยกรรมที่ออกแบบได้อย่างน่าทึ่งของชาวโรมัน
ล้อมรอบด้วยเสาคอรินเทียม (Corinthium) กว่า 160 ต้น เป็นรูปวงรี พื้นตรงกลางปูด้วยหินขนาดใหญ่ ในอดีตใช้เป็น
สถานที่พบปะสังสรรค์ของชาวเมือง และเป็นจุดเชื่อมระหว่างถนนทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก จึง
ท่าให้ความวิจิตรงดงามของเมืองกลับมาได้ความสนใจ และถือว่าเป็นสถาปัตยกรรมแบบโรมันที่ยิ่งใหญ่ที่สุดอีกแห่งหนึ่ง
ในตะวันออกกลางเลยก็ว่าได้ จัตุรัสขนาดใหญ่ ถนนคาร์โด (Cardo Street) ความอลังการของวิหารบนเนินเขา โรงละคร
ทั้งทางทิศเหนือและทิศใต้ โรงอาบน้่าที่ใช้ระบบชลประทานโบราณทดน้่ามาให้ชาวเมืองชนชั้นสูงอาบน้่า ชนชั้นล่างอาบ
ต่อจากชนชั้นสูง (คลองทดน้้า ที่เห็นตอนนี้เหลือเพียงสภาพคล้ายท้องร่องแห้งๆ ไม่เห็นมีน้้าไหลสักหยด) หรือน้่าพุใจ
กลางเมือง โรงมหรสพฝั่งเหนือ (North Theatre) ที่ถูกสร้างขึ้นราวปี ค.ศ. 160 ซึ่งอยู่ทิศตรงข้ามกับโรงมหรสพฝั่งใต้
(South Theatre) แม้จะมีขนาดเล็กกว่าและตั้งอยู่คนละทิศ แต่ภายในนับว่าอลังการไม่น้อย ตัวโรงมหรสพท่าจากหิน
ก้อนขนาดใหญ่ โดยมีอัฒจันทร์หันหน้าไปสู่เวทีทางทิศเหนือ เดินกลับจะออกจากบริเวณก็ไปดูวิหารเทพีอาร์เทมิส (The
Temple of Artemis) มีเสาขนาดใหญ่ สังเกตเห็นได้แต่ไกล วิหารแห่งนี้ เชื่อว่าเป็นเทพีแห่งดวงจันทร์และการล่าสัตว์
และเป็นบุตรสาวของมหาเทพซุส ซึ่งเป็นน้องสาวฝาแฝดกับเทพอพอลโล หรือเทพแห่งพระอาทิตย์ และยังเป็นหนึ่งใน
5
สามเทพีพรหมจรรย์ (อีกสององค์ เทพีอาธีนา หรือเทพีแห่งความเฉลียวฉลาด รวมถึงแห่งศิลปะทุกแขนง และสัญลักษณ์
แห่งการต่อสู้ และเทพีเอสเทีย ซึ่งเป็นเทพีแห่งการครองเรือน หรือเทพแห่งครอบครัว)
เมืองแห่งนี้เจอแผ่นดินไหวหลายครั้ง กระทั่งครั้งใหญ่สุดได้ถล่มและท่าลายเมืองไปแทบราบคาบ จนกลายเป็น
เมืองที่ถูกลืมไปเป็นพันปีและถูกทิ้งร้าง จนมีคนมาขุดพบใน ค.ศ.1878 ต่อมารัฐบาลจอร์แดนได้กลับมาฟื้นฟูบูรณะนคร
โรมันแห่งนี้ให้กลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง
สัจจธรรมหนึ่งที่คิดขึ้นมาขณะเดินจนเมื่อยในพื้นที่กว้างใหญ่ไพศาล คือ แม้แต่มหาเทพ Zeus ผู้ก้าเนิดโลก ก็ยัง
ไม่พ้นกฎไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา มหาวิหารอันยิ่งใหญ่ ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดสมัยนั้น เมื่อ พันกว่าปี ถึง สามร้อยกว่าปี
ก่อนคริสตกาล ท้าด้วยหินทรายชั้นดี หินอัญมณีอันแวววาว และคนในยุคนั้นเชื่อว่ามีพลังเร้นลับด้วยก็ยังถูกท้าลายลงมา
กองก่ายเป็นพะเนินเทินทึก รอการบูรณะอยู่แทบเท้านักท่องเที่ยว
ประมาณ 12:00 น. เวลาของจอร์แดนซึ่งช้ากว่าประเทศไทย 5 ชั่วโมง ออกเดินทางระยะทาง 245 กม. จาก
เหนือสุดของประเทศ ที่เป็นที่ตั้งของ Jarash ลงมาทางใต้ของประเทศ ผ่านถนน 4 เลน เป็นถนนระหว่างประเทศ
แนวคิดคล้ายๆ ถนนสายเอเชีย ถนนผ่านทะเลทรายเวิ้งว้าง ไม่มีต้นไม้ให้เห็น สีสองข้างทางจึงเป็นน้่าตาลเข้ม ถนนคง
ไม่ได้รับการบ่ารุงรักษาโดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกลกลางทะเลทราย ก็เลยสภาพผิวขรุขระเป็นระยะ แม้ไม่เดินรถสวนกัน
แต่ก็ใช้เวลา กว่า 5 ชั่วโมง
แวะกลางทางเป็นปั๊มน้่ามัน (ไม่เห็นมีปั๊มแก๊ส) อาหารกลางวันก็คือร้านอาหารในปั๊มกับที่ขายของที่ระลึกในปั๊ม
นั่นเอง (ร้านชื่อ เพตราคอมเพล็กซ์ ที่อาจจะเล็กกว่า และเรียบร้อยน้อยกว่า จิฟฟี่ ใน ปตท. ประเทศเรามาก) กินข้าว
หมก Lamp ข้าวหมกไก่ย่าง แผ่นแป้งที่น่าจะเรียกว่านานเหมือนอินเดีย ฮัมมุสถั่วกวนเค็มนิดหน่อย ปุแล่มๆ ชีสต์ขาว
ชีสต์สีเหลืองเข้มเค็มมาก รสชาติคุ้นเคยคล้ายกินอาหารในร้านอิสลามบ้านเรา ราคาชุดละ 17 JD หรือน้่าขวด 1.5 ลิตร
ราคา 1.5 JD ทะเลทรายน้่าหายากเลยแพง (ถ้าเราถือว่าไปเมืองนอกเอาราคาโค้กเป็นดัชนีราคาผู้บริโภค ก็แปลว่า ค่า
ครองชีพที่นี่สูงกว่าประเทศไทยประมาณ 2.5 เท่าโดยประมาณ) ส่วนข้าวเม็ดยาวแบบ บาสมาตี สมราคาเพราะจานใหญ่
ใส่เครื่องเทศเยอะ (และได้ยินว่าข้าวก็ต้องน้าเข้าจากอินเดียและ USA) ไก่ย่างแบบแขก (คือคล้ายไก่ปิ้งทางอีสานแห้งๆ
มีกลิ่นเครื่องเทศ) ก็อร่อยดี โค้กกระป๋องของน่าเข้า 1 จอร์แดนดีน่าร์ ก็ชุ่มฉ่่าดี
6
อิ่มแล้วเดินทางลงมาใต้ๆ หน่อย ท่ามกลางทะเลทรายบ่ายแดดเปรี้ยง ก็จะเห็นฟาร์มเลี้ยงไก่เป็นกระโจมแบบ
ปิด (ถ้าเป็นแบบเปิด ไก่อาจจะทนสภาพแวดล้อมไม่ไหวมั๊ง) เห็นมีเหมืองแร่ โปแตส ฟอสเฟต โรงปูน โรงท่าปุ๋ย (คิดเอา
เองว่า) ก็คงไม่ต้องศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมอะไรมั๊ง เพราะเป็นโรงงานโผล่ขึ้นมาในที่ว่างๆ ของทะเลทราย ผู้คนมี
น้อย อยู่กันเป็นหย่อมๆ ดูเหมือนจะใช้น้่าจืดใต้ดินมาเพื่ออุปโภค บริโภคอยู่มากเหมือนกันเพราะน่าจะไม่มีแหล่งน้่าอื่น
ไฟฟ้าก็เห็นมีแผงโซล่าร์เซลกันมากตามหลังคากระโจมและด้านบนของอาคารรูปสี่เหลี่ยมเตี้ย
เรา 5 คน มาถึงที่พักตอนเกือบค่่าที่หุบเขาที่เป็นที่ตั้งใกล้ เพตรามรดกโลก ภาษาดั้งเดิมเรียกหุบเขาอันอุดม
สมบูรณ์นี้ว่า วาฮดีห์ มูซา ที่พักชื่อ Old village ตามที่เขาติดป้ายไว้ก็ว่า ที่นี่ในอดีตเป็นหมู่บ้านโบราณเล็กๆ ในอดีต
เหมือนหมู่บ้านชานเมือง Petra แล้วก็ถูกทิ้งร้างไปหลายร้อยปีตามการโรยราของเพตรา แล้วก็ถูกน่ามา Renovate เป็น
รีสอร์ท สถานที่พักของนักท่องเที่ยว การตกแต่งห้องพักจึงตั้งใจออกแบบให้คล้ายๆ ในอดีต (และคิดเอาเองว่า คง
ต้องการให้นักท่องเที่ยวมีความรู้สึกว่า ตนเองเหมือนกับพ่อค้านักเดินทางโบราณที่อาจจะมาแวะพักที่นี่เมื่อหลายพันปี
ก่อนด้วย) คือประดับตกแต่งด้วยหินทราย และใส่ Facilities สมัยใหม่เข้าไป ก็เห็นมีนักท่องเที่ยวเอเชียไม่มากนัก ส่วน
ใหญ่เป็นหน้าตาภาษาพูดฟังไปทางยุโรป มีญี่ปุ่นบ้าง คนไทยบ้าง ก็น่าจะประปราย
Petra night เป็นการขายการท่องเที่ยว (ซื้อ Jordan Pass มาแล้วล่วงหน้า เลยไม่ต้องตีตั๋ว ใช้โชว์ QR code
ได้เลย) ด้วยการน่าเหตุการณ์จ่าลองเมื่อครั้งที่นี่รุ่งเรืองสุดๆ ซึ่งน่าจะเป็นประมาณ 300 ปีก่อนคริสตกาล ที่นักบวชสมัย
7
นั้น จุดโคมไฟแสงสว่างไปตามทางช่องแคบๆ ระหว่างภูเขาสูงที่แยกออกจากกัน อันเนื่องจากการยกตัวสูงขึ้นของเปลือก
โลก เหมือนเอามือดันด้านล่างก้อนขนมปัง แล้วยกขึ้นด้านบนจะแยกปริ ออกจากกัน เป็นทางยาวกว่า 1 กิโลเมตร เขาสู่
วิหาร ที่มีความอลังการแบบกรีกโรมัน การจุดเทียนราย ไปจนถึงหน้าวิหาร ซึ่งน่าจะต้องใช้เทียนเป็น หมื่นดวง ส่องแสง
ระยิบระยับร่าไร ในความมืด ท่ามกลางแสงจันทร์ข้างขึ้น และนักท่องเที่ยวชาติต่างๆ จากยุโรป ญี่ปุ่น ไทย แต่จีนน่าจะ
น้อย จ่านวนน่าจะกว่า 7-8 ร้อยคน ที่เดินเป็นแถวยาว ถึงแล้วก็รับฟังพิธีกรรม ที่น่าจะเป็นการร่ายโศลก ประกอบเสียง
ขลุ่ยโหยหวนอะไรบางอย่าง และ (คิดเอาเองอีกแล้ว) น่าจะเป็นต้นรากร่องรอยพิธีกรรมของในโบสถ์คริสต์ อิสลาม
(ประวัติศาสตร์ เปลี่ยนได้ด้วยอิทธิพลการเปลี่ยนแปลงภูมิศาสตร์ของพื้นผิวโลก - มนุษย์และความขัดแย้งทาง
เผ่าพันธ์ุผลประโยชน์ – วิวัฒนาการที่เป็นไปตามการพัฒนา)
ในตอนกลางวันของวันที่ 29 ธันวาคม 2560 เรากลับมาที่ทางเข้า เพตรา มหานครศิลาทรายสีชมพู หรือ Red
Road City เมืองมรดกโลกอีกครั้ง ที่ประตูทางเข้าเปิดรูป QR code ของ JD pass จากสมาร์ทโฟนให้ผู้ตรวจบัตรแล้ว
การเดินเข้าไปดูโบราณสถานมรดกโลก Petra ขี่ม้าลัดเลาะไปตามหุบเขา ค่าทิปขี่ม้าคนละ 20 JD แล้วเดินเท้าเข้าสู่รอย
แยก ของเปลือกโลก (Siq) ที่ซ่อนความยิ่งใหญ่ตระการตาของมหาวิหารปราสาททรายสีชมพู เอล คาซเนห์ ต้องตะลึงกับ
ความยิ่งใหญ่ของธรรมชาติผนวกกับวิวัฒนาการอันยิ่งใหญ่ของมนุษยชาติปรากฏแก่สายตา
สถานที่แห่งนี้ตามที่อ่านจาก Museum ด้านหน้าก่อนเข้าประตูตรวจบัตร มีมนุษย์สมัย นีโอแอนติค คือมนุษย์
หินใหม่มาตั้งถิ่นฐาน เมื่อ 70,000 ปี ที่แล้ว ซึ่งก็เรียกได้ว่าเป็นวิวัฒนาการขั้นแรกๆ ที่จากอยู่แบบแยกๆ เหมือนสัตว์
เดรัจฉานทั่วไป รู้จักตั้งบ้านเรือนอยู่เป็นกลุ่ม หลังคาบ้านก็คือชะโงกหิน เครื่องมือทันสมัยคือขวานหิน ไม่ใช่ปากกัดตีน
ถีบ ผ่านไปหลายหมื่นปี จนประมาณ 2,000 ปี ก่อนคริสตกาลก็มีมนุษย์ชนชาติเนบิวเที่ยน มีเทคโนโลยีแกะสลักหิน
ทรายของภูเขาให้หว่าลึกเข้าไปเป็นที่อยู่อาศัย โดยไม่ต้องใช้ชโงกหิน เป็นที่ท่าพิธีกรรมอะไรบางอย่างของตนเอง
โดยเฉพาะเกี่ยวกับคนตายเห็นได้ว่าแบ่งชนชั้นของการเก็บศพ มีที่ท่าพิธีกรรมหลัก ที่เก็บศพหัวหน้าหรืออาจจะเรียก
กษัตริย์ก็คงได้มั๊ง มีประชากรน่าจะหลายแสนคนอยู่ในบริเวณเดียวกัน แต่ก็คงถูกอาณาจักรไบเซนไทล์ที่มาจากทาง
8
แถบอิยิปต์เข้ามารุกราน อาณาจักรเนบีเที่ยนที่อยู่มาพันกว่าปีมีอันต้องล่มสลายลง แต่ก็รับเอาวัฒนธรรม เทคโนโลยี
ความเชื่อมาผสมผสานกัน เช่น เครื่องมือรบ ตัวอักษรภาพ ผสมกับเทคโนโลยีแกะสลัก เทคโนโลยีทองเหลือง และเหล็ก
เพตรา เคยเป็นเมืองหลวงของพวก นาเบเธียนมา ตั้งแต่ศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตกาล ท่าเลที่ตั้งของเมืองอยู่กึ่งกลางของ
เส้นทางการค้าคาบสมุทรอาระเบีย-ลุ่มแม่ น้่าไนล์ และปาเลสไตน์-ลุ่ม แม่น้่าไทกริสและยูเฟรติส เลยไปจนถึงอินเดีย จึง
ท่าให้เป็นเมืองศูนย์กลางเส้นทางการค้าทางบกอีกด้วย เพตราเจริญถึงขีดสูงสุดในช่วง 50 ปีก่อนคริสตกาล จนถึง
คริสต์ศักราชที่ 70 ความเป็นเมืองที่อยู่ห่างไกล และชัยภูมิอันยากแก่การพิชิต จึงท่าให้เมืองมีโอกาสเจริญเติบโตได้อย่าง
ง่ายดายโดยไม่ต้องกลัวศัตรูจากภายนอก
มีเรื่องตามบันทึกของจอมจักรพรรดิอเลกซานเดอร์ว่าขุนศึกของท่านเข้าตีครั้งแรกไม่ส่าเร็จ ท่านเองต้องน่าทัพ
มาตีเองในครั้งต่อมา ชาวโรมันจึงได้เข้ามายึดครองและเป็นการเริ่มต้นยุคที่โรมันครอบครอง ประมาณ 250 ปี เอาคติ
ความเชื่อ สถาปัตยกรรม การจัดการค้า ถนน ตลาด น้่าพุ โรงละคร วัด ศาสนสถาน รูปเคารพ อาหารการกินและใช้
น้่ามันมะกอก มาผสมผสานกับเทคโนโลยีโดยเฉพาะเทคนิควิธีการแกะสลักหินทราย ได้เป็นสถาปัตยกรรมอันยิ่งใหญ่
โดยไม่ต้องใช้ซีเมนต์ ไม่ใช้พลังงานไฟฟ้า แต่ใช้เพียงพลังงานจลจากการทดน้่า ท่าเขื่อนหินกั้นน้่าเปลี่ยนสายน้่า มาทั้ง
เพื่ออุปโภค บริโภค ตัดหิน แกะสลักหินเข้าไปในภูเขา
แผ่นดินไหวใหญ่ในปี 363 (คิดเอาเองอีกแล้วว่า น่าจะเป็นเหตุการณ์เดียวกับที่พระคัมภีร์ไบเบิ้ลเก่าบันทึกว่า
พระเจ้า แยกทะเลแดงให้โมเสส พาชาวยิวหนีอิยิปต์ไปได้) บ้านเรือนภายในเมืองพังทลายลงมา ท่าให้สายน้่าเปลี่ยน
เส้นทาง แม่น้่าที่เคยมีเขื่อนกั้นเหือดแห้ง เขื่อนยิ่งใหญ่ไม่มีประโยชน์ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 เปตรากลายเป็นที่ตั้ง
คริสต์ศาสนามณฑลของบิชอป มีนักบุญเขามาใช้อาคารและที่เก็บศพพระราชาเป็นโบสถ์ประกอบพิธีอยู่หลายร้อยปี จน
เกิดสงครามครูเสด แล้วถูกอิสลามบุกเข้ามายึดพื้นที่นี้ไปครอบครองในคริสต์ศตวรรษที่ 7 แล้วก็เสื่อมถอยมาเรื่อยๆ จน
ลบเลือนหายไปจากผู้คน เมืองเพตราลดความส่าคัญลงและหายไปจากความทรงจ่าของชนชาวอิสลามรอบๆ
9
มีเพียงค่าบอกเล่าต่านานบอกต่อของชาวบ้านว่า ผ่านซอกเขาตระหง่านแคบ จะมีเมืองโบราณลึกลับเป็นพื้นที่
กันดาร เมืองต้องห้าม เมืองลับแล เต็มไปด้วยวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ซ่อนอยู่ ในยามค่่าคืน บางครั้งจะเห็นภาพการตามไฟ
ระยิบระยับ และเสียงสวดโหยหวน
จนกระทั่งปี ค.ศ. 1812 จึงมีนักโบราณคดีชาวสวิส ชื่อ Johan Burckhardt กล้าเข้าไปส่ารวจอย่างจริงจัง และ
เมื่อผ่านซอกเขาแคบเข้าไป ก็ได้เจอความอลังการณ์ ในสภาพที่เกือบสมบูรณ์ ทั้งตัวอาคารและรูปเคารพตามแบบคติ
ความเชื่อโรมัน ถูกกระแสลมทะเลทรายกัดกร่อนไปบ้าง แต่ว่าหลังจากค้นพบแล้วในช่วง 200 ปีมานี้ การกัดกร่อน
เป็นไปอย่างรวดเร็ว เชื่อว่าน่าจะจากฝีมือมนุษย์พวกขุดค้นของเก่า และสิ่งแวดล้อมที่พอมนุษย์เข้าไปมาก็ก่อมลพิษมาก
กร่อนจนอาคารสลักหิน รูปเคารพที่สลักลงในภูเขาทั้งลูกมองเลือนลางมาก โลงหินถูกเปิดเพื่อหาสมบัติศพสมบัติเครือ
ญาติของศพไฮโซ โบราณ
ปี 1985 ที่นี่ถูกประกาศให้เป็นมรดกโลกโดยองค์การ UNESCO และเมื่อปี 2007 ก็ได้ถูกประกาศให้เป็น 1 ใน
7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคใหม่ หลังจากรัฐบาลจอร์แดนเสนอ UNESCO ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก มีกระบวนการ
อนุรักษ์ มีความช่วยเหลือทางการเงินและวิชาการจาก UNDP และ USAID แต่พื้นที่กว้างใหญ่ไพศาล อาคาร สถานที่
ส่าคัญโบราณมากมาย แต่คงต้องใช้เงินและเวลาอีกมากหากต้องการบูรณะให้ดี
10
กินอาหารตอนบ่าย เป็นบุฟเฟ่ต์แบบจอร์แดน บริเวณด้านหน้าก่อนเข้าเพตรา เห็นได้ว่ารัฐส่งเสริมให้ชุมชนแถว
นี้เป็นที่ส่งเสริมการท่องเที่ยว มีที่พัก อพาร์ตเม้นท์ โรงแรม ร้านขายของที่ระลึกอยู่โดยรอบ (จีฮ้าท ไกด์คนขับรถ ก็มีอ
พาร์ตเม้นท์ 1 ห้องที่นี่ด้วย) ค่าครองชีพก็เลยแพงกว่าทั่วไปสักหน่อยด้วย ค่าอาหารร้านที่ไปกินอาหารบ่ายนี้ซึ่งน่าจะ
เป็นร้านแบบทั่วไปส่าหรับนักท่องเที่ยว ไม่ใช่ร้านหรู ราคาต่อหัวก็ 10 JD น้่าซื้อต่างหากขนาดบรรจุ 1.5 ลิตร 2.5 JD
ขนมหวานหลังอาหารคาว ที่เล่าลือกันว่าอร่อยดีมาก ลองชิมดูก็อร่อย รสชาติคุ้นเคยหลายอย่าง เช่น วุ้นสีแดงๆรสหวาน
น่าเปรี้ยว ถั่วกวนเป็นแผ่นอยู่ในถ้วย แป้งหวานต้มมีมะพร้าวนิดหน่อยคล้ายขนมต้มไทยโบราณ
เราเดินทางออกมาที่หุบเขา วาดิรัม (Wadi Rum) กลางทะเลทราย แวะถ่ายรูปบ้างที่สถานีรถไฟกลาง
ทะเลทรายที่สร้างตั้งแต่ 1916 ในตอนบ่าย (ที่แวะก็เพราะว่าประเทศนี้มีรถไฟสายเดียว และสถานีนี้ก็เป็นสถานีเก่าแก่
อนุรักษ์ มองไปทางไหนของทางรถไฟก็เห็นแต่ทะเลทราย กับเทือกเขาสีเหลืองส้ม)
รีสอร์ทที่พักกลางทะเลทราย วาดีรัม (ซึ่งแปลว่า valley แห่งวาร์ดี) แตกต่างจาก valley ในจินตนาการที่ควร
จะเป็นสีเขียว มีสายน้่าไหล แต่ที่นี่คือเป็นหุบเขาที่มีแต่ทรายสีน้่าตาลเข้ม สีเหลืองอ่าพัน และภูเขามหึมาตั้งตระหง่านสูง
เสียดฟ้า ลักษณะภูเขาเป็นเว้าแหว่ง ชั้นๆ รูปร่างเหมือนถูกกัดเซาะ ทราบจากผู้ขับรถน่าทาง จีุฮ้าท (อยู่เมืองไทยน่าจะ
ชื่อคุณศักดิ์สิทธิ์) ว่าที่นี่เมื่อ ประมาณ 1000 ล้านปีก่อน เป็นก้นทะเล กาลเวลาผ่านไปแผ่นผิวโลกค่อยๆยกตัวสูงขึ้น จน
เห็นก้นทะเลอย่างในปัจจุบัน สิ่งที่เหลืออยู่นอกจากรูปร่างธรรมชาติแปลกตาสวยงามแล้ว ก็คือบริเวณทะเลทรายแถบใต้
นี้ มีน้่าใต้ดินมาก ที่นี่สามารถจ่ายน้่าให้ผู้คนได้ตลอด 7 วัน และส่งน้่าไปทางเหนือเพื่อใช้ในอัมมันเมืองหลวงสัปดาห์ละ
2 ครั้งด้วย แต่ว่า!! แถวนี้ก็ไม่มีน้่ามัน ทั้งที่ห่างจากนี่ไป 4-5 พันกิโลเมตรเป็นแหล่งน้่ามันส่งออกของโลก OPEC
กระท่อมกระโจมรีสอร์ท ที่พักคืนนี้ คงตั้งใจออกแบบให้สอดคล้องกับวิถึชีวิตของผู้คนกลางทะเลทราย
รับประทานอาหารพื้นเมือง เป็นแป้งแผ่นปิ้ง “นาน” ซึ่งลักษณะน่าจะคล้ายกันหมดในหมู่คนมุสลิม อินเดีย จิ้มกับถั่ว
กวน ฮัมมุส แตงกวา มะเขือเทศ มะกอกดองชนิดเขียวบ้าง ด่าบ้าง อาจเรียกได้ว่าฟิวชั่น มุสลิม กรีก โรมัน เมดิเตอรเร
เนียนมาแต่โบราณ
11
เช้าวันที่ 30 ธันวาคม 2560 เราเข้าไปนั่งรถสองแถวยี่ห้อโตโยต้า สไตล์จอร์แดน เพื่อท่องทะเลทรายวาดิรัม
หรืออีกชื่อหนึ่งว่า “หุบเขาแห่งพระจันทร์” (The Valley of the Moon) วาดิรัม นี้มีประวัติศาสตร์ยาวนาน ว่ากันว่ามี
มนุษย์อยู่อาศัยมาแล้วตั้งแต่ 8,000 ปีก่อนคริสตกาล แม้ว่าจะมีสภาพแวดล้อมแห้งแล้ง หาสิ่งมีชีวิตอยู่ได้ยากก็ตาม ใน
ทะเลทรายวาดิรัม ก็มีภาพเขียนฝาหนังของมนุษย์ยุคโบราณหลายจุด แสดงให้เห็นวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนสมัยนั้น
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่นี่คือการดูหิน ดูทราย ดูเหยี่ยวทะเลทราย ดูนกบนซอกเขาสูง แมลงปีกแข็ง แมงมุม ที่
มุดทรายร้อนอยู่ได้ ไม่ใช่ท่องเที่ยวดูต้นไม้สายน้่าและสัตว์เขตร้อนเหมือนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่สิ่งที่เหมือนกัน
คือ ป้ายเตือน ค่าเตือน เกี่ยวกับการอนุรักษ์ ก้อนหิน ทราย ต้นไม้ สัตว์ ทั้งที่มีค่าเตือน ป้ายสวยงามด้วยความช่วยเหลือ
จาก UNDP แต่ที่น่าสลดใจก็คือยังเห็นการขีดเขียน ขูดรอยหิน อยู่ในทุกจุดที่จอดแวะท่องเที่ยวก้นทะเลโบราณอัน
ยิ่งใหญ่ ทั้งที่จุดจอดแวะเล่น sand dune ด้วย snow board จุดถ่ายรูปอูฐ จุดหินที่กัดกร่อนเป็นรูปสะพานหินโค้ง ซึ่ง
ท่าให้ดูเหมือนถูกลดค่าลงไปด้วยมือของนักท่องเที่ยวนี่เอง ทั้งๆ ที่ที่นี่เป็นสถานที่ถ่ายท่า และเป็นพื้นที่ประวัติศาสตร์
Lorenze of Arabia (ทะเลทรายแห่งนี้ในอดีตเป็นเส้นทางคาราวานจากประเทศซาอุฯเดินทางไปยังประเทศซีเรียและ
ปาเสลไตน์ในศึกสงครามอาหรับรีโวลท์ ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1916–1918 ณ แห่งนี้ได้ถูกใช้เป็นฐานบัญชาการในการ
รบของ ทีอี ลอว์เรนซ์ และเจ้าชายไฟซาล และต่อมายังได้ถูกใช้เป็น สถานที่จริงในการถ่ายท้าภาพยนต์เรื่อง
“LAWRENCE OF ARABIA” เรื่องราวของประสบการณ์ที่น่าจดจ้าของการต่อสู้ระหว่างอ้านาจอันยิ่งใหญ่สองฝ่าย นั่นคือ
ทะเลทรายแห่งอาระเบียที่ทั้งกว้างขวาง เหนือการควบคุม และเปี่ยมไปด้วยอันตราย กับทีอี ลอว์เรนซ์ผู้ซึ่งเป็นทั้งพระ
ทั้งร็อคสตาร์ ทั้งความเป็นฮีโร่ และความเป็นคนบ้า ได้รับภารกิจไปปฏิบัติหน้าที่ ในการเจรจากับเจ้าชายไฟซาล ผู้น้า
ของอาหรับซึ่งเป็นพันธมิตรกับอังกฤษในการต่อต้านเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)
กินอาหารกลางวันกลางทะเลทราย โดยคนขับรถสองแถวเปิดประทุนที่น่าเราท่องทะเลทรายจัดให้ เป็นอาหาร
ปรุงง่ายๆ ใช้ท่อนไม้เป็นฟืน ก้อนหิน 3 ก้อนเป็นที่ตั้งหม้อต้มสตูผักมะเขือเทศถั่ว ปูเสื่อกินกันในซอกเงาภูเขาใน
12
ทะเลทราย บรรยากาศดูธรรมชาติ คล้ายลูกทุ่งไทยสมัยเมื่อสัก 40 ปีที่แล้ว ต่างกันที่นี่ไม่มีต้นไม้เขียว แต่เป็นทรายหิน
และต้นไม้ทะเลทรายขึ้นอยู่เป็นจุดๆ
ตอนบ่ายเราเดินทางมาที่เมืองท่าชายทะเลแดง อ่าวอะกาบามีความลึกสูงสุดถึง 1,850 เมตร กว้างจากจุดที่
กว้างที่สุด 24 กิโลเมตร และมีความยาวถึงส่วนปลายคือช่องแคบติราน (Straits of Tiran) ประมาณ 160 กิโลเมตร
ชายฝั่งของอ่าวแห่งนี้อยู่ในสี่ประเทศคือ อียิปต์ อิสราเอล จอร์แดนและซาอุดีอาระเบีย อะกาบา (Aqaba) ในจอร์แดน
เมืองอะกาบา (Aqaba) ในจอร์แดน เมืองท่าชายทะเลแห่งเดียวและใหญ่ที่สุดของจอร์แดน เป็นเมืองติดทะเล
แดง ที่เป็นที่ขนถ่ายสินค้า ถ่ายทอดผู้คนวัฒนธรรม มาแต่โบราณ ตั้งแต่มนุษย์วิวัฒนาการจากลิง ตามทฤษฎีของเมนเดล
ในแถบอัฟริกาเหนือ ก็ขยายตัว วิวัฒน เลียบชายฝั่ง มาทางอิยิปต์ มาทางตะวันออกกลาง
รัฐบาลก่าหนดให้เป็นเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ และมีพื้นที่ส่งเสริมศูนย์บริการปลอดภาษี ก็จึงท่าให้มีการ
ออกแบบสถาปัตยกรรม อุตสาหกรรม โดยเฉพาะจากจีน และญี่ปุ่นเข้ามาลงทุนด้านขนส่ง ก่อสร้าง เครื่องใช้ไฟฟ้า อิเลค
โทรนิคส์ การทุ่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวกับท่องเที่ยว ทั้งร้านอาหาร แหล่งบันเทิง บุหรี่ สุรา แต่ไม่รู้ถึงกับมี STD ด้วย
หรือเปล่า และมีพระราชวังใต้ของพระราชาธิบดี ตั้งอยู่ชายอ่าวชายแดนติดกับ อิสราเอลอยู่ด้วย คงจะเป็นทั้งเหตุผลของ
พระองค์เอง และเหตุผลทางความมั่นคงด้วย
(เราโชคดีที่ได้โบกมือทักทายกับมกุฎราชกุมาร แห่งจอร์แดนที่มาทรงพระส้าราญในเรือยอร์ช ในเรือท้องกระจก
ที่พาเราไปดูปะการังสีแดงด้วย)
เรามาหาอาหารค่่ากินที่บริเวณพื้นที่อาคารส่งเสริมการท่องเที่ยวริมอ่าวใกล้โรงแรม ซึ่งไกลจากตัวเมือง
เหตุการณ์ Arab spring ที่ลุกลามไปทั่วแถวนี้ แม้ว่าจอร์แดนจะสงบ ไม่มีเหตุการณ์รุนแรง ไม่มีการเปลี่ยนแปลงระบบ
กษัตริย์ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง แต่ก็ท่าให้ภาคบริการการท่องเที่ยว ซึ่งเป็นรายได้หลัก 1 ใน 5 ของประเทศ
13
ซบเซาลงไปถึง 5 ปี ท่าให้รีสอร์ท ที่พัก ร้านค้า บริการการท่องเที่ยวดูเหงาลงไป เพิ่งจะฟื้นตัวเมื่อ 2016 นี้เอง ท่าให้ร้าน
สะดวกซื้อ ร้านอาหาร ร้านค้าปลอดภาษี ที่จอดเรือยอร์ช ดูไม่คึกคัก หลายร้านปิดไฟ มีนักท่องเที่ยวน่าจะเป็นรัสเซียมา
เดิน มาดื่ม มาสูบบุหรี่บางตา ทั้งที่ร้านอาหารริมท่าเรือยอร์ช ซึ่งมีหลายร้าน เปิดเพียง 3 ร้าน ได้ป้าย Trip Advisor ด้วย
ผู้หญิงที่นี่ดูตามที่เห็น น่าจะไม่ได้อยู่ในภาคบริการมากนัก อาจจะเพราะติดที่ประเพณีวัฒนธรรม ผู้ชายจึงอยู่ที่
โรงแรม ร้านอาหาร ร้านขายของ มีผู้หญิงที่อยู่ในร้านอาหารบ้าง แต่ดูหน้าตาแล้วเป็นคนเอเชียไม่ใช่สตรีชาวอาหรับ
จอร์แดน ยังไม่ได้ดูว่า พยาบาลเป็นผู้หญิงหรือผู้ชาย แต่ดูละครทีวีในห้องพักโรงแรมหมอเป็นผู้ชายทั้งนั้น แม้แต่ในฟาร์ม
ร้านค้า และโรงแรมก็เป็นผู้ชายทั้งสิ้น
สายๆ ของวันสุดท้ายของปี 2017 เดินทางออกจาก อากาบา ระยะทางจากใต้สุดของประเทศ ที่ตั้งเมืองส่งเสริม
เศรษฐกิจพิเศษ ท่องเที่ยว อากาบา ซึ่งติดทะเลแดงอันใต้ทะเลมีสาหร่ายแดงมาก ท่าให้มองทะเลสีน้่าเงินปนแดง ไปทาง
เหนือระยะทาง 245 กม.
เห็นภาพโครงการพัฒนาทะเลทรายเวิ้งว้างกว้างใหญ่สุดสายตา ด้วยถนน 4 เลน พอเข้าสู่ทางเหนือมากขึ้นก็เห็น
ความเขียวเพิ่มขึ้น ต้นไม้พวกอินทผาลัมท่าเป็นฟาร์มปลูก มะเขือเทศแบบฟาร์มปิดน้่าหยด มองเห็นเป็นกระโจมเป็น
ท้องร่อง ปลาสติกปิดหน้าดิน ต้นมะกอก ต้นมะขามเทศ (และบางที่ก็มียูคาลิปตัสจากออสเตรเลียปลูกแทรก) ประเทศ
นี้ต้องใช้น้่าอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด จะใช้ฟุ่มเฟือยอย่างเขตร้อนชื้นไม่ได้ คิดเอาเองคนเดียวนึกถึงพระราชด่าริของใน
หลวงรัชกาลที่ ๙ เรื่องทฤษฎีใหม่ และการจัดการชลประทาน ถ้าหากประเทศเราใช้น้่า จัดการที่ดินอย่างไม่บันยะบันยัง
วันหนึ่งคงไม่มีน้่าใช้เป็นทะเลทรายเหมือนกัน
ย้อนหลังถึงเขตส่งเสริมการท่องเที่ยว เข้าใจว่านโยบายรัฐบาลเมื่อก่อน Arab Spring และช่วง ค. ศ 2000
ใหม่ๆ คงมีแนวคิดสร้าง complex แบบชั้นดี มีที่จอดเรือยอร์ช ร้านค้าของฟุ่มเฟือยปลอดภาษี ร้านอาหารหรู โรงแรม
4:ดาวขึ้นไป มีบัตรสมาชิก Elite การ์ดราคาแพง คล้ายๆ ไอเดียอดีตนายกฯ ทักษิณ แต่ไม่ประสบผลส่าเร็จ ก็เลยเป็น
พื้นที่เหงาๆ นักท่องเที่ยวไม่มากนัก อาจจะเป็นรัสเซีย ยุโรป .. ตอนก่อนออกจากเมืองอากาบารฮ์ มีด่านตรวจศุลกากร
14
ตรวจสินค้าต้องส่าแดงภาษีพวกสินค้าฟุ่มเฟือย เครื่องใช้ไฟฟ้า แต่ก็ดูเจ้าหน้าที่และทหารที่ตรวจก็ไม่เคร่งครัดนัก
สนามบินก่าลังสร้างส่าหรับบินภายในและเครื่องบินเช่าเหมาล่า
ระหว่างการเดินทางขึ้นเหนืออีกครั้งเพื่อมุ่งหน้าไปทะเล Dead Sea คิดในใจว่า การท่าฟาร์มที่นี่สังเกตโดยไม่
แน่ใจนักว่าถูกต้องหรือเปล่า คือคิดว่า คนอาหรับน่าจะไม่นิยมท่าฟาร์มนัก เลยต้องใช้แรงงานจากอิยิปต์และอาฟริกา
เท่าที่ถาม ค่าแรงประมาณ 300 - 350 JD หรือ 15,000-16,500 ก็ถือว่ากลางๆ ส่าหรับค่าครองชีพที่สูงกว่าเมืองไทย
เท่าตัว อาหารมื้อละกว่า 4 JD น้่ามันเบนซิน 95 ลิตรละ 0.95 JD โค้กกระป๋องละ 1.5 JD น้่าขวด 1.5 ลิตร ขวดละ 1
JD และผู้หญิงท่างานน่าจะน้อย อัตราว่างงานภาพรวมของประเทศ จีฮ้าท บอกว่ามีถึง 12% ในขณะที่ประเทศนี้มี
ช่องว่างระหว่างคนจน คนรวย GINI INDEX 33.7 คนว่างงาน 12% บัณฑิตจบปริญญาตรีใหม่ มีเงินเดือนประมาณ 350
JD เท่านั้น ค่าครองชีพสูงเมื่อเทียบ ability to pay อาหารธรรมดาต้องใช้ 5 - 7 JD ส่าหรับผู้ชาย ที่จีฮ้าท ว่าประมาณ
88% ที่ไม่ว่างงาน ส่วนใหญ่ก็ไปเป็นทหาร รองลงมาก็เป็นครู วิศวะ หมอ หรือท่าอาชีพอิสระเช่น อุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับ
การท่องเที่ยวเป็นไกด์ เป็นคนขับรถ
ที่ริมหาดด้านตะวันตกของ Dead Sea หรือ West Bank ได้เห็นช่องว่างทางรายได้ชัดเจนด้วยตาโดยไม่ต้อง
แปลความ GINI คือด้านคนรายได้สูง เศรษฐีอิยิปต์ จอร์แดน มาลงทุนท่ารีสอร์ทตากอากาศ ท่าโรงแรม ท่าสปาโคลน
ในขณะที่คนจนต้องอยู่อย่างล่าบาก เด็กๆริมถนน เนื้อตัวมอมแมม ออกมาช่วยพ่อ (เห็นผู้หญิงออกมาเฝ้าแผงลอยริม
ถนนน้อยมาก) ขายมะเขือเทศ กะหล่่า ส้ม กล้วยจอร์แดนอยู่ริมถนน มาเป็นคนงานในเหมืองแร่โปแตส เพื่อเป็นสินแร่
ท่าปุ๋ยในอุตสากรรมที่คนจนคงได้รับประโยชน์จากเงินเดือนเท่านั้น (มั๊ง) แม่น้่าจอร์แดน ที่เป็นแหล่งให้น้่าใหญ่แก่ทะเล
Dead Sea และเพื่อเป็นการเพาะปลูกก็ถูกแบ่งครึ่งผ่ากลางแม่น้่า แล้วผ่าลงมากลางทะเล Dead Sea ซึ่งกว้างเพียง 21
กม. ยาว 43 กม. โดยประมาณ แต่น้่าไหลทั้งแม่น้่า ทั้งทะเลและน้่าจืดจึงถูกประเทศและคนที่เทคโนโลยีสูงกว่า มีทุน
มากกว่า “ดึง” น้่าไปท่าการเกษตร ไปใช้ภาคบริการ ท่าให้นักวิทยาศาสตร์วัดจากภาพถ่ายดาวเทียมว่าทะเล Dead Sea
ค่อยๆ เหือดแห้งลง เส้นผ่าศูนย์กลางลดลงปีละประมาณ 1 เมตร ทะเลปิด Dead Sea นี้ที่ต่่ากว่าระดับน้่าทะเลปาน
กลางถึงประมาณ 120 เมตร ก็คงต้องต่่าลงไปอีก (กว่ารัฐบาลอิสราเอล จอร์แดน และปาเลสไตน์ จะตกลงกันได้ว่าจะทด
น้้าจากทะเลแดง ระยะทางเกือบ 300 กม. มาที่ Dead Sea ดีหรือไม่ ใครจะลงทุนสัดส่วนเท่าใด จะท้าให้นิเวศของ
ความเข้มข้นเกลือ 37% จนคนไม่จมน้้าเปลี่ยนหรือไม่ ก็คงอีกนาน น้้า ในแม่น้้าจอร์แดนก็ต่างคนต่างสูบไปใช้ต่อไป)
ทะเลก็คงค่อยๆ แห้งทีละนิดลงต่อไป ต่อไปอาจจะเรียกหนองน้่าแทนค่าว่าทะเล พื้นที่ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ๓
ศาสนา การเกิดขึ้นของพระเจ้า โมเสส พระศาสดาเยซู มูฮัมหมัด กางเขน สานุศิษย์ทั้ง ๑๓ รูปของพระเยซู พระแม่
พรหมจารีย์มาเรียซึ่งเป็นพระมารดาแห่งพระบุตรเยซูของพระเจ้า ก็คงด้อยค่าลงไปหรือเปล่าไม่รู้เมื่อทะเล dead sea
เหือดแห้ง
15
ค่่าของวันที่ 31 ธันวาคม 2017 หลังจากลงไปสัมผัสความเค็มของเกลือข้น 37% ในทะเล (ซึ่งก็พบคนไทย
จ้านวนไม่น้อยที่มาส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ที่นี่ด้วย) ในห้องอาหารโรงแรมที่พักริมทะเล เห็นผู้หญิงเพียง 2 คน มาช่วย
ดูแลงาน กาล่าร์ดินเนอร์ ซึ่งโรงแรมจัดเป็นพิเศษส่าหรับค่่าคืนแห่งวันส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ แต่ทั้งสองสุภาพสตรี
ที่มาดูแลห้องจัดเลี้ยง ก็หน้าตาไม่ใช่คนแถวนี้ น่าจะเป็นอิยิปต์ หรือฟิลิปปินส์ ไม่แนุ่ใจ ไม่กล้าถามกลัวเสียมารยาท
การชุมนุมประท้วงในอิหร่าน นับเป็น Arab spring ใหม่สุดในช่วงปีใหม่ ของตะวันออกกลาง แต่ก็เป็นจุดแข็ง
ของจอร์แดน ที่บ้านเมืองสงบ ระบบระบอบไม่ถูกกระทบ ฉลองวันขึ้นปีใหม่ได้คล้ายๆ ชาวโลก ทั้งๆ ที่เป็นมุสลิม 95 %
มีชาวคริสต ไมุ่ถึง 5% แต่เพราะมีเยรูซาเลม มีเบทเลเฮมบ้านเกิดพระเยซู ก็คงเป็นเหตุผลหนึ่งที่ท่าให้ผู้เคร่งทั้ง 3
ศาสนา ยกเว้นดินแดนนี้ไว้
ตอนเช้าของวันแรกแห่งปี 2018 เราได้มีโอกาสขึ้นไปที่เทือกเขาและยอดเขาเนโบ มาดาบา (Madaba) หรือ
เมืองแห่งโมเสก อันเป็นก่าเนิดแรกของ 3 ศาสนาส่าคัญของโลก พื้นที่แถวนี้สูงกว่าและดูเขียวกว่าบริเวณอื่นที่สีเหลือง
น้่าตาลไม่มีต้นไม้
16
อาจจะเพราะใกล้แม่น้่าจอร์แดน มีระบบชลประทานสมัยใหม่ และมีประวัติศาสตร์อันเกี่ยวกับโมเสส ผู้รับพระ
บัญชาจากพระบิดาอันเป็นพระเจ้า พระจิตตานุภาพจากพระเจ้า ที่ยอดเขานี้ซึ่งสูงจากระดับน้่าทะเลปานกลางถึง 900
เมตร ท่าให้สองข้างทางจาก dead sea จุดต่่ากว่าระดับน้่าทะเลปานกลาง 120 เมตร ขึ้นมาบนยอดเขาโมเสสรับสาส์น
มีสวนองุ่น แปลงมะเขือเทศ มะกอก กะหล่่า กล้วยปลูกอยู่เป็นแปลงเขียว แม้ไม่เหมือนที่เพชรบูรณ์ หรือจัดสวยลดหลั่น
แบบสวิสเซอร์แลนด์ แต่ก็ดูแตกต่างจากบริเวณอื่นที่เป็นทะเลทรายภูเขาหินทรายโล้นๆ
โบสถ์อนุสรณ์โมเสส (The Moes Memorial Church) สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ระลึกถึงโมเสส ความที่อยู่ที่สูง
อุณหภูมิลดลงเหลือเลขตัวเดียว ลมแรง มีหมอกฝน แต่เป็นฝนแห้งคือไม่มีความรู้สึกชุ่มชื้นเหมือนแถวฝน tropical
อนุสรณ์แห่งนี้สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในในปี ค.ศ. 300 – 400 ในยุคไบเซนไทน์ ตอนต้นคริสต์ศักราช
ที่อนุสรณ์สถานแห่งโมเสสนี่ เชื่อว่า เป็นที่ที่โมเสสปืนเขาขึ้นมารับพระบัญชาจากพระเจ้า เป็นค่าอธิษฐานจนถึง
ทุกวันนี้ว่า เดชะพระนาม พระบิดา พระบุตร และพระจิตร อาเมน คือด้วยเดชะบารมีของพระเจ้าที่ไม่ต้องเอ่ยนามนั้น
เป็นพระบิดาแห่งโลกแห่งยิว แห่งคนทุกข์ยากทั้งปวง แห่งคนดีที่จะเชื่อในบัญญัติ ๑๐ ประการ ของพระเจ้าเอาไว้ในจิต
เชื่อในเยซูซึ่งจะก่อก่าเนิดจากหญิงพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์ว่าเป็นบุตรของเรา เขาเหล่านั้นจะมีชีวิตนิรันดร์ อาเมน น่า
แปลกที่ค่าว่าอาเมนเป็นค่าศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นเครื่องหมายร่วมของทุกศาสนา จะตรงกับ โอม ในฮินดู อรหันต์ในพุทธ อา
หมัด ในอิสลาม ปัจจุบันผู้ที่มีความเชื่อในประเทศไทยยังติดอักษร โอม ไว้ที่หลังรถหรือบ้านพัก
เชื่อกันว่าเป็นสถานที่ฝังศพของโมเสส (Moes) ผู้น่าชาวยิวซึ่งเดินทางจากอียิปต์มายังเยรูซาเลม เป็นผู้น่าค่า
สอน “บัญญัติสิบประการ” ของพระยะโฮวาห์ลงมาเผยแผ่สู่มนุษย์ จึงท่าให้เม้าท์เนโบเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่มีผู้คนมา
สักการบูชามากที่สุดในจอร์แดน และเมื่อใครขึ้นไปยืนอยู่บนยอดเขาก็สามารถมองเห็นทัศนียภาพ ทั้งแม่น้่าจอร์แดน
ทะเลสาบเดดซี นครเจริโค (Jericho) เมืองเบธเลแฮม และเมืองเยรูซาเล็มหรือที่รู้จักกันเป็นอย่างดีในชื่อดินแดน
ศักดิ์สิทธิ์ (The Holy Land) นักโบราณคดีมีการค้นพบหลุมฝังศพ 6 แห่งจากยุคต่างๆ กัน โดยขุดพบเป็นโพรงใต้พื้นหิน
ของโบสถ์ซึ่งปูด้วยโมเสก นอกจากนี้พบไม้กางเขนพันเป็นเกลียว เป็นชิ้นส่วนที่เก่าแก่ที่สุดชิ้นหนึ่ง ปัจจุบันน่าไปตั้งอยู่
ปลายทางด้านทิศตะวันออกของผนังทิศใต้ของโบสถ์ อนุสรณ์สถานนี้เริ่มได้รับการบูรณะและขุดค้นใหม่ตั้งแต่ ค.ศ.
๑๙๓๓ โดยรัฐบาลหลายรัฐบาล (น่าจะอิตาลี เป็นหัวเรือใหญ่) เป็นเหตุให้ตรงนี้ต้องเสียค่าเข้า อีกคนละ 2 JD ไม่รวมอยู่
ใน Jordan Pass ซึ่งเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวทั้งประเทศของจอร์แดนซื้อครั้งเดียวเข้าทุกที่ท่องเที่ยว ยกเว้นที่นี่
เพราะจดทะเบียนเป็นมูลนิธิกลางบริหาร ไม่ได้เป็นของใครหรือรัฐบาลใด เนื่องจากโมเสส เป็นต้นรากของความเชื่อการ
สื่อกับพระเจ้าของศาสนา คริสต อิสลาม ยิว และเชื่อว่าในช่วงต้นของคริสตศวรรษ แม้มีความขัดแย้ง ชุมชนชาวยิว และ
ชนเผ่าแถวนี้ซึ่งหลายร้อยปีต่อมาเป็นศาสนาอิสลาม จะถูกรุกรานโดยกรีก โรมัน ที่มาผ่านทางอิยิปต์ ก็ยังเคารพนับถือ
สถานที่ฝังศพของโมเสส แห่งนี้ปรากฏเป็นโบสถ์ มีกระเบื้องพื้นโบสถ์เป็นภาพโมเสก เสาหินโบสถ์ ถนนโบราณเพื่อมาท่า
พิธีศักดิ์สิทธิ์ตรงนี้ ตรงที่พระเจ้าชวนโมเสสไปยืนดูบนยอดเขาแผ่มือกว้างออกไปทางเยรูซาเล็ม แล้วพระคัมภีร์บอกว่า
17
พระเจ้าบอกว่าผู้ที่เชื่อในเรา ในเยซูผู้เป็นบุตรแห่งเรา ดินแดนที่เจ้าเห็นข้างหน้า ข้างซ้ายข้างขวา คงจะเป็นรัศมีตามที่แผ่
มือออกมั้งก็น่าจะสัก 150 องศา เป็นดินแดนแห่งพันธสัญญา ผู้ที่เชื่อในเราจะได้ครอบครองและมีชีวิตนิรันดร์
เมืองมาดาบา (Madaba) เป็นเมืองในดินแดนศักดิ์สิทธิ์เยรูซาเล็ม (The Holy Land) และเป็นเมืองที่มีชื่อเรียกอีกหนึ่ง
เมืองแห่งโมเสก เป็นชุมชนในชนบทเชิงเขาที่ดูเรียบร้อยกว่าที่เห็นมาในทะเลทราย ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของกรุงอัม
มานไปราว 33 กิโลเมตร ถือว่าเมืองส่าคัญในอดีตสมัยโรมัน ทั้งเป็นเมืองส่าคัญอยู่บนเส้นทางโบราณที่มีชื่อเสียงและเป็น
ศูนย์กลางท่าโมเสก ที่ทุกวันนี้มีช่างฝีมือโมเสกท่ากันอยู่ ที่นี่มีการตั้งบ้านเรือนเป็นบล๊อกเป็นหมู่เหมือนบ้านจัดสรร ไม่อยู่
กระจัดกระจายเหมือนในทะเลทราย ในเมืองมีถนน ไฟแดง ตลาด คล้ายๆ อ่าเภอในชนบทที่คุ้นตา และมีทั้งชุมชน
อิสลาม มัสยิดใหญ่ อยู่กับชุมชนชาวคริสต มีโบสถ์นักบุญจอร์จ ใหญ่เป็นโบสถ์กรีกออร์โธดอกซ์ อยู่เคียงกันอยู่ด้วยกัน
อย่างสงบสุข การตั้งชื่อผู้คนแถวนี้ก็ยังมีรากค่าที่คล้ายๆกันอยู่ด้วย เช่น จอร์จ กับ จีฮัท กับ เจซุส ว่ากันว่าก็มาจากที่
แปลว่าศักดิ์สิทธิ์ หรือผู้เชื่อในพระเจ้า หรือผู้ไถ่เดียวกัน
โบสถ์กรีก ออโธด็อกซ์แห่งเซ็นต์จอร์จ (Greek Orthodox Church of St. George) บนพื้นโบสถ์มีแผนที่ท่า
ด้วยโมเสกสีสวยงาม เป็นสถานที่ของนักแสวงบุญชาวคริสต มุ่งมาสักการะพระแม่มารี หญิงพรหมจรรย์ที่เป็นพระมารดา
แห่งเยซูพระบุตรแห่งพระเจ้าในศาสนาคริสต ด้วย การบ่ารุงรักษาโดยองค์กรศาสนา จึงต้องช่วยท่าบุญค่าบ่ารุงรักษา 1
JD ต่อคน ซึ่งก็จะได้รับการปฐมนิเทศถึงเส้นทางเดินของโมเสส และวิวัฒนาการของบุตรแห่งพระเจ้าของคนทุกความเชื่อ
ทุกศาสนาแถวนี้ ซึ่งก็คงเป็นเหตุหนึ่งที่ท่าให้ ผู้คนในอ่าเภอนี้ไม่ทะเลาะกัน เนื่องจากเป็นบุตรแห่งพระยะโฮวา เดียวกัน
มีพระแม่มารีเป็นแม่เดียวกัน จะออกมาในชื่อ ศาสดาเยซู ศาสดามูฮัมหมัด หรืออะไร ก็เป็นพระเจ้าเดียวกัน เมื่อเข้าไป
ในโบสถ์คริสต St George จึงเห็นภาพของคนและบาทหลวงที่มีชีวิตประกอบพิธีกรรมจริงๆ กับ ภาพที่เป็นภาพของพระ
แม่มารี และภาพการประดับตกแต่งพื้นและ ผนังโบสถ์ด้วยโมเสก กระจกสีประดับประดา รับแสงตะวัน และภาพของ
18
เยซูซึ่งยอมทนทุกข์ทรมาณบนกางเขน เพื่อเป็นผู้รับบาปและความทุกข์ แทนคนในโลกที่ยังมีบาป มีทุกข์ ปลดเปลื้องคน
เหล่านั้นโดยน่าสู่พระเจ้า
เส้นทางจากมาดาบา มาเข้าสู่อัมมานเมืองหลวงของประเทศ เป็นถนนไฮเวย์ 6 เลน แม้ฝนและหมอกมาก
อุณหภูมิ 7 องศาเซลเซียส คนขับรถที่ชื่อ จีฮาส บอกว่านี่เป็นเรื่องธรรมดาของพื้นที่ราบสูง ซึ่งก็เป็นค่าแปลของค่าว่าอัม
มานด้วย แบบนี้คือมีความแปรปรวนอากาศมาก มีความเย็น 10 -20 องศาตลอดปี หนาวก็อาจจะติดลบ มีฝนแห้ง ลม
แรง บางทีหิมะ การปลูกบ้านเรือนจึงต้องท่าเป็นอิฐเป็นหินรูปกล่อง เพราะถ้าเป็นวัสดุสังกะสีจะปลิวว่อน
ประเทศนี้ไม่มีการเก็บเงินค่าทางด่วน toll way เพราะเก็บภาษี VAT สูงถึง 16% ก็คงเป็นการสุ่งสัญญาณ ว่า
รัฐบาลเก็บภาษีมา ก็ต้องจัดสาธารณูปโภค และสวัสดิการให้ประชาชนทั้งหมด จะมาเก็บเพิ่มจากประชาชนอีกไม่ได้ วิธี
คิดแบบนี้น่าจะเหมือนที่ฝรั่งเศส และประเทศแถวสแกนดิเนเวีย

Más contenido relacionado

Más de Chuchai Sornchumni

ChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChuchai Sornchumni
 
Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Chuchai Sornchumni
 
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศChuchai Sornchumni
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527Chuchai Sornchumni
 
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริการ่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกาChuchai Sornchumni
 
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017Chuchai Sornchumni
 
ช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นChuchai Sornchumni
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกChuchai Sornchumni
 
ธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพChuchai Sornchumni
 
โอกาสขยายงานSubacute chuchai
โอกาสขยายงานSubacute chuchaiโอกาสขยายงานSubacute chuchai
โอกาสขยายงานSubacute chuchaiChuchai Sornchumni
 
แจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุข
แจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุขแจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุข
แจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุขChuchai Sornchumni
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCChuchai Sornchumni
 
MMWR elimination of mtct thailand june 2016
MMWR elimination of mtct thailand june 2016MMWR elimination of mtct thailand june 2016
MMWR elimination of mtct thailand june 2016Chuchai Sornchumni
 
แนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
แนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิแนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
แนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิChuchai Sornchumni
 
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพการบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพChuchai Sornchumni
 
UHC in 11 countries and Thailand reform
UHC in 11 countries and Thailand reformUHC in 11 countries and Thailand reform
UHC in 11 countries and Thailand reformChuchai Sornchumni
 
ประกาศสำนักงาน เกณฑ์การตรววจประเมินเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการทีรับการส่...
ประกาศสำนักงาน  เกณฑ์การตรววจประเมินเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการทีรับการส่...ประกาศสำนักงาน  เกณฑ์การตรววจประเมินเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการทีรับการส่...
ประกาศสำนักงาน เกณฑ์การตรววจประเมินเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการทีรับการส่...Chuchai Sornchumni
 

Más de Chuchai Sornchumni (20)

ChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllness
 
Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015
 
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
 
Welfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhcWelfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhc
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
 
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริการ่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
 
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
 
Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559
 
ช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็น
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุก
 
Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016
 
ธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพ
 
โอกาสขยายงานSubacute chuchai
โอกาสขยายงานSubacute chuchaiโอกาสขยายงานSubacute chuchai
โอกาสขยายงานSubacute chuchai
 
แจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุข
แจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุขแจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุข
แจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุข
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
 
MMWR elimination of mtct thailand june 2016
MMWR elimination of mtct thailand june 2016MMWR elimination of mtct thailand june 2016
MMWR elimination of mtct thailand june 2016
 
แนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
แนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิแนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
แนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
 
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพการบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
 
UHC in 11 countries and Thailand reform
UHC in 11 countries and Thailand reformUHC in 11 countries and Thailand reform
UHC in 11 countries and Thailand reform
 
ประกาศสำนักงาน เกณฑ์การตรววจประเมินเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการทีรับการส่...
ประกาศสำนักงาน  เกณฑ์การตรววจประเมินเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการทีรับการส่...ประกาศสำนักงาน  เกณฑ์การตรววจประเมินเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการทีรับการส่...
ประกาศสำนักงาน เกณฑ์การตรววจประเมินเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการทีรับการส่...
 

2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง

  • 1. 1 บันทึกการเดินทางจอร์แดนปีใหม่ ๒๕๖๑ ราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า จอร์แดน ประเทศเล็กๆ ในตะวันออกกลาง ปกครองด้วย ระบบกษัตริย์ มีพรมแดนติดกับประเทศซีเรียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอิรักทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดต่อกับ ซาอุดีอาระเบียทางทิศตะวันออกและทิศใต้ รวมทั้งติดต่อกับอิสราเอลและดินแดนที่อิสราเอลครอบครองทางทิศ ตะวันตก ระดับการพัฒนาก็อยู่ในโลกที่สาม เคยถูกปกครองโดยอังกฤษ ก็เลยใช้ภาษาอังกฤษเป็นทางการภาษาที่สอง รองจากภาษาอาหรับ อยู่ในท่ามกลางความขัดแย้งปัญหาความรุนแรงในประเทศรอบๆ ไม่ว่าจะเป็นซีเรีย ซาอุดิอราเบีย อิสราเอล อิสราเอลที่เกี่ยวกับการแย่งดินแดนอันเป็นประวัติศาสตร์ซ้อนประวัติศาสตร์ ประชากร 6.57 ล้านคน ครึ่งหนึ่ง เป็นชาวปาเลสไตน์ เชื้อชาติ อาหรับ ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 95 ที่เหลือก็เป็นคริสต์ คืนแรกของการมาที่จอร์แดน อัมมัน หลังจากที่ check in ที่โรงแรม 4 ดาว ชื่อ Geneva Hotel ก็ออกมาเดิน. ซื้อ SIM card ในท่ามกลางอากาศ แห้ง-ลมแรง 57 องศาฟาเรนไฮต์ (11-12 องศา เซลเซียส มั๊ง) ราคา 20 JD หรือ 992 บาทไทย ที่ 4 GB (1 JD = 46.6 บาทไทย ในวันที่ 27 ธันวาคม 2560) ราคาที่นี่ก็ถือว่าแพงกว่าเมื่อเทียบกับที่ เมืองไทย เช้าวันแรกของการมาท่องเที่ยวในแผ่นดินนี้ ออกจากอัมมานด้วยรถเช่า MPV ยี่ห้อฮุนได ไปตามถนนไฮเวย์ ใน เช้าของวันแรก 28 ธันวาคม 2017 เดินทางจากที่พักในเมืองหลวงอัมมัน ไป Jarash ซึ่งอยู่ไม่ไกลนัก (น่าจะระยะทาง ประมาณ กรุงเทพ-ฉะเชิงเทรา) แต่สภาพสองข้างทางเป็นทะเลทรายสลับกับเนินเขาสูง-ต่่า
  • 2. 2 คุยกับ “จีฮาส” ซึ่งเป็นทั้งคนขับรถและ Guide ตลอด trip นี้ ที่นี่มีปัญหาเรื่องน้่า ทั้งอุปโภคบริโภค แม้ว่าจะมี เขื่อนใหญ่ 16 เขื่อน และกระทรวงน้่าและชลประทาน (Ministry of Water and Irrigation) ของจอร์แดน ได้ส่ง เจ้าหน้าที่ด้านเทคนิคมาศึกษาดูงานการท่าฝนหลวงของไทย เพื่อน่าไปประยุกต์ใช้กับภาวะขาดแคลนฝนในจอร์แดนแต่ก็ ต้องจ่ากัดเรื่องการใช้น้่า ทุกบ้านปลูกบ้านเป็นรูปกล่องๆ สี่เหลี่ยมเหมือนกันต่างกันที่ความสูงของบ้านอาจจะ 3 ชั้นบ้าง หรือมากชั้นกว่านั้นบ้าง แต่ที่ต้องมีก็คือ “ที่เก็บน้่าของบ้าน” ไว้ด้วยบนหลังคาดาดฟ้าบ้าน เพราะจะมีการจ่ายน้่าประปา สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ไม่ใช่จ่ายให้ตลอดเวลา ตั้งแต่มีปัญหาความขัดแย้งในตะวันออกกลางโดยเฉพาะแถบฝั่งแม่น้่าจอร์แดนในตอนเหนือของประเทศ ท่าให้มี ผู้อพยพชาวปาเลสไตน์กว่า 1.2 ล้านคนทะลักมาอยู่ในจอร์แดน มีค่ายอพยพมาตั้งกว่า 60 ปีแล้วเป็นค่ายขนาดใหญ่มาก ตั้งอยู่ริมถนนไฮเวย์ยาวน่าจะประมาณ 2 กม. ลึกเข้าไปเป็นเนินเขา เป็นปัญหาที่ตามมาเรื่องภาระของรัฐบาล และ องค์กรนานาชาติ ที่จะต้องจัดหาที่ตั้งถิ่นฐานให้ ทั้งที่ประเทศเองก็มีปัญหาความเหลื่อมล้่า ผลิตภาพของแรงงานไร้ฝีมือ อย่างไรก็ตาม แม้ว่ารอบๆ ประเทศจะมีปัญหาความขัดแย้ง ปัญหา Arab spring ทั่วไปหมดทั้งตะวันออกกลาง และอาฟริกาตอนบน (อันเนื่องมาจากเงินเฟ้อ ว่างงาน อาหารแพง ช่องว่างรายได้ การเมืองการปกครอง โซเชียลเนต เวิร์ค คล้ายๆกันหมด) แต่ประเทศนี้ก็สงบ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ไม่มีการประท้วงตามท้องถนน ไม่มีการ เข่นฆ่ากันเอง ในกลุ่มที่เห็นต่าง นักท่องเที่ยวสามารถไปเที่ยวตามแหล่งท่องเที่ยวได้อย่างรู้สึกปลอดภัย ประเทศนี้เต็มไปด้วยอารยธรรม ได้รับการกล่าวถึงเป็นอย่างมากในฐานะที่เป็นประเทศศูนย์กลางประวัติศาสตร์ และศาสนา มีการพูดถึงดินแดนของจอร์แดนหลายส่วนในทั้งคัมภีร์ กุรอาน และในคัมภีร์ไบเบิล โดยเฉพาะความ เกี่ยวข้องกับพระศาสดาต่าง ๆ ศาสนายูดาห์ซึ่งชาวยิวมีความเชื่อว่า พระเจ้าทรงสร้างโลกและมนุษย์คู่แรกเมื่อประมาณ 4,000 ปีก่อนคริสตกาล และถือว่าโมเสสคือศาสดา ผู้ให้ก่าเนิดศาสนายูดาห์ เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล พระ เยซูเจ้าของศาสนาคริสต์ มุสลิมที่เชื่อว่าพระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ จุดประสงค์ของการด่ารงอยู่ คือ เพื่อรัก
  • 3. 3 และรับใช้พระเป็นเจ้า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู ระหว่างทางไป Jarash ซึ่งใช้เวลาประมาณ 1.45 ชั่วโมง คุยกันเรื่องทั่วไป ทางตอนเหนือของประเทศนี้ ซึ่งมีแม่น้่าจอร์แดน ที่ไหลลงสู่ทะเล Dead Sea แม้ว่าจะถูกแบ่งน้่าจืดไปใช้ใน อิสราเอลด้วย แต่ก็เป็นแหล่งผลิตอาหารเกษตร ซึ่งมะเขือเทศ กะหล่่า มะกอก องุ่นและเหล้าองุ่น แตงกวา ก็เป็น สินค้าออกของประเทศ อันดับ 4 รองจาก ปุ๋ย แร่ธาตุ และภาคบริการการท่องเที่ยวสินค้าจากการท่องเที่ยวเช่นโคลน จากทะเล Dead Sea ระบบบริการสาธารณสุข น่าจะยังไม่ UHC คนยังต้องจ่ายเงินออกจากกระเป๋ามากเมื่อยามเจ็บป่วย การควบคุม บริโภคบุหรี่น่าจะยังไม่เข้มข้น คนสูบบุหรี่ที่ไหนก็ได้แม้แต่ในโรงแรมล้อบบี้ และส่าหรับ บารากู่ ยาสูบที่น่ามาใช้กับ อุปกรณ์ที่ใช้เสพที่มีชื่อเรียกว่า ฮุคคา hookah อุปกรณ์นี้ท่าเป็นขวดแก้วออกแบบสวยงามแบบอาหรับมีน้่าใส่อยู่ข้างใน เวลาสูบให้ควันผ่านน้่าก่อนถึงผู้สูบ ก็เห็นสูบกันทั่วไปกลิ่นหวานเอียนฟุ้ง (ประเทศไทยห้าม) ระหว่างทาง เห็นมหาวิทยาลัยใหญ่มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า มหาวิทยาลัยฟิลาเดลเฟีย นึกว่าเป็นสาขาของ มหาวิทยาลัยจากสหรัฐอเมริกา เลยถามจีฮาท ว่าระบบการศึกษาที่ประเทศนี้เป็นยังไง ถึงได้เปิดกว้างให้ประเทศ ตะวันตกเข้ามาเปิดสถาบันอุดมศึกษา แบบนี้ จีฮาท บอกว่า ไม่ใช่ ไม่เกี่ยวกับระบบอะไรหรอก ชื่อ Philadelphia เป็น ชื่อเดิมของกรุงอัมมาน เพราะว่าในพระคัมภีร์เก่า (Old Testament) มีการเอ่ยชื่อของ “Rabbath-Ammon” เมือง หลวงแห่งราชอาณาจักร Ammonites ซึ่งก็ราวๆ 1,200 ปีก่อนคริสตกาล และเมื่อชาวกรีก-โรมันเข้ามาปกครองดินแดน แห่งนี้ ก็เปลี่ยนชื่อเมือง อัมมาน เป็น “Philadelphia” ซึ่งภาษากรีก แปลว่า “ความรักดั่งพี่น้องร่วมสายโลหิตเดียวกัน” ต่อมาพวก คริสเตียนมาครอบครองก็ยังใช้ชื่อนี้ จนกระทั่งมุสลิมได้แผ่อ่านาจเข้ามาจากคาบสมุทรอาราเบียนและเข้ายึด ครอง จึงเปลี่ยนชื่อกลับมาเป็น “กรุงอัมมาน” อีกครั้งหนึ่ง สาธารณูปโภค ถนนดี รถไฟเฉาไปนานแล้วกว่า 60 ปี (คือมีเส้นทางรถไฟทอดยาว เกือบ 6,000 กม. จากซาอุดิ อารเบียพาดไปจนถึงตุรกี สร้างโดยอังกฤษสมัยอาณานิคมปัจจุบันใช้ขนสินค้าเท่านั้น) รถเมล์สาธารณะไม่ค่อยมีไม่ค่อยดี
  • 4. 4 นักท่องเที่ยวใช้รถเช่าเหมา เป็นรถตู้ขนาดเล็ก รถ MPV ชาวบ้านใช้รถส่วนตัว ยี่ห้อญี่ปุ่น เกาหลี มีของฝรั่งเศส เยอรมัน ประปราย ค่าเช่ารถ และราคาน้่ามันรถยนต์ แพงเมื่อคิดเทียบจากเงินจอร์แดนดีน่าร์มาเป็นค่าเงินบาท เพราะต้องน่าเข้า ทั้งรถและน้่ามัน ประเทศนี้ไม่ได้เป็นประเทศผลิตน้่ามัน ไฟฟ้า 220 – 230 volt แต่ปลั๊กไฟมีหลากหลายมาตรฐาน ของ รูเสียบจริงๆ (เวลาจะชาร์ตไฟมือถือต้องควานหา universal adaptor กันวุ่น) เมืองเจอราช (Jerash) ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศจอร์แดน ติดชายแดนซีเรีย ตั้งชื่อตามชื่อมหาราชินี สม ยานามหนึ่งคือ “เมืองพันเสา” เป็นอดีต 1 ใน 10 หัวเมืองเอกด้านตะวันออกอันยิ่งใหญ่ของอาณาจักรโรมัน โดย สันนิษฐานว่าเมืองนี้น่าจะถูกสร้างในราว 200-100 ปีก่อนคริสตกาล ต้องซื้อตั๋วเพื่อเข้าชมก่อน ราคา 8 JD (ซื้อ JD pass แล้ว ก็เลยแสดง QR code ให้คนเก็บตั๋วดู) ได้เห็นความอลังการงานสร้าง ของมหาอ่านาจยุคต่างๆ ตั้งแต่ยุค ประวัติศาสตร์โบราณ ไบเซนไทน์ โรมัน คริสตกาล มุุสลิม สร้างซ้อนทับขยับขยาย อยู่เต็มหุบเขาเนินเขา ความยิ่งใหญ่ ของสถาปัตยกรรมโรมัน จัตุรัสโอวัล (Oval Plaza) ซึ่งเป็นหนึ่งในสถาปัตยกรรมที่ออกแบบได้อย่างน่าทึ่งของชาวโรมัน ล้อมรอบด้วยเสาคอรินเทียม (Corinthium) กว่า 160 ต้น เป็นรูปวงรี พื้นตรงกลางปูด้วยหินขนาดใหญ่ ในอดีตใช้เป็น สถานที่พบปะสังสรรค์ของชาวเมือง และเป็นจุดเชื่อมระหว่างถนนทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก จึง ท่าให้ความวิจิตรงดงามของเมืองกลับมาได้ความสนใจ และถือว่าเป็นสถาปัตยกรรมแบบโรมันที่ยิ่งใหญ่ที่สุดอีกแห่งหนึ่ง ในตะวันออกกลางเลยก็ว่าได้ จัตุรัสขนาดใหญ่ ถนนคาร์โด (Cardo Street) ความอลังการของวิหารบนเนินเขา โรงละคร ทั้งทางทิศเหนือและทิศใต้ โรงอาบน้่าที่ใช้ระบบชลประทานโบราณทดน้่ามาให้ชาวเมืองชนชั้นสูงอาบน้่า ชนชั้นล่างอาบ ต่อจากชนชั้นสูง (คลองทดน้้า ที่เห็นตอนนี้เหลือเพียงสภาพคล้ายท้องร่องแห้งๆ ไม่เห็นมีน้้าไหลสักหยด) หรือน้่าพุใจ กลางเมือง โรงมหรสพฝั่งเหนือ (North Theatre) ที่ถูกสร้างขึ้นราวปี ค.ศ. 160 ซึ่งอยู่ทิศตรงข้ามกับโรงมหรสพฝั่งใต้ (South Theatre) แม้จะมีขนาดเล็กกว่าและตั้งอยู่คนละทิศ แต่ภายในนับว่าอลังการไม่น้อย ตัวโรงมหรสพท่าจากหิน ก้อนขนาดใหญ่ โดยมีอัฒจันทร์หันหน้าไปสู่เวทีทางทิศเหนือ เดินกลับจะออกจากบริเวณก็ไปดูวิหารเทพีอาร์เทมิส (The Temple of Artemis) มีเสาขนาดใหญ่ สังเกตเห็นได้แต่ไกล วิหารแห่งนี้ เชื่อว่าเป็นเทพีแห่งดวงจันทร์และการล่าสัตว์ และเป็นบุตรสาวของมหาเทพซุส ซึ่งเป็นน้องสาวฝาแฝดกับเทพอพอลโล หรือเทพแห่งพระอาทิตย์ และยังเป็นหนึ่งใน
  • 5. 5 สามเทพีพรหมจรรย์ (อีกสององค์ เทพีอาธีนา หรือเทพีแห่งความเฉลียวฉลาด รวมถึงแห่งศิลปะทุกแขนง และสัญลักษณ์ แห่งการต่อสู้ และเทพีเอสเทีย ซึ่งเป็นเทพีแห่งการครองเรือน หรือเทพแห่งครอบครัว) เมืองแห่งนี้เจอแผ่นดินไหวหลายครั้ง กระทั่งครั้งใหญ่สุดได้ถล่มและท่าลายเมืองไปแทบราบคาบ จนกลายเป็น เมืองที่ถูกลืมไปเป็นพันปีและถูกทิ้งร้าง จนมีคนมาขุดพบใน ค.ศ.1878 ต่อมารัฐบาลจอร์แดนได้กลับมาฟื้นฟูบูรณะนคร โรมันแห่งนี้ให้กลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง สัจจธรรมหนึ่งที่คิดขึ้นมาขณะเดินจนเมื่อยในพื้นที่กว้างใหญ่ไพศาล คือ แม้แต่มหาเทพ Zeus ผู้ก้าเนิดโลก ก็ยัง ไม่พ้นกฎไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา มหาวิหารอันยิ่งใหญ่ ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดสมัยนั้น เมื่อ พันกว่าปี ถึง สามร้อยกว่าปี ก่อนคริสตกาล ท้าด้วยหินทรายชั้นดี หินอัญมณีอันแวววาว และคนในยุคนั้นเชื่อว่ามีพลังเร้นลับด้วยก็ยังถูกท้าลายลงมา กองก่ายเป็นพะเนินเทินทึก รอการบูรณะอยู่แทบเท้านักท่องเที่ยว ประมาณ 12:00 น. เวลาของจอร์แดนซึ่งช้ากว่าประเทศไทย 5 ชั่วโมง ออกเดินทางระยะทาง 245 กม. จาก เหนือสุดของประเทศ ที่เป็นที่ตั้งของ Jarash ลงมาทางใต้ของประเทศ ผ่านถนน 4 เลน เป็นถนนระหว่างประเทศ แนวคิดคล้ายๆ ถนนสายเอเชีย ถนนผ่านทะเลทรายเวิ้งว้าง ไม่มีต้นไม้ให้เห็น สีสองข้างทางจึงเป็นน้่าตาลเข้ม ถนนคง ไม่ได้รับการบ่ารุงรักษาโดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกลกลางทะเลทราย ก็เลยสภาพผิวขรุขระเป็นระยะ แม้ไม่เดินรถสวนกัน แต่ก็ใช้เวลา กว่า 5 ชั่วโมง แวะกลางทางเป็นปั๊มน้่ามัน (ไม่เห็นมีปั๊มแก๊ส) อาหารกลางวันก็คือร้านอาหารในปั๊มกับที่ขายของที่ระลึกในปั๊ม นั่นเอง (ร้านชื่อ เพตราคอมเพล็กซ์ ที่อาจจะเล็กกว่า และเรียบร้อยน้อยกว่า จิฟฟี่ ใน ปตท. ประเทศเรามาก) กินข้าว หมก Lamp ข้าวหมกไก่ย่าง แผ่นแป้งที่น่าจะเรียกว่านานเหมือนอินเดีย ฮัมมุสถั่วกวนเค็มนิดหน่อย ปุแล่มๆ ชีสต์ขาว ชีสต์สีเหลืองเข้มเค็มมาก รสชาติคุ้นเคยคล้ายกินอาหารในร้านอิสลามบ้านเรา ราคาชุดละ 17 JD หรือน้่าขวด 1.5 ลิตร ราคา 1.5 JD ทะเลทรายน้่าหายากเลยแพง (ถ้าเราถือว่าไปเมืองนอกเอาราคาโค้กเป็นดัชนีราคาผู้บริโภค ก็แปลว่า ค่า ครองชีพที่นี่สูงกว่าประเทศไทยประมาณ 2.5 เท่าโดยประมาณ) ส่วนข้าวเม็ดยาวแบบ บาสมาตี สมราคาเพราะจานใหญ่ ใส่เครื่องเทศเยอะ (และได้ยินว่าข้าวก็ต้องน้าเข้าจากอินเดียและ USA) ไก่ย่างแบบแขก (คือคล้ายไก่ปิ้งทางอีสานแห้งๆ มีกลิ่นเครื่องเทศ) ก็อร่อยดี โค้กกระป๋องของน่าเข้า 1 จอร์แดนดีน่าร์ ก็ชุ่มฉ่่าดี
  • 6. 6 อิ่มแล้วเดินทางลงมาใต้ๆ หน่อย ท่ามกลางทะเลทรายบ่ายแดดเปรี้ยง ก็จะเห็นฟาร์มเลี้ยงไก่เป็นกระโจมแบบ ปิด (ถ้าเป็นแบบเปิด ไก่อาจจะทนสภาพแวดล้อมไม่ไหวมั๊ง) เห็นมีเหมืองแร่ โปแตส ฟอสเฟต โรงปูน โรงท่าปุ๋ย (คิดเอา เองว่า) ก็คงไม่ต้องศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมอะไรมั๊ง เพราะเป็นโรงงานโผล่ขึ้นมาในที่ว่างๆ ของทะเลทราย ผู้คนมี น้อย อยู่กันเป็นหย่อมๆ ดูเหมือนจะใช้น้่าจืดใต้ดินมาเพื่ออุปโภค บริโภคอยู่มากเหมือนกันเพราะน่าจะไม่มีแหล่งน้่าอื่น ไฟฟ้าก็เห็นมีแผงโซล่าร์เซลกันมากตามหลังคากระโจมและด้านบนของอาคารรูปสี่เหลี่ยมเตี้ย เรา 5 คน มาถึงที่พักตอนเกือบค่่าที่หุบเขาที่เป็นที่ตั้งใกล้ เพตรามรดกโลก ภาษาดั้งเดิมเรียกหุบเขาอันอุดม สมบูรณ์นี้ว่า วาฮดีห์ มูซา ที่พักชื่อ Old village ตามที่เขาติดป้ายไว้ก็ว่า ที่นี่ในอดีตเป็นหมู่บ้านโบราณเล็กๆ ในอดีต เหมือนหมู่บ้านชานเมือง Petra แล้วก็ถูกทิ้งร้างไปหลายร้อยปีตามการโรยราของเพตรา แล้วก็ถูกน่ามา Renovate เป็น รีสอร์ท สถานที่พักของนักท่องเที่ยว การตกแต่งห้องพักจึงตั้งใจออกแบบให้คล้ายๆ ในอดีต (และคิดเอาเองว่า คง ต้องการให้นักท่องเที่ยวมีความรู้สึกว่า ตนเองเหมือนกับพ่อค้านักเดินทางโบราณที่อาจจะมาแวะพักที่นี่เมื่อหลายพันปี ก่อนด้วย) คือประดับตกแต่งด้วยหินทราย และใส่ Facilities สมัยใหม่เข้าไป ก็เห็นมีนักท่องเที่ยวเอเชียไม่มากนัก ส่วน ใหญ่เป็นหน้าตาภาษาพูดฟังไปทางยุโรป มีญี่ปุ่นบ้าง คนไทยบ้าง ก็น่าจะประปราย Petra night เป็นการขายการท่องเที่ยว (ซื้อ Jordan Pass มาแล้วล่วงหน้า เลยไม่ต้องตีตั๋ว ใช้โชว์ QR code ได้เลย) ด้วยการน่าเหตุการณ์จ่าลองเมื่อครั้งที่นี่รุ่งเรืองสุดๆ ซึ่งน่าจะเป็นประมาณ 300 ปีก่อนคริสตกาล ที่นักบวชสมัย
  • 7. 7 นั้น จุดโคมไฟแสงสว่างไปตามทางช่องแคบๆ ระหว่างภูเขาสูงที่แยกออกจากกัน อันเนื่องจากการยกตัวสูงขึ้นของเปลือก โลก เหมือนเอามือดันด้านล่างก้อนขนมปัง แล้วยกขึ้นด้านบนจะแยกปริ ออกจากกัน เป็นทางยาวกว่า 1 กิโลเมตร เขาสู่ วิหาร ที่มีความอลังการแบบกรีกโรมัน การจุดเทียนราย ไปจนถึงหน้าวิหาร ซึ่งน่าจะต้องใช้เทียนเป็น หมื่นดวง ส่องแสง ระยิบระยับร่าไร ในความมืด ท่ามกลางแสงจันทร์ข้างขึ้น และนักท่องเที่ยวชาติต่างๆ จากยุโรป ญี่ปุ่น ไทย แต่จีนน่าจะ น้อย จ่านวนน่าจะกว่า 7-8 ร้อยคน ที่เดินเป็นแถวยาว ถึงแล้วก็รับฟังพิธีกรรม ที่น่าจะเป็นการร่ายโศลก ประกอบเสียง ขลุ่ยโหยหวนอะไรบางอย่าง และ (คิดเอาเองอีกแล้ว) น่าจะเป็นต้นรากร่องรอยพิธีกรรมของในโบสถ์คริสต์ อิสลาม (ประวัติศาสตร์ เปลี่ยนได้ด้วยอิทธิพลการเปลี่ยนแปลงภูมิศาสตร์ของพื้นผิวโลก - มนุษย์และความขัดแย้งทาง เผ่าพันธ์ุผลประโยชน์ – วิวัฒนาการที่เป็นไปตามการพัฒนา) ในตอนกลางวันของวันที่ 29 ธันวาคม 2560 เรากลับมาที่ทางเข้า เพตรา มหานครศิลาทรายสีชมพู หรือ Red Road City เมืองมรดกโลกอีกครั้ง ที่ประตูทางเข้าเปิดรูป QR code ของ JD pass จากสมาร์ทโฟนให้ผู้ตรวจบัตรแล้ว การเดินเข้าไปดูโบราณสถานมรดกโลก Petra ขี่ม้าลัดเลาะไปตามหุบเขา ค่าทิปขี่ม้าคนละ 20 JD แล้วเดินเท้าเข้าสู่รอย แยก ของเปลือกโลก (Siq) ที่ซ่อนความยิ่งใหญ่ตระการตาของมหาวิหารปราสาททรายสีชมพู เอล คาซเนห์ ต้องตะลึงกับ ความยิ่งใหญ่ของธรรมชาติผนวกกับวิวัฒนาการอันยิ่งใหญ่ของมนุษยชาติปรากฏแก่สายตา สถานที่แห่งนี้ตามที่อ่านจาก Museum ด้านหน้าก่อนเข้าประตูตรวจบัตร มีมนุษย์สมัย นีโอแอนติค คือมนุษย์ หินใหม่มาตั้งถิ่นฐาน เมื่อ 70,000 ปี ที่แล้ว ซึ่งก็เรียกได้ว่าเป็นวิวัฒนาการขั้นแรกๆ ที่จากอยู่แบบแยกๆ เหมือนสัตว์ เดรัจฉานทั่วไป รู้จักตั้งบ้านเรือนอยู่เป็นกลุ่ม หลังคาบ้านก็คือชะโงกหิน เครื่องมือทันสมัยคือขวานหิน ไม่ใช่ปากกัดตีน ถีบ ผ่านไปหลายหมื่นปี จนประมาณ 2,000 ปี ก่อนคริสตกาลก็มีมนุษย์ชนชาติเนบิวเที่ยน มีเทคโนโลยีแกะสลักหิน ทรายของภูเขาให้หว่าลึกเข้าไปเป็นที่อยู่อาศัย โดยไม่ต้องใช้ชโงกหิน เป็นที่ท่าพิธีกรรมอะไรบางอย่างของตนเอง โดยเฉพาะเกี่ยวกับคนตายเห็นได้ว่าแบ่งชนชั้นของการเก็บศพ มีที่ท่าพิธีกรรมหลัก ที่เก็บศพหัวหน้าหรืออาจจะเรียก กษัตริย์ก็คงได้มั๊ง มีประชากรน่าจะหลายแสนคนอยู่ในบริเวณเดียวกัน แต่ก็คงถูกอาณาจักรไบเซนไทล์ที่มาจากทาง
  • 8. 8 แถบอิยิปต์เข้ามารุกราน อาณาจักรเนบีเที่ยนที่อยู่มาพันกว่าปีมีอันต้องล่มสลายลง แต่ก็รับเอาวัฒนธรรม เทคโนโลยี ความเชื่อมาผสมผสานกัน เช่น เครื่องมือรบ ตัวอักษรภาพ ผสมกับเทคโนโลยีแกะสลัก เทคโนโลยีทองเหลือง และเหล็ก เพตรา เคยเป็นเมืองหลวงของพวก นาเบเธียนมา ตั้งแต่ศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตกาล ท่าเลที่ตั้งของเมืองอยู่กึ่งกลางของ เส้นทางการค้าคาบสมุทรอาระเบีย-ลุ่มแม่ น้่าไนล์ และปาเลสไตน์-ลุ่ม แม่น้่าไทกริสและยูเฟรติส เลยไปจนถึงอินเดีย จึง ท่าให้เป็นเมืองศูนย์กลางเส้นทางการค้าทางบกอีกด้วย เพตราเจริญถึงขีดสูงสุดในช่วง 50 ปีก่อนคริสตกาล จนถึง คริสต์ศักราชที่ 70 ความเป็นเมืองที่อยู่ห่างไกล และชัยภูมิอันยากแก่การพิชิต จึงท่าให้เมืองมีโอกาสเจริญเติบโตได้อย่าง ง่ายดายโดยไม่ต้องกลัวศัตรูจากภายนอก มีเรื่องตามบันทึกของจอมจักรพรรดิอเลกซานเดอร์ว่าขุนศึกของท่านเข้าตีครั้งแรกไม่ส่าเร็จ ท่านเองต้องน่าทัพ มาตีเองในครั้งต่อมา ชาวโรมันจึงได้เข้ามายึดครองและเป็นการเริ่มต้นยุคที่โรมันครอบครอง ประมาณ 250 ปี เอาคติ ความเชื่อ สถาปัตยกรรม การจัดการค้า ถนน ตลาด น้่าพุ โรงละคร วัด ศาสนสถาน รูปเคารพ อาหารการกินและใช้ น้่ามันมะกอก มาผสมผสานกับเทคโนโลยีโดยเฉพาะเทคนิควิธีการแกะสลักหินทราย ได้เป็นสถาปัตยกรรมอันยิ่งใหญ่ โดยไม่ต้องใช้ซีเมนต์ ไม่ใช้พลังงานไฟฟ้า แต่ใช้เพียงพลังงานจลจากการทดน้่า ท่าเขื่อนหินกั้นน้่าเปลี่ยนสายน้่า มาทั้ง เพื่ออุปโภค บริโภค ตัดหิน แกะสลักหินเข้าไปในภูเขา แผ่นดินไหวใหญ่ในปี 363 (คิดเอาเองอีกแล้วว่า น่าจะเป็นเหตุการณ์เดียวกับที่พระคัมภีร์ไบเบิ้ลเก่าบันทึกว่า พระเจ้า แยกทะเลแดงให้โมเสส พาชาวยิวหนีอิยิปต์ไปได้) บ้านเรือนภายในเมืองพังทลายลงมา ท่าให้สายน้่าเปลี่ยน เส้นทาง แม่น้่าที่เคยมีเขื่อนกั้นเหือดแห้ง เขื่อนยิ่งใหญ่ไม่มีประโยชน์ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 เปตรากลายเป็นที่ตั้ง คริสต์ศาสนามณฑลของบิชอป มีนักบุญเขามาใช้อาคารและที่เก็บศพพระราชาเป็นโบสถ์ประกอบพิธีอยู่หลายร้อยปี จน เกิดสงครามครูเสด แล้วถูกอิสลามบุกเข้ามายึดพื้นที่นี้ไปครอบครองในคริสต์ศตวรรษที่ 7 แล้วก็เสื่อมถอยมาเรื่อยๆ จน ลบเลือนหายไปจากผู้คน เมืองเพตราลดความส่าคัญลงและหายไปจากความทรงจ่าของชนชาวอิสลามรอบๆ
  • 9. 9 มีเพียงค่าบอกเล่าต่านานบอกต่อของชาวบ้านว่า ผ่านซอกเขาตระหง่านแคบ จะมีเมืองโบราณลึกลับเป็นพื้นที่ กันดาร เมืองต้องห้าม เมืองลับแล เต็มไปด้วยวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ซ่อนอยู่ ในยามค่่าคืน บางครั้งจะเห็นภาพการตามไฟ ระยิบระยับ และเสียงสวดโหยหวน จนกระทั่งปี ค.ศ. 1812 จึงมีนักโบราณคดีชาวสวิส ชื่อ Johan Burckhardt กล้าเข้าไปส่ารวจอย่างจริงจัง และ เมื่อผ่านซอกเขาแคบเข้าไป ก็ได้เจอความอลังการณ์ ในสภาพที่เกือบสมบูรณ์ ทั้งตัวอาคารและรูปเคารพตามแบบคติ ความเชื่อโรมัน ถูกกระแสลมทะเลทรายกัดกร่อนไปบ้าง แต่ว่าหลังจากค้นพบแล้วในช่วง 200 ปีมานี้ การกัดกร่อน เป็นไปอย่างรวดเร็ว เชื่อว่าน่าจะจากฝีมือมนุษย์พวกขุดค้นของเก่า และสิ่งแวดล้อมที่พอมนุษย์เข้าไปมาก็ก่อมลพิษมาก กร่อนจนอาคารสลักหิน รูปเคารพที่สลักลงในภูเขาทั้งลูกมองเลือนลางมาก โลงหินถูกเปิดเพื่อหาสมบัติศพสมบัติเครือ ญาติของศพไฮโซ โบราณ ปี 1985 ที่นี่ถูกประกาศให้เป็นมรดกโลกโดยองค์การ UNESCO และเมื่อปี 2007 ก็ได้ถูกประกาศให้เป็น 1 ใน 7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคใหม่ หลังจากรัฐบาลจอร์แดนเสนอ UNESCO ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก มีกระบวนการ อนุรักษ์ มีความช่วยเหลือทางการเงินและวิชาการจาก UNDP และ USAID แต่พื้นที่กว้างใหญ่ไพศาล อาคาร สถานที่ ส่าคัญโบราณมากมาย แต่คงต้องใช้เงินและเวลาอีกมากหากต้องการบูรณะให้ดี
  • 10. 10 กินอาหารตอนบ่าย เป็นบุฟเฟ่ต์แบบจอร์แดน บริเวณด้านหน้าก่อนเข้าเพตรา เห็นได้ว่ารัฐส่งเสริมให้ชุมชนแถว นี้เป็นที่ส่งเสริมการท่องเที่ยว มีที่พัก อพาร์ตเม้นท์ โรงแรม ร้านขายของที่ระลึกอยู่โดยรอบ (จีฮ้าท ไกด์คนขับรถ ก็มีอ พาร์ตเม้นท์ 1 ห้องที่นี่ด้วย) ค่าครองชีพก็เลยแพงกว่าทั่วไปสักหน่อยด้วย ค่าอาหารร้านที่ไปกินอาหารบ่ายนี้ซึ่งน่าจะ เป็นร้านแบบทั่วไปส่าหรับนักท่องเที่ยว ไม่ใช่ร้านหรู ราคาต่อหัวก็ 10 JD น้่าซื้อต่างหากขนาดบรรจุ 1.5 ลิตร 2.5 JD ขนมหวานหลังอาหารคาว ที่เล่าลือกันว่าอร่อยดีมาก ลองชิมดูก็อร่อย รสชาติคุ้นเคยหลายอย่าง เช่น วุ้นสีแดงๆรสหวาน น่าเปรี้ยว ถั่วกวนเป็นแผ่นอยู่ในถ้วย แป้งหวานต้มมีมะพร้าวนิดหน่อยคล้ายขนมต้มไทยโบราณ เราเดินทางออกมาที่หุบเขา วาดิรัม (Wadi Rum) กลางทะเลทราย แวะถ่ายรูปบ้างที่สถานีรถไฟกลาง ทะเลทรายที่สร้างตั้งแต่ 1916 ในตอนบ่าย (ที่แวะก็เพราะว่าประเทศนี้มีรถไฟสายเดียว และสถานีนี้ก็เป็นสถานีเก่าแก่ อนุรักษ์ มองไปทางไหนของทางรถไฟก็เห็นแต่ทะเลทราย กับเทือกเขาสีเหลืองส้ม) รีสอร์ทที่พักกลางทะเลทราย วาดีรัม (ซึ่งแปลว่า valley แห่งวาร์ดี) แตกต่างจาก valley ในจินตนาการที่ควร จะเป็นสีเขียว มีสายน้่าไหล แต่ที่นี่คือเป็นหุบเขาที่มีแต่ทรายสีน้่าตาลเข้ม สีเหลืองอ่าพัน และภูเขามหึมาตั้งตระหง่านสูง เสียดฟ้า ลักษณะภูเขาเป็นเว้าแหว่ง ชั้นๆ รูปร่างเหมือนถูกกัดเซาะ ทราบจากผู้ขับรถน่าทาง จีุฮ้าท (อยู่เมืองไทยน่าจะ ชื่อคุณศักดิ์สิทธิ์) ว่าที่นี่เมื่อ ประมาณ 1000 ล้านปีก่อน เป็นก้นทะเล กาลเวลาผ่านไปแผ่นผิวโลกค่อยๆยกตัวสูงขึ้น จน เห็นก้นทะเลอย่างในปัจจุบัน สิ่งที่เหลืออยู่นอกจากรูปร่างธรรมชาติแปลกตาสวยงามแล้ว ก็คือบริเวณทะเลทรายแถบใต้ นี้ มีน้่าใต้ดินมาก ที่นี่สามารถจ่ายน้่าให้ผู้คนได้ตลอด 7 วัน และส่งน้่าไปทางเหนือเพื่อใช้ในอัมมันเมืองหลวงสัปดาห์ละ 2 ครั้งด้วย แต่ว่า!! แถวนี้ก็ไม่มีน้่ามัน ทั้งที่ห่างจากนี่ไป 4-5 พันกิโลเมตรเป็นแหล่งน้่ามันส่งออกของโลก OPEC กระท่อมกระโจมรีสอร์ท ที่พักคืนนี้ คงตั้งใจออกแบบให้สอดคล้องกับวิถึชีวิตของผู้คนกลางทะเลทราย รับประทานอาหารพื้นเมือง เป็นแป้งแผ่นปิ้ง “นาน” ซึ่งลักษณะน่าจะคล้ายกันหมดในหมู่คนมุสลิม อินเดีย จิ้มกับถั่ว กวน ฮัมมุส แตงกวา มะเขือเทศ มะกอกดองชนิดเขียวบ้าง ด่าบ้าง อาจเรียกได้ว่าฟิวชั่น มุสลิม กรีก โรมัน เมดิเตอรเร เนียนมาแต่โบราณ
  • 11. 11 เช้าวันที่ 30 ธันวาคม 2560 เราเข้าไปนั่งรถสองแถวยี่ห้อโตโยต้า สไตล์จอร์แดน เพื่อท่องทะเลทรายวาดิรัม หรืออีกชื่อหนึ่งว่า “หุบเขาแห่งพระจันทร์” (The Valley of the Moon) วาดิรัม นี้มีประวัติศาสตร์ยาวนาน ว่ากันว่ามี มนุษย์อยู่อาศัยมาแล้วตั้งแต่ 8,000 ปีก่อนคริสตกาล แม้ว่าจะมีสภาพแวดล้อมแห้งแล้ง หาสิ่งมีชีวิตอยู่ได้ยากก็ตาม ใน ทะเลทรายวาดิรัม ก็มีภาพเขียนฝาหนังของมนุษย์ยุคโบราณหลายจุด แสดงให้เห็นวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนสมัยนั้น การท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่นี่คือการดูหิน ดูทราย ดูเหยี่ยวทะเลทราย ดูนกบนซอกเขาสูง แมลงปีกแข็ง แมงมุม ที่ มุดทรายร้อนอยู่ได้ ไม่ใช่ท่องเที่ยวดูต้นไม้สายน้่าและสัตว์เขตร้อนเหมือนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่สิ่งที่เหมือนกัน คือ ป้ายเตือน ค่าเตือน เกี่ยวกับการอนุรักษ์ ก้อนหิน ทราย ต้นไม้ สัตว์ ทั้งที่มีค่าเตือน ป้ายสวยงามด้วยความช่วยเหลือ จาก UNDP แต่ที่น่าสลดใจก็คือยังเห็นการขีดเขียน ขูดรอยหิน อยู่ในทุกจุดที่จอดแวะท่องเที่ยวก้นทะเลโบราณอัน ยิ่งใหญ่ ทั้งที่จุดจอดแวะเล่น sand dune ด้วย snow board จุดถ่ายรูปอูฐ จุดหินที่กัดกร่อนเป็นรูปสะพานหินโค้ง ซึ่ง ท่าให้ดูเหมือนถูกลดค่าลงไปด้วยมือของนักท่องเที่ยวนี่เอง ทั้งๆ ที่ที่นี่เป็นสถานที่ถ่ายท่า และเป็นพื้นที่ประวัติศาสตร์ Lorenze of Arabia (ทะเลทรายแห่งนี้ในอดีตเป็นเส้นทางคาราวานจากประเทศซาอุฯเดินทางไปยังประเทศซีเรียและ ปาเสลไตน์ในศึกสงครามอาหรับรีโวลท์ ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1916–1918 ณ แห่งนี้ได้ถูกใช้เป็นฐานบัญชาการในการ รบของ ทีอี ลอว์เรนซ์ และเจ้าชายไฟซาล และต่อมายังได้ถูกใช้เป็น สถานที่จริงในการถ่ายท้าภาพยนต์เรื่อง “LAWRENCE OF ARABIA” เรื่องราวของประสบการณ์ที่น่าจดจ้าของการต่อสู้ระหว่างอ้านาจอันยิ่งใหญ่สองฝ่าย นั่นคือ ทะเลทรายแห่งอาระเบียที่ทั้งกว้างขวาง เหนือการควบคุม และเปี่ยมไปด้วยอันตราย กับทีอี ลอว์เรนซ์ผู้ซึ่งเป็นทั้งพระ ทั้งร็อคสตาร์ ทั้งความเป็นฮีโร่ และความเป็นคนบ้า ได้รับภารกิจไปปฏิบัติหน้าที่ ในการเจรจากับเจ้าชายไฟซาล ผู้น้า ของอาหรับซึ่งเป็นพันธมิตรกับอังกฤษในการต่อต้านเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง) กินอาหารกลางวันกลางทะเลทราย โดยคนขับรถสองแถวเปิดประทุนที่น่าเราท่องทะเลทรายจัดให้ เป็นอาหาร ปรุงง่ายๆ ใช้ท่อนไม้เป็นฟืน ก้อนหิน 3 ก้อนเป็นที่ตั้งหม้อต้มสตูผักมะเขือเทศถั่ว ปูเสื่อกินกันในซอกเงาภูเขาใน
  • 12. 12 ทะเลทราย บรรยากาศดูธรรมชาติ คล้ายลูกทุ่งไทยสมัยเมื่อสัก 40 ปีที่แล้ว ต่างกันที่นี่ไม่มีต้นไม้เขียว แต่เป็นทรายหิน และต้นไม้ทะเลทรายขึ้นอยู่เป็นจุดๆ ตอนบ่ายเราเดินทางมาที่เมืองท่าชายทะเลแดง อ่าวอะกาบามีความลึกสูงสุดถึง 1,850 เมตร กว้างจากจุดที่ กว้างที่สุด 24 กิโลเมตร และมีความยาวถึงส่วนปลายคือช่องแคบติราน (Straits of Tiran) ประมาณ 160 กิโลเมตร ชายฝั่งของอ่าวแห่งนี้อยู่ในสี่ประเทศคือ อียิปต์ อิสราเอล จอร์แดนและซาอุดีอาระเบีย อะกาบา (Aqaba) ในจอร์แดน เมืองอะกาบา (Aqaba) ในจอร์แดน เมืองท่าชายทะเลแห่งเดียวและใหญ่ที่สุดของจอร์แดน เป็นเมืองติดทะเล แดง ที่เป็นที่ขนถ่ายสินค้า ถ่ายทอดผู้คนวัฒนธรรม มาแต่โบราณ ตั้งแต่มนุษย์วิวัฒนาการจากลิง ตามทฤษฎีของเมนเดล ในแถบอัฟริกาเหนือ ก็ขยายตัว วิวัฒน เลียบชายฝั่ง มาทางอิยิปต์ มาทางตะวันออกกลาง รัฐบาลก่าหนดให้เป็นเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ และมีพื้นที่ส่งเสริมศูนย์บริการปลอดภาษี ก็จึงท่าให้มีการ ออกแบบสถาปัตยกรรม อุตสาหกรรม โดยเฉพาะจากจีน และญี่ปุ่นเข้ามาลงทุนด้านขนส่ง ก่อสร้าง เครื่องใช้ไฟฟ้า อิเลค โทรนิคส์ การทุ่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวกับท่องเที่ยว ทั้งร้านอาหาร แหล่งบันเทิง บุหรี่ สุรา แต่ไม่รู้ถึงกับมี STD ด้วย หรือเปล่า และมีพระราชวังใต้ของพระราชาธิบดี ตั้งอยู่ชายอ่าวชายแดนติดกับ อิสราเอลอยู่ด้วย คงจะเป็นทั้งเหตุผลของ พระองค์เอง และเหตุผลทางความมั่นคงด้วย (เราโชคดีที่ได้โบกมือทักทายกับมกุฎราชกุมาร แห่งจอร์แดนที่มาทรงพระส้าราญในเรือยอร์ช ในเรือท้องกระจก ที่พาเราไปดูปะการังสีแดงด้วย) เรามาหาอาหารค่่ากินที่บริเวณพื้นที่อาคารส่งเสริมการท่องเที่ยวริมอ่าวใกล้โรงแรม ซึ่งไกลจากตัวเมือง เหตุการณ์ Arab spring ที่ลุกลามไปทั่วแถวนี้ แม้ว่าจอร์แดนจะสงบ ไม่มีเหตุการณ์รุนแรง ไม่มีการเปลี่ยนแปลงระบบ กษัตริย์ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง แต่ก็ท่าให้ภาคบริการการท่องเที่ยว ซึ่งเป็นรายได้หลัก 1 ใน 5 ของประเทศ
  • 13. 13 ซบเซาลงไปถึง 5 ปี ท่าให้รีสอร์ท ที่พัก ร้านค้า บริการการท่องเที่ยวดูเหงาลงไป เพิ่งจะฟื้นตัวเมื่อ 2016 นี้เอง ท่าให้ร้าน สะดวกซื้อ ร้านอาหาร ร้านค้าปลอดภาษี ที่จอดเรือยอร์ช ดูไม่คึกคัก หลายร้านปิดไฟ มีนักท่องเที่ยวน่าจะเป็นรัสเซียมา เดิน มาดื่ม มาสูบบุหรี่บางตา ทั้งที่ร้านอาหารริมท่าเรือยอร์ช ซึ่งมีหลายร้าน เปิดเพียง 3 ร้าน ได้ป้าย Trip Advisor ด้วย ผู้หญิงที่นี่ดูตามที่เห็น น่าจะไม่ได้อยู่ในภาคบริการมากนัก อาจจะเพราะติดที่ประเพณีวัฒนธรรม ผู้ชายจึงอยู่ที่ โรงแรม ร้านอาหาร ร้านขายของ มีผู้หญิงที่อยู่ในร้านอาหารบ้าง แต่ดูหน้าตาแล้วเป็นคนเอเชียไม่ใช่สตรีชาวอาหรับ จอร์แดน ยังไม่ได้ดูว่า พยาบาลเป็นผู้หญิงหรือผู้ชาย แต่ดูละครทีวีในห้องพักโรงแรมหมอเป็นผู้ชายทั้งนั้น แม้แต่ในฟาร์ม ร้านค้า และโรงแรมก็เป็นผู้ชายทั้งสิ้น สายๆ ของวันสุดท้ายของปี 2017 เดินทางออกจาก อากาบา ระยะทางจากใต้สุดของประเทศ ที่ตั้งเมืองส่งเสริม เศรษฐกิจพิเศษ ท่องเที่ยว อากาบา ซึ่งติดทะเลแดงอันใต้ทะเลมีสาหร่ายแดงมาก ท่าให้มองทะเลสีน้่าเงินปนแดง ไปทาง เหนือระยะทาง 245 กม. เห็นภาพโครงการพัฒนาทะเลทรายเวิ้งว้างกว้างใหญ่สุดสายตา ด้วยถนน 4 เลน พอเข้าสู่ทางเหนือมากขึ้นก็เห็น ความเขียวเพิ่มขึ้น ต้นไม้พวกอินทผาลัมท่าเป็นฟาร์มปลูก มะเขือเทศแบบฟาร์มปิดน้่าหยด มองเห็นเป็นกระโจมเป็น ท้องร่อง ปลาสติกปิดหน้าดิน ต้นมะกอก ต้นมะขามเทศ (และบางที่ก็มียูคาลิปตัสจากออสเตรเลียปลูกแทรก) ประเทศ นี้ต้องใช้น้่าอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด จะใช้ฟุ่มเฟือยอย่างเขตร้อนชื้นไม่ได้ คิดเอาเองคนเดียวนึกถึงพระราชด่าริของใน หลวงรัชกาลที่ ๙ เรื่องทฤษฎีใหม่ และการจัดการชลประทาน ถ้าหากประเทศเราใช้น้่า จัดการที่ดินอย่างไม่บันยะบันยัง วันหนึ่งคงไม่มีน้่าใช้เป็นทะเลทรายเหมือนกัน ย้อนหลังถึงเขตส่งเสริมการท่องเที่ยว เข้าใจว่านโยบายรัฐบาลเมื่อก่อน Arab Spring และช่วง ค. ศ 2000 ใหม่ๆ คงมีแนวคิดสร้าง complex แบบชั้นดี มีที่จอดเรือยอร์ช ร้านค้าของฟุ่มเฟือยปลอดภาษี ร้านอาหารหรู โรงแรม 4:ดาวขึ้นไป มีบัตรสมาชิก Elite การ์ดราคาแพง คล้ายๆ ไอเดียอดีตนายกฯ ทักษิณ แต่ไม่ประสบผลส่าเร็จ ก็เลยเป็น พื้นที่เหงาๆ นักท่องเที่ยวไม่มากนัก อาจจะเป็นรัสเซีย ยุโรป .. ตอนก่อนออกจากเมืองอากาบารฮ์ มีด่านตรวจศุลกากร
  • 14. 14 ตรวจสินค้าต้องส่าแดงภาษีพวกสินค้าฟุ่มเฟือย เครื่องใช้ไฟฟ้า แต่ก็ดูเจ้าหน้าที่และทหารที่ตรวจก็ไม่เคร่งครัดนัก สนามบินก่าลังสร้างส่าหรับบินภายในและเครื่องบินเช่าเหมาล่า ระหว่างการเดินทางขึ้นเหนืออีกครั้งเพื่อมุ่งหน้าไปทะเล Dead Sea คิดในใจว่า การท่าฟาร์มที่นี่สังเกตโดยไม่ แน่ใจนักว่าถูกต้องหรือเปล่า คือคิดว่า คนอาหรับน่าจะไม่นิยมท่าฟาร์มนัก เลยต้องใช้แรงงานจากอิยิปต์และอาฟริกา เท่าที่ถาม ค่าแรงประมาณ 300 - 350 JD หรือ 15,000-16,500 ก็ถือว่ากลางๆ ส่าหรับค่าครองชีพที่สูงกว่าเมืองไทย เท่าตัว อาหารมื้อละกว่า 4 JD น้่ามันเบนซิน 95 ลิตรละ 0.95 JD โค้กกระป๋องละ 1.5 JD น้่าขวด 1.5 ลิตร ขวดละ 1 JD และผู้หญิงท่างานน่าจะน้อย อัตราว่างงานภาพรวมของประเทศ จีฮ้าท บอกว่ามีถึง 12% ในขณะที่ประเทศนี้มี ช่องว่างระหว่างคนจน คนรวย GINI INDEX 33.7 คนว่างงาน 12% บัณฑิตจบปริญญาตรีใหม่ มีเงินเดือนประมาณ 350 JD เท่านั้น ค่าครองชีพสูงเมื่อเทียบ ability to pay อาหารธรรมดาต้องใช้ 5 - 7 JD ส่าหรับผู้ชาย ที่จีฮ้าท ว่าประมาณ 88% ที่ไม่ว่างงาน ส่วนใหญ่ก็ไปเป็นทหาร รองลงมาก็เป็นครู วิศวะ หมอ หรือท่าอาชีพอิสระเช่น อุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับ การท่องเที่ยวเป็นไกด์ เป็นคนขับรถ ที่ริมหาดด้านตะวันตกของ Dead Sea หรือ West Bank ได้เห็นช่องว่างทางรายได้ชัดเจนด้วยตาโดยไม่ต้อง แปลความ GINI คือด้านคนรายได้สูง เศรษฐีอิยิปต์ จอร์แดน มาลงทุนท่ารีสอร์ทตากอากาศ ท่าโรงแรม ท่าสปาโคลน ในขณะที่คนจนต้องอยู่อย่างล่าบาก เด็กๆริมถนน เนื้อตัวมอมแมม ออกมาช่วยพ่อ (เห็นผู้หญิงออกมาเฝ้าแผงลอยริม ถนนน้อยมาก) ขายมะเขือเทศ กะหล่่า ส้ม กล้วยจอร์แดนอยู่ริมถนน มาเป็นคนงานในเหมืองแร่โปแตส เพื่อเป็นสินแร่ ท่าปุ๋ยในอุตสากรรมที่คนจนคงได้รับประโยชน์จากเงินเดือนเท่านั้น (มั๊ง) แม่น้่าจอร์แดน ที่เป็นแหล่งให้น้่าใหญ่แก่ทะเล Dead Sea และเพื่อเป็นการเพาะปลูกก็ถูกแบ่งครึ่งผ่ากลางแม่น้่า แล้วผ่าลงมากลางทะเล Dead Sea ซึ่งกว้างเพียง 21 กม. ยาว 43 กม. โดยประมาณ แต่น้่าไหลทั้งแม่น้่า ทั้งทะเลและน้่าจืดจึงถูกประเทศและคนที่เทคโนโลยีสูงกว่า มีทุน มากกว่า “ดึง” น้่าไปท่าการเกษตร ไปใช้ภาคบริการ ท่าให้นักวิทยาศาสตร์วัดจากภาพถ่ายดาวเทียมว่าทะเล Dead Sea ค่อยๆ เหือดแห้งลง เส้นผ่าศูนย์กลางลดลงปีละประมาณ 1 เมตร ทะเลปิด Dead Sea นี้ที่ต่่ากว่าระดับน้่าทะเลปาน กลางถึงประมาณ 120 เมตร ก็คงต้องต่่าลงไปอีก (กว่ารัฐบาลอิสราเอล จอร์แดน และปาเลสไตน์ จะตกลงกันได้ว่าจะทด น้้าจากทะเลแดง ระยะทางเกือบ 300 กม. มาที่ Dead Sea ดีหรือไม่ ใครจะลงทุนสัดส่วนเท่าใด จะท้าให้นิเวศของ ความเข้มข้นเกลือ 37% จนคนไม่จมน้้าเปลี่ยนหรือไม่ ก็คงอีกนาน น้้า ในแม่น้้าจอร์แดนก็ต่างคนต่างสูบไปใช้ต่อไป) ทะเลก็คงค่อยๆ แห้งทีละนิดลงต่อไป ต่อไปอาจจะเรียกหนองน้่าแทนค่าว่าทะเล พื้นที่ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ๓ ศาสนา การเกิดขึ้นของพระเจ้า โมเสส พระศาสดาเยซู มูฮัมหมัด กางเขน สานุศิษย์ทั้ง ๑๓ รูปของพระเยซู พระแม่ พรหมจารีย์มาเรียซึ่งเป็นพระมารดาแห่งพระบุตรเยซูของพระเจ้า ก็คงด้อยค่าลงไปหรือเปล่าไม่รู้เมื่อทะเล dead sea เหือดแห้ง
  • 15. 15 ค่่าของวันที่ 31 ธันวาคม 2017 หลังจากลงไปสัมผัสความเค็มของเกลือข้น 37% ในทะเล (ซึ่งก็พบคนไทย จ้านวนไม่น้อยที่มาส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ที่นี่ด้วย) ในห้องอาหารโรงแรมที่พักริมทะเล เห็นผู้หญิงเพียง 2 คน มาช่วย ดูแลงาน กาล่าร์ดินเนอร์ ซึ่งโรงแรมจัดเป็นพิเศษส่าหรับค่่าคืนแห่งวันส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ แต่ทั้งสองสุภาพสตรี ที่มาดูแลห้องจัดเลี้ยง ก็หน้าตาไม่ใช่คนแถวนี้ น่าจะเป็นอิยิปต์ หรือฟิลิปปินส์ ไม่แนุ่ใจ ไม่กล้าถามกลัวเสียมารยาท การชุมนุมประท้วงในอิหร่าน นับเป็น Arab spring ใหม่สุดในช่วงปีใหม่ ของตะวันออกกลาง แต่ก็เป็นจุดแข็ง ของจอร์แดน ที่บ้านเมืองสงบ ระบบระบอบไม่ถูกกระทบ ฉลองวันขึ้นปีใหม่ได้คล้ายๆ ชาวโลก ทั้งๆ ที่เป็นมุสลิม 95 % มีชาวคริสต ไมุ่ถึง 5% แต่เพราะมีเยรูซาเลม มีเบทเลเฮมบ้านเกิดพระเยซู ก็คงเป็นเหตุผลหนึ่งที่ท่าให้ผู้เคร่งทั้ง 3 ศาสนา ยกเว้นดินแดนนี้ไว้ ตอนเช้าของวันแรกแห่งปี 2018 เราได้มีโอกาสขึ้นไปที่เทือกเขาและยอดเขาเนโบ มาดาบา (Madaba) หรือ เมืองแห่งโมเสก อันเป็นก่าเนิดแรกของ 3 ศาสนาส่าคัญของโลก พื้นที่แถวนี้สูงกว่าและดูเขียวกว่าบริเวณอื่นที่สีเหลือง น้่าตาลไม่มีต้นไม้
  • 16. 16 อาจจะเพราะใกล้แม่น้่าจอร์แดน มีระบบชลประทานสมัยใหม่ และมีประวัติศาสตร์อันเกี่ยวกับโมเสส ผู้รับพระ บัญชาจากพระบิดาอันเป็นพระเจ้า พระจิตตานุภาพจากพระเจ้า ที่ยอดเขานี้ซึ่งสูงจากระดับน้่าทะเลปานกลางถึง 900 เมตร ท่าให้สองข้างทางจาก dead sea จุดต่่ากว่าระดับน้่าทะเลปานกลาง 120 เมตร ขึ้นมาบนยอดเขาโมเสสรับสาส์น มีสวนองุ่น แปลงมะเขือเทศ มะกอก กะหล่่า กล้วยปลูกอยู่เป็นแปลงเขียว แม้ไม่เหมือนที่เพชรบูรณ์ หรือจัดสวยลดหลั่น แบบสวิสเซอร์แลนด์ แต่ก็ดูแตกต่างจากบริเวณอื่นที่เป็นทะเลทรายภูเขาหินทรายโล้นๆ โบสถ์อนุสรณ์โมเสส (The Moes Memorial Church) สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ระลึกถึงโมเสส ความที่อยู่ที่สูง อุณหภูมิลดลงเหลือเลขตัวเดียว ลมแรง มีหมอกฝน แต่เป็นฝนแห้งคือไม่มีความรู้สึกชุ่มชื้นเหมือนแถวฝน tropical อนุสรณ์แห่งนี้สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในในปี ค.ศ. 300 – 400 ในยุคไบเซนไทน์ ตอนต้นคริสต์ศักราช ที่อนุสรณ์สถานแห่งโมเสสนี่ เชื่อว่า เป็นที่ที่โมเสสปืนเขาขึ้นมารับพระบัญชาจากพระเจ้า เป็นค่าอธิษฐานจนถึง ทุกวันนี้ว่า เดชะพระนาม พระบิดา พระบุตร และพระจิตร อาเมน คือด้วยเดชะบารมีของพระเจ้าที่ไม่ต้องเอ่ยนามนั้น เป็นพระบิดาแห่งโลกแห่งยิว แห่งคนทุกข์ยากทั้งปวง แห่งคนดีที่จะเชื่อในบัญญัติ ๑๐ ประการ ของพระเจ้าเอาไว้ในจิต เชื่อในเยซูซึ่งจะก่อก่าเนิดจากหญิงพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์ว่าเป็นบุตรของเรา เขาเหล่านั้นจะมีชีวิตนิรันดร์ อาเมน น่า แปลกที่ค่าว่าอาเมนเป็นค่าศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นเครื่องหมายร่วมของทุกศาสนา จะตรงกับ โอม ในฮินดู อรหันต์ในพุทธ อา หมัด ในอิสลาม ปัจจุบันผู้ที่มีความเชื่อในประเทศไทยยังติดอักษร โอม ไว้ที่หลังรถหรือบ้านพัก เชื่อกันว่าเป็นสถานที่ฝังศพของโมเสส (Moes) ผู้น่าชาวยิวซึ่งเดินทางจากอียิปต์มายังเยรูซาเลม เป็นผู้น่าค่า สอน “บัญญัติสิบประการ” ของพระยะโฮวาห์ลงมาเผยแผ่สู่มนุษย์ จึงท่าให้เม้าท์เนโบเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่มีผู้คนมา สักการบูชามากที่สุดในจอร์แดน และเมื่อใครขึ้นไปยืนอยู่บนยอดเขาก็สามารถมองเห็นทัศนียภาพ ทั้งแม่น้่าจอร์แดน ทะเลสาบเดดซี นครเจริโค (Jericho) เมืองเบธเลแฮม และเมืองเยรูซาเล็มหรือที่รู้จักกันเป็นอย่างดีในชื่อดินแดน ศักดิ์สิทธิ์ (The Holy Land) นักโบราณคดีมีการค้นพบหลุมฝังศพ 6 แห่งจากยุคต่างๆ กัน โดยขุดพบเป็นโพรงใต้พื้นหิน ของโบสถ์ซึ่งปูด้วยโมเสก นอกจากนี้พบไม้กางเขนพันเป็นเกลียว เป็นชิ้นส่วนที่เก่าแก่ที่สุดชิ้นหนึ่ง ปัจจุบันน่าไปตั้งอยู่ ปลายทางด้านทิศตะวันออกของผนังทิศใต้ของโบสถ์ อนุสรณ์สถานนี้เริ่มได้รับการบูรณะและขุดค้นใหม่ตั้งแต่ ค.ศ. ๑๙๓๓ โดยรัฐบาลหลายรัฐบาล (น่าจะอิตาลี เป็นหัวเรือใหญ่) เป็นเหตุให้ตรงนี้ต้องเสียค่าเข้า อีกคนละ 2 JD ไม่รวมอยู่ ใน Jordan Pass ซึ่งเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวทั้งประเทศของจอร์แดนซื้อครั้งเดียวเข้าทุกที่ท่องเที่ยว ยกเว้นที่นี่ เพราะจดทะเบียนเป็นมูลนิธิกลางบริหาร ไม่ได้เป็นของใครหรือรัฐบาลใด เนื่องจากโมเสส เป็นต้นรากของความเชื่อการ สื่อกับพระเจ้าของศาสนา คริสต อิสลาม ยิว และเชื่อว่าในช่วงต้นของคริสตศวรรษ แม้มีความขัดแย้ง ชุมชนชาวยิว และ ชนเผ่าแถวนี้ซึ่งหลายร้อยปีต่อมาเป็นศาสนาอิสลาม จะถูกรุกรานโดยกรีก โรมัน ที่มาผ่านทางอิยิปต์ ก็ยังเคารพนับถือ สถานที่ฝังศพของโมเสส แห่งนี้ปรากฏเป็นโบสถ์ มีกระเบื้องพื้นโบสถ์เป็นภาพโมเสก เสาหินโบสถ์ ถนนโบราณเพื่อมาท่า พิธีศักดิ์สิทธิ์ตรงนี้ ตรงที่พระเจ้าชวนโมเสสไปยืนดูบนยอดเขาแผ่มือกว้างออกไปทางเยรูซาเล็ม แล้วพระคัมภีร์บอกว่า
  • 17. 17 พระเจ้าบอกว่าผู้ที่เชื่อในเรา ในเยซูผู้เป็นบุตรแห่งเรา ดินแดนที่เจ้าเห็นข้างหน้า ข้างซ้ายข้างขวา คงจะเป็นรัศมีตามที่แผ่ มือออกมั้งก็น่าจะสัก 150 องศา เป็นดินแดนแห่งพันธสัญญา ผู้ที่เชื่อในเราจะได้ครอบครองและมีชีวิตนิรันดร์ เมืองมาดาบา (Madaba) เป็นเมืองในดินแดนศักดิ์สิทธิ์เยรูซาเล็ม (The Holy Land) และเป็นเมืองที่มีชื่อเรียกอีกหนึ่ง เมืองแห่งโมเสก เป็นชุมชนในชนบทเชิงเขาที่ดูเรียบร้อยกว่าที่เห็นมาในทะเลทราย ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของกรุงอัม มานไปราว 33 กิโลเมตร ถือว่าเมืองส่าคัญในอดีตสมัยโรมัน ทั้งเป็นเมืองส่าคัญอยู่บนเส้นทางโบราณที่มีชื่อเสียงและเป็น ศูนย์กลางท่าโมเสก ที่ทุกวันนี้มีช่างฝีมือโมเสกท่ากันอยู่ ที่นี่มีการตั้งบ้านเรือนเป็นบล๊อกเป็นหมู่เหมือนบ้านจัดสรร ไม่อยู่ กระจัดกระจายเหมือนในทะเลทราย ในเมืองมีถนน ไฟแดง ตลาด คล้ายๆ อ่าเภอในชนบทที่คุ้นตา และมีทั้งชุมชน อิสลาม มัสยิดใหญ่ อยู่กับชุมชนชาวคริสต มีโบสถ์นักบุญจอร์จ ใหญ่เป็นโบสถ์กรีกออร์โธดอกซ์ อยู่เคียงกันอยู่ด้วยกัน อย่างสงบสุข การตั้งชื่อผู้คนแถวนี้ก็ยังมีรากค่าที่คล้ายๆกันอยู่ด้วย เช่น จอร์จ กับ จีฮัท กับ เจซุส ว่ากันว่าก็มาจากที่ แปลว่าศักดิ์สิทธิ์ หรือผู้เชื่อในพระเจ้า หรือผู้ไถ่เดียวกัน โบสถ์กรีก ออโธด็อกซ์แห่งเซ็นต์จอร์จ (Greek Orthodox Church of St. George) บนพื้นโบสถ์มีแผนที่ท่า ด้วยโมเสกสีสวยงาม เป็นสถานที่ของนักแสวงบุญชาวคริสต มุ่งมาสักการะพระแม่มารี หญิงพรหมจรรย์ที่เป็นพระมารดา แห่งเยซูพระบุตรแห่งพระเจ้าในศาสนาคริสต ด้วย การบ่ารุงรักษาโดยองค์กรศาสนา จึงต้องช่วยท่าบุญค่าบ่ารุงรักษา 1 JD ต่อคน ซึ่งก็จะได้รับการปฐมนิเทศถึงเส้นทางเดินของโมเสส และวิวัฒนาการของบุตรแห่งพระเจ้าของคนทุกความเชื่อ ทุกศาสนาแถวนี้ ซึ่งก็คงเป็นเหตุหนึ่งที่ท่าให้ ผู้คนในอ่าเภอนี้ไม่ทะเลาะกัน เนื่องจากเป็นบุตรแห่งพระยะโฮวา เดียวกัน มีพระแม่มารีเป็นแม่เดียวกัน จะออกมาในชื่อ ศาสดาเยซู ศาสดามูฮัมหมัด หรืออะไร ก็เป็นพระเจ้าเดียวกัน เมื่อเข้าไป ในโบสถ์คริสต St George จึงเห็นภาพของคนและบาทหลวงที่มีชีวิตประกอบพิธีกรรมจริงๆ กับ ภาพที่เป็นภาพของพระ แม่มารี และภาพการประดับตกแต่งพื้นและ ผนังโบสถ์ด้วยโมเสก กระจกสีประดับประดา รับแสงตะวัน และภาพของ
  • 18. 18 เยซูซึ่งยอมทนทุกข์ทรมาณบนกางเขน เพื่อเป็นผู้รับบาปและความทุกข์ แทนคนในโลกที่ยังมีบาป มีทุกข์ ปลดเปลื้องคน เหล่านั้นโดยน่าสู่พระเจ้า เส้นทางจากมาดาบา มาเข้าสู่อัมมานเมืองหลวงของประเทศ เป็นถนนไฮเวย์ 6 เลน แม้ฝนและหมอกมาก อุณหภูมิ 7 องศาเซลเซียส คนขับรถที่ชื่อ จีฮาส บอกว่านี่เป็นเรื่องธรรมดาของพื้นที่ราบสูง ซึ่งก็เป็นค่าแปลของค่าว่าอัม มานด้วย แบบนี้คือมีความแปรปรวนอากาศมาก มีความเย็น 10 -20 องศาตลอดปี หนาวก็อาจจะติดลบ มีฝนแห้ง ลม แรง บางทีหิมะ การปลูกบ้านเรือนจึงต้องท่าเป็นอิฐเป็นหินรูปกล่อง เพราะถ้าเป็นวัสดุสังกะสีจะปลิวว่อน ประเทศนี้ไม่มีการเก็บเงินค่าทางด่วน toll way เพราะเก็บภาษี VAT สูงถึง 16% ก็คงเป็นการสุ่งสัญญาณ ว่า รัฐบาลเก็บภาษีมา ก็ต้องจัดสาธารณูปโภค และสวัสดิการให้ประชาชนทั้งหมด จะมาเก็บเพิ่มจากประชาชนอีกไม่ได้ วิธี คิดแบบนี้น่าจะเหมือนที่ฝรั่งเศส และประเทศแถวสแกนดิเนเวีย