SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 3
การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม (Agglutination)<br />ผลการทดลอง<br />ชื่อ – สกุลผลการเกาะกลุ่มBlood Groupน้ำยา Anti-Aน้ำยา Anti-Bน้ำยา Anti-D1. นางสาวศศิประภา    ชุ่มสนิท+-+A, Rh+2. นางสาวณัฐพร         ศรีสุข-++B, Rh+3. นายวันเกียรติ         เอี่ยมสุเมธ-++B, Rh+4. นางสาวนฤมล        แก้วก่อง-++B, Rh+5. นางสาววรรณพร    รักวาทิน-++B, Rh+<br />660888300453<br />3104515557530<br />D<br />วิเคราะห์ผลการทดลอง<br />จากการทำการทดลอง โดยการนำเลือดที่ได้ทำการเจาะมาจากบริเวณปลายนิ้วมาแตะบนแผ่นสไลด์ จากนั้นนำมาตรวจด้วยน้ำยา Anti-A, น้ำยา Anti-B, น้ำยาAnti-D พบว่าสมาชิกโดยส่วนมากเป็นหมู่เลือด B, Rh+ เนื่องจากภายในเลือดมี Antigen B อยู่ที่ผิวของเซลล์เม็ดเลือดแดง จึงเกิดปฏิกิริยากับน้ำยา Anti-B แล้วเกิดการตกตะกอน โดยปฏิกิริยาที่เรียกว่า Agglutination ซึ่งเป็นปฏิกิริยาระหว่างแอนติบอดีที่มีความจำเพาะกับแอนติเจนที่มีลักษณะเป็นอนุภาค (partial antigen) ซึ่งไม่ละลายในสารตัวกลาง เมื่อแอนติเจนทำปฏิกิริยากับแอนติบอดีที่จำเพาะแล้วจะเกิดการประสารกันเป็นร่างแหแล้วเชื่อมโยงกันเป็นกลุ่มขึ้นในตัวกลางต่าง ๆ  โดยที่นิยมใช้ในการตรวจวินิจฉัยมี 2 ลักษณะคือ การทำปฏิกิริยาบนแผ่นสไลด์ และ ทำปฏิกิริยาในหลอดทดลอง โดยการทดลองตอนที่ 1 เป็นการทำปฏิกิริยาบนแผ่นสไลด์ ซึ่งเป็นการทดลองที่รวดเร็วและไม่สิ้นเปลืองสารที่ใช้นำมาทดสอบ <br />2902927175845ระบบหมู่เลือด ABO <br />แบ่งหมู่เลือดเป็น 4 หมู่<br />- มี agglutinogen ชนิด A, agglutinin anti-B (หมู่ A)<br />- มี agglutinogen ชนิด B, agglutinin anti-A (หมู่ B)<br />- มี agglutinogen ทั้งชนิด A & B, ไม่มี agglutinin(หมู่ AB)<br />- ไม่มี agglutinogen ทั้งชนิด A &B, agglutinin anti-A&B(หมู่ O)<br />ดังนั้น A,B เป็น dominant ส่วน O เป็น recessive<br />ระบบ Rhesus Factor (Rh) <br />พิจารณา agglutinogen D<br />ถ้ามี agglutinogen D -- >Rh+ ( ๘๕%)<br />ถ้าไม่มี agglutinogen D -->Rh-(๑๕%)<br />ปกติไม่พบ agglutinin (anti - D) ตั้งแต่เกิด<br />เกิดเมื่อ Rh- ได้รับ Rh+--> anti-D-->agglutination<br />สรุปผลการทดลอง<br />1. นางสาวศศิประภา    ชุ่มสนิท มีหมู่เลือดเป็น  A, Rh+<br />2. นางสาวณัฐพร         ศรีสุข มีหมู่เลือดเป็น  B, Rh+<br />3. นายวันเกียรติ         เอี่ยมสุเมธ มีหมู่เลือดเป็น  B, Rh+<br />4. นางสาวนฤมล        แก้วก่อง มีหมู่เลือดเป็น  B, Rh+<br />5. นางสาววรรณพร    รักวาทิน มีหมู่เลือดเป็น  B, Rh+<br />590550125095   <br />
การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม
การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
Wichai Likitponrak
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
Anissa Aromsawa
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
Sirintip Arunmuang
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
Aomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
Dew Thamita
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
Wichai Likitponrak
 
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
สำเร็จ นางสีคุณ
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
dnavaroj
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
สำเร็จ นางสีคุณ
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 

La actualidad más candente (20)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
01เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 1601เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 16
 
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 

Destacado (7)

การทดสอบหมู่เลือด
การทดสอบหมู่เลือดการทดสอบหมู่เลือด
การทดสอบหมู่เลือด
 
Basic Real-time PCR (Thai)
Basic Real-time PCR (Thai)Basic Real-time PCR (Thai)
Basic Real-time PCR (Thai)
 
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
 
หลักพยาธิบ.8 immunopathology
หลักพยาธิบ.8 immunopathologyหลักพยาธิบ.8 immunopathology
หลักพยาธิบ.8 immunopathology
 
Agglutination lecture
Agglutination lectureAgglutination lecture
Agglutination lecture
 
Agglutination
AgglutinationAgglutination
Agglutination
 
Pathology of Hepatitis - Lecture
Pathology of Hepatitis - LecturePathology of Hepatitis - Lecture
Pathology of Hepatitis - Lecture
 

การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม

  • 1. การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม (Agglutination)<br />ผลการทดลอง<br />ชื่อ – สกุลผลการเกาะกลุ่มBlood Groupน้ำยา Anti-Aน้ำยา Anti-Bน้ำยา Anti-D1. นางสาวศศิประภา ชุ่มสนิท+-+A, Rh+2. นางสาวณัฐพร ศรีสุข-++B, Rh+3. นายวันเกียรติ เอี่ยมสุเมธ-++B, Rh+4. นางสาวนฤมล แก้วก่อง-++B, Rh+5. นางสาววรรณพร รักวาทิน-++B, Rh+<br />660888300453<br />3104515557530<br />D<br />วิเคราะห์ผลการทดลอง<br />จากการทำการทดลอง โดยการนำเลือดที่ได้ทำการเจาะมาจากบริเวณปลายนิ้วมาแตะบนแผ่นสไลด์ จากนั้นนำมาตรวจด้วยน้ำยา Anti-A, น้ำยา Anti-B, น้ำยาAnti-D พบว่าสมาชิกโดยส่วนมากเป็นหมู่เลือด B, Rh+ เนื่องจากภายในเลือดมี Antigen B อยู่ที่ผิวของเซลล์เม็ดเลือดแดง จึงเกิดปฏิกิริยากับน้ำยา Anti-B แล้วเกิดการตกตะกอน โดยปฏิกิริยาที่เรียกว่า Agglutination ซึ่งเป็นปฏิกิริยาระหว่างแอนติบอดีที่มีความจำเพาะกับแอนติเจนที่มีลักษณะเป็นอนุภาค (partial antigen) ซึ่งไม่ละลายในสารตัวกลาง เมื่อแอนติเจนทำปฏิกิริยากับแอนติบอดีที่จำเพาะแล้วจะเกิดการประสารกันเป็นร่างแหแล้วเชื่อมโยงกันเป็นกลุ่มขึ้นในตัวกลางต่าง ๆ โดยที่นิยมใช้ในการตรวจวินิจฉัยมี 2 ลักษณะคือ การทำปฏิกิริยาบนแผ่นสไลด์ และ ทำปฏิกิริยาในหลอดทดลอง โดยการทดลองตอนที่ 1 เป็นการทำปฏิกิริยาบนแผ่นสไลด์ ซึ่งเป็นการทดลองที่รวดเร็วและไม่สิ้นเปลืองสารที่ใช้นำมาทดสอบ <br />2902927175845ระบบหมู่เลือด ABO <br />แบ่งหมู่เลือดเป็น 4 หมู่<br />- มี agglutinogen ชนิด A, agglutinin anti-B (หมู่ A)<br />- มี agglutinogen ชนิด B, agglutinin anti-A (หมู่ B)<br />- มี agglutinogen ทั้งชนิด A & B, ไม่มี agglutinin(หมู่ AB)<br />- ไม่มี agglutinogen ทั้งชนิด A &B, agglutinin anti-A&B(หมู่ O)<br />ดังนั้น A,B เป็น dominant ส่วน O เป็น recessive<br />ระบบ Rhesus Factor (Rh) <br />พิจารณา agglutinogen D<br />ถ้ามี agglutinogen D -- >Rh+ ( ๘๕%)<br />ถ้าไม่มี agglutinogen D -->Rh-(๑๕%)<br />ปกติไม่พบ agglutinin (anti - D) ตั้งแต่เกิด<br />เกิดเมื่อ Rh- ได้รับ Rh+--> anti-D-->agglutination<br />สรุปผลการทดลอง<br />1. นางสาวศศิประภา ชุ่มสนิท มีหมู่เลือดเป็น A, Rh+<br />2. นางสาวณัฐพร ศรีสุข มีหมู่เลือดเป็น B, Rh+<br />3. นายวันเกียรติ เอี่ยมสุเมธ มีหมู่เลือดเป็น B, Rh+<br />4. นางสาวนฤมล แก้วก่อง มีหมู่เลือดเป็น B, Rh+<br />5. นางสาววรรณพร รักวาทิน มีหมู่เลือดเป็น B, Rh+<br />590550125095   <br />