SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 73
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
กรณี ศึกษาแหล่งท่องเที่ยว
วัดภูมินทร์ จ.น่าน
โดย
คุณสามารถ สุวรรณรัตน์ และ คุณณัฐสิทธิ์ ศรีนุรักษ์
สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการ แนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวแบบมีส่วนร่วมระหว่างนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ และชุมชน
ในแหล่งท่องเที่ยวภาคเหนือตอนบน( Guideline for Development Participatoryon Senior Tourists
and Communityin Upper NorthernAttractionsSites.) (ปี 2556)
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
เพื่อใคร ? (พัฒนา)อย่างไร ?
แหล่งท่องเที่ยว
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
“ เพื่อใคร? ”
จินตภาพของ
ผลประโยชน์
แบบสมบูรณ์
“ ผลกระทบ(ผลประโยชน์) ที่จะเกิดขึ้นกับทุกฝ่ายอย่างยั่งยืน ”
ชุมชน ผู้ประกอบการ
หน่วยงานด้านการ
ท่องเที่ยว และผู้ที่มีส่วน
เกี่ยวข้อง
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
และคนทั้งมวล
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
(พัฒนา)อย่างไร ?
“ ชุมชน แหล่งท่องเที่ยว (แลผู้ประกอบการ) ควรดาเนินการ
เพื่อก้าวสู่การพัฒนาศักยภาพเพื่อการรองรับการท่องเที่ยวของผู้สูงอายุ
และคนทั้งมวล”
วิเคราะห์ศักยภาพชุมชน
รู้จักตนเอง
วิเคราะห์ศักยภาพแหล่งท่องเที่ยว
ชุมชน
วิเคราะห์การท่องเที่ยว
กระบวนการมีส่วน
ร่วมของผู้มีส่วน
เกี่ยวข้อง
วางแผนเสริมความพร้อม
ลดจุดอ่อน
สังคม สิ่งแวดล้อม
การดาเนินการ
ทดลองดาเนินการ
เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
รับฟังความคิดเห็น
บนฐานความรู้ใหม่
แผนงาน
PDCA
PROCESS
Plan-Do-Check
-Action
ชุมชนเป็นเจ้าของ / ผู้จัดการ / รับผลประโยชน์
(กระบวนการมีส่วนร่วม)
คือ การท่องเที่ยวที่คานึงถึงความยั่งยืนของ
สิ่งแวดล้อม สังคม และวัฒนธรรม กาหนดทิศทาง
โดยชุมชน จัดการโดยชุมชนเพื่อชุมชน และ
ชุมชนมีบทบาทเป็นเจ้าของมีสิทธิในการจัดการดูแล
รับเพื่อให้เกิดการเรียนรู้แก่ผู้มาเยือน
(โครงการท่องเที่ยวเพื่อชีวิตและธรรมชาติ, 2540)
การท่องเที่ยวโดยชุมชน
1) ทรัพยากรธรรมชาติและ
วัฒนธรรม
ชุมชนมีฐานทรัพยากรธรรมชาติที่
อุดมสมบูรณ์ และวิถีการผลิตที่พึ่งพาและใช้
ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างยั่งยืน
ชุมชนมีวัฒนธรรมประเพณีที่เป็น
เอกลักษณ์เฉพาะถิ่น
2) องค์กรชุมชน
ชุมชนมีระบบสังคมที่เข้าใจกัน
มีปราชญ์ หรือผู้มีความรู้ และทักษะใน
เรื่องต่างๆ หลากหลาย
ชุมชนรู้สึกเป็นเจ้าของและเข้ามามีส่วน
ร่วมในกระบวนการพัฒนา
องค์ประกอบของการจัดการท่องเที่ยวโดย
ชุมชน
มีอยู่ 4 ด้าน กล่าวคือ
3) ด้านการจัดการ
 มีกฎ-กติกาในการจัดการสิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม และการท่องเที่ยว
 มีองค์กรหรือกลไกในการทางานเพื่อ
จัดการการท่องเที่ยว และสามารถเชื่อมโยงการ
ท่องเที่ยวกับการพัฒนาชุมชนโดยรวมได้
 มีการกระจายผลประโยชน์ที่เป็นธรรม
 มีกองทุนที่เอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมของชุมชน
4) ด้านการเรียนรู้
 ลักษณะของกิจกรรมการท่องเที่ยวสามารถ
สร้างการรับรู้ และความเข้าใจในวิถีชีวิต
และวัฒนธรรมที่แตกต่าง
 มีระบบจัดการให้เกิดกระบวนการ
เรียนรู้ระหว่างชาวบ้านกับผู้มาเยือน
 สร้างจิตสานึกเรื่องการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม ทั้งในส่วนของ
ชาวบ้านและผู้มาเยือน
ที่มา : คู่มือเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชน, 2550 , สานักงานพัฒนาการท่องเที่ยว, กระทรวงการท่องเที่ยวและ
กีฬา
3) พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมการท่องเที่ยวสาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุในพื้นที่นำร่อง (Pilot
Project) โดยกระบวนการมีส่วนร่วมจากนักท่องเที่ยวและชุมชน
องค์ประกอบการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวรองรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
โดยกระบวนการมีส่วนร่วมจากนักท่องเที่ยวชุมชน
เจ้าของ / ผู้จัดการ
/ รับผลประโยชน์
(กระบวนการมีส่วนร่วม)
อยู่บนพื้นฐานความเข้าใจ
แนวคิดการท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
นาไปใช้
ในกิจกรรมบริการการท่องเที่ยว
หัวใจ
การพัฒนา
เป้ าหมาย และแผนการดาเนินงาน
(ร่วมกัน) ชาวภูมินทร์ท่าลี่ + นักวิจัย
การท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
แบบมีส่วนร่วม
ชุมชน
กิจกรรมการท่องเที่ยว
+
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
ผู้ใช้บริการ
และผู้ให้ความคิดเห็นข้อเสนอแนะ
ในการปรับปรุง
การบริการท่องเที่ยว
“ ผลประโยชน์ตกอยู่กับชุมชนและแหล่งท่องเที่ยว”
แนวความคิดและกรณีศึกษา การออกแบบเพื่อ
ผู้สูงอายุ
•ภาวะผู้สูงอายุ
•แนวความคิด
•กรณีศึกษา
•จุดเด่นของพื้นที่
เข้าใจผู้สูงอายุ
ข้อจากัดของผู้สูงอายุ
ข้อจากัดทางร่างกาย
ข้อจากัดของผู้สูงอายุ
ข้อจากัดด้านการการได้ยิน
ข้อจากัดของผู้สูงอายุ
ข้อจากัดด้านการมองเห็น
การออกแบบเพื่อคนทั้งมวล และแนวทางการปรับปรุง
เพื่อการท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
อารยะสถาปัตย์ UNIVERSAL DESIGN
(การออกแบบเพื่อคนทั้งมวล)
การออกแบบทางกายภาพ เพื่อการปรับปรุง ก่อสร้าง พัฒนา
สิ่งบริการด้านกายภาพเพื่อสนับสนุน และอานวยความสะดวก
ให้ผู้สูงอายุ
และผู้ที่มีข้อจากัดทางด้านร่างกาย
ให้สามารถใช้สิ่งบริการ หรือพื้นที่ ในแหล่งท่องเที่ยว
ได้อย่างสะดวกสบาย เสริมสร้างความเข้าใจ และสร้างความสุข
ความเพลิดเพลิน ในการรับบริการการท่องเที่ยว
อารยะสถาปัตยกรรม เพื่อการท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
แนวคิด การออกแบบสภาพแวดล้อมสาหรับทุกคน
แนวคิด การออกแบบสภาพแวดล้อมสาหรับทุกคน
กรณีศึกษา การเข้าถึงพื้นที่-การออกแบบบริเวณ
ทางลาด ทางเท้า
ทางข้ามถนน New york
กรณีศึกษา การเข้าถึงพื้นที่-การออกแบบบริเวณทางลาด ทางเท้า
ทางเท้าและจุดตัดทางสัญจร ย่านเมืองเก่าโตเกียว
กรณีศึกษา การเข้าถึงพื้นที่-การออกแบบบริเวณ
ทางลาด ทางเท้า
ทางเข้าแหล่งท่องเที่ยว วัดฟูชิมิ อินาริ เกียวโต
กรณีศึกษา การเข้าถึงพื้นที่-การออกแบบบริเวณการสื่อความหมายในพื้นที่
ป้ ายบ่งบอกทิศทาง
กรณีศึกษา การเข้าถึงพื้นที่-การออกแบบบริเวณการสื่อความหมายในพื้นที่
ป้ ายบ่งบอกทิศทาง
กรณีศึกษา การเข้าถึงพื้นที่-การออกแบบบริเวณ
ราวจับในห้องน้าทั่วไป
กรณีศึกษา การเข้าถึงพื้นที่-การออกแบบบริเวณ
ราวจับในห้องน้าทั่วไป
กรณีศึกษา การสื่อความหมายป้ ายสื่อความหมาย
การแสดงตัวหนังสือ-ภาพ-ภาพนูนต่า
กรณีศึกษา การสื่อความหมายป้ ายสื่อความหมาย
การแสดงตัวหนังสือ-ประกอบหลักฐานโบราณวัตถุ
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
สิ่งอานวยความสะดวก
แวดล้อมการท่องเที่ยว
บริการ หรือกิจกรรมการท่องเที่ยว
ที่เหมาะสม
กรณีศึกษา แหล่งท่องเที่ยววัดภูมินทร์ จ.น่าน
รู้จักตนเอง วางแผนร่วมกัน ไปเที่ยวกันสร้างความเข้าใจ
จุดเด่นและศักยภาพของพื้นที่
มีประเพณีวัฒนธรรมระดับเมือง มีเรื่องราวที่สามารถสื่อความหมายได้อย่างลึกซึ้งและต่อเนื่องกันทั่วเมือง
รู้จักตนเอง
จุดเด่นและศักยภาพของพื้นที่ แหล่งท่องเที่ยวสาคัญ
พื้นที่เมืองเก่า- ใจเมือง
จุดเด่นและศักยภาพของพื้นที่
การสารวจเชิงลึก แหล่งท่องเที่ยว
วัดภูมินทร์ ต.เวียงใต้อ.เมือง จ.น่าน
Mapping ความพร้อม และปัญหาของสิ่งบริการฯด้าน
กายภาพ
น
พื้นที่ประวัติศาสตร์
ชั้นใน
พื้นที่สารวจ
• ระยะทางจากตัวเมือง
• สภาพผิวจราจร
• สภาพเส้นทาง
• ป้ ายบอกเส้นทาง
• ขนส่งสาธารณะ
• สิ่งบริการบนเส้นทาง
• พื้นที่จอดรถทางเท้า
• ทางลาด
• ทางข้ามทางสัญจร
• ความปลอดภัยจากสิ่งประดับอาคาร
• จุดพักคอย
• ราวจับและราวกันตก
• อุปกรณ์อานวยความสะดวก เช่น โทรศัพท์
สาธารณะ แท่นน้าดื่ม ถังขยะ
• ศูนย์ข้อมูล
• ป้ ายสื่อความหมาย
• ห้องสุขา
• ห้องปฐมพยาบาล
• ความพร้อมของสาธารณูปโภค (ไฟฟ้ า
ประปา ขยะ สื่อสาร น้าเสีย)
• การรักษาความปลอดภัย
• ร้านค้าขายของที่ระลึก
วัดภูมินทร์
จุดเด่นและศักยภาพของพื้นที่
แหล่งท่องเที่ยวสาคัญ
จุดเด่นและศักยภาพของพื้นที่
มีประเพณีวัฒนธรรมระดับเมือง มีเรื่องราวที่สามารถสื่อความหมายได้อย่างลึกซึ้ง
และต่อเนื่องกันทั่วเมือง
การสารวจเชิงลึก แหล่งท่องเที่ยว
วัดภูมินทร์ ต.เวียงใต้อ.เมือง จ.น่าน
Mapping ความพร้อม และปัญหาของสิ่งบริการฯด้าน
กายภาพ
น
พื้นที่ประวัติศาสตร์
ชั้นใน
พื้นที่สารวจ
• ระยะทางจากตัวเมือง
• สภาพผิวจราจร
• สภาพเส้นทาง
• ป้ ายบอกเส้นทาง
• ขนส่งสาธารณะ
• สิ่งบริการบนเส้นทาง
• พื้นที่จอดรถทางเท้า
• ทางลาด
• ทางข้ามทางสัญจร
• ความปลอดภัยจากสิ่งประดับอาคาร
• จุดพักคอย
• ราวจับและราวกันตก
• อุปกรณ์อานวยความสะดวก เช่น โทรศัพท์
สาธารณะ แท่นน้าดื่ม ถังขยะ
• ศูนย์ข้อมูล
• ป้ ายสื่อความหมาย
• ห้องสุขา
• ห้องปฐมพยาบาล
• ความพร้อมของสาธารณูปโภค (ไฟฟ้ า
ประปา ขยะ สื่อสาร น้าเสีย)
• การรักษาความปลอดภัย
• ร้านค้าขายของที่ระลึก
วัดภูมินทร์
จุดเด่นและศักยภาพของพื้นที่
พื้นที่สาธารณะสามารถปรับเปลี่ยนเพื่อรองรับผู้สูงอายุได้ดี
จุดเด่นและศักยภาพของพื้นที่
พื้นที่สาธารณะสามารถปรับเปลี่ยนเพื่อรองรับผู้สูงอายุได้ดี
จุดเด่นและศักยภาพของพื้นที่
พื้นที่สาธารณะสามารถปรับเปลี่ยนเพื่อรองรับผู้สูงอายุได้ดี
จุดเด่นและศักยภาพของพื้นที่
พื้นที่สาธารณะสามารถปรับเปลี่ยนเพื่อรองรับผู้สูงอายุได้ดี
คาถามสานฝัน  สู่การท่องเที่ยวเพื่อรองรับผู้สูงอายุ บ้านภูมินทร์-ท่าลี่
1. ขอพวกเราช่วยเพิ่มเติม แหล่ง/จุด/กิจกรรม ท่องเที่ยว
2. แหล่ง/จุด/กิจกรรม ท่องเที่ยว ที่มีความพร้อม
3. แหล่ง/จุด/กิจกรรม ท่องเที่ยว ดังกล่าว ต้องการปรับปรุง/เพิ่มเติม สิ่งใด
4. แผนงานในจุดที่จะทา/ จัดลาดับความสาคัญ / ลงรายละเอียดว่าจะทาอย่า
ไงต่อไป
วางแผนร่วมกันสร้างความเข้าใจ
วิเคราะห์ชุมชนร่วมกัน
ภาพบรรยากาศการจัดการอบรมการพัฒนาแหล่ง
ท่องเที่ยวเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
ในวันพุธที่ 5 มีนาคม 2557 ณ เทศบาลเมืองน่าน
วัดภูมินทร์
ประเมิน
น่าน
วัดภูมินทร์และชุมชน
ธ.ค.56
ม.ค. 57 คัดเลือกแหล่งท่องเที่ยวต้นแบบ
และดาเนินการสารวจเชิงลึก
การจัดอันดับแหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพ สูงสุด
1. วัดภูมินทร์ จ.น่าน
2. เวียงกุมกามจ. เชียงใหม่
3. ย่านวัวลาย จ.เชียงใหม่
แหล่งท่องเที่ยว
ที่เลือก
วัดภูมินทร์และชุมชน
ภูมินทร์-ท่าลี่ จ.น่าน
กายภาพ และสังคม
๑. กายภาพ ได้แก่ สิ่งบริการการท่องเที่ยวในเขต
พื้นที่ประวัติศาสตร์ชั้นใน (หัวแหวน) และพื้นที่
โดยรอบแหล่งท่องเที่ยว (ชุมชนภูมินทร์-ท่าลี่)
วัตถุประสงค์ เพื่อสารวจสภาพปัจจุบัน เป็น
ฐานข้อมูลในการวิเคราะห์ความพร้อม ปัญหา
อุปสรรค โอกาสการพัฒนา
๒. สังคม ได้แก่ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับแหล่ง
ท่องเที่ยว และกิจกรรมการท่องเที่ยวในพื้นที่
แผนแม่บทการจัดการชุมชนท่องเที่ยวเพื่อนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุในแหล่ง
ท่องเที่ยววัดภูมินทร์และชุมชนภูมินทร์-ท่าลี่
“ ภูมินทร์-ท่าลี่ ชุมชนท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์เพื่อผู้สูงอายุ และคนทั้งมวล”
1. เสริมสร้างความเข้าใจสาหรับชุมชนในเรื่องการรองรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
2. ส่งเสริมกิจกรรมด้านการท่องเที่ยวที่มีอยู่เดิม ให้สามารถรองรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
3. ส่งเสริมการนาทรัพยากรที่มีศักยภาพในด้านการท่องเที่ยวสาหรับผู้สูงอายุ ได้ริเริ่ม
ดาเนินการ
4.ร่วมกับผลักดันการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ เหมาะสมกับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ และคนทั้ง
มวล เป็นการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เคารพและชื่นชมวิถีวัฒนธรรมชุมชน และต้องเป็นการ
ท่องเที่ยวที่ช่วยส่งเสริม อนุรักษ์รักษามรดกทางวัฒนธรรมอันมีค่าของชุมชน
5.ร่วมกันจัดการผลประโยชน์อย่างโปร่งใส เพื่อให้เป็นไปแก่ประโยชน์ของสาธารณะ
วัด ชุมชน และสมาชิกในชุมชนทุกคน
การสารวจเชิงลึก แหล่งท่องเที่ยว
วัดภูมินทร์ ต.เวียงใต้อ.เมือง จ.น่าน
สัมภาษณ์ วิสัยทัศน์ นโยบาย การจัดการท่องเที่ยว และความพร้อมด้าน
สังคม
ภาครัฐ
นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองน่าน
หัวหน้าสานักปลัดเทศบาลฯตัวแทนพิพิธภัณฑสถานจ.น่าน
เจ้าอาวาสวัดภูมินทร์
ผู้อานวยการ อพท.
และฝ่ายปฎิบัติงาน
ประธานสภาเทศบาลฯ
หัวหน้าศูนย์ข้อมูลการท่องเที่ยวฯ
เจ้าหน้าที่ ททท. จ.แพร่
ปราชญ์ชุมชน
คณะกรรมการชุมชน
อสม.ชมรมผู้สูงอายุ
กลุ่มสตรี
สมาชิกสภาเทศบาล
ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน
คณะกรรมการวัดฯ
ชุมชน
และภาคเอกชน
กองทุนต่างๆของ
ชุมชน
วิธีการเก็บข้อมูล : สัมภาษณ์เชิงลึก และ focus group
กลุ่มจัดการดอกไม้ในวัด
สารวจและเก็บข้อมูลเชิงลึกแหล่งท่องเที่ยววัดภูมินทร์ 5-7 ม.ค. 57
ประชุมร่วมกับชุมชนภูมินทร์-ท่าลี่ ครั้งที่ 1 / ม.ค. 57
สัมภาษณ์แบบกลุ่มกับเทศบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กับการท่องเที่ยวผู้สูงอายุ 5 ม.ค. 57
สารวจเพื่อจัดทาร่างแผนแม่บทการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชุมชนวัดภูมินทร์-ท่าลี่ 4-5 ก.พ.57
ประชุมค้นหาความคิดสร้างสรรค์ด้านการพัฒนาท่องเที่ยวของชุมชน เพื่อชุมชนเพื่อผู้สูงอายุ ร่วมกับคณะกรรมการชุมชนภูมินทร์-ท่าลี่
5 ก.พ.57
1. แหล่งท่องเที่ยววัด
ภูมินทร์
2. โรงจอดเรือแข่ง
3. ถนนสายดอกไม้ (หน้าโรงบาบัดน้า
เสีย)
ผลการประชุม
ได้ 3 อันดับพื้นที่ที่
ต้องการพัฒนาแหล่ง
ท่องเที่ยวเพื่อรองรับ
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
1.ปรับปรุงจุดให้บริการดอกไม้ และ
บุคคลากร
การให้ข้อมูล / การให้บริการ / การสาธิต /
( การเสริมความรู้และแนวปฏิบัติแก่
บุคลากร)
2.ทางเท้า-ทางลาด
3.ราวเหล็ก
1.วัดภูมินทร์
(โครงการนาร่องการพัฒนา
แหล่งท่องเที่ยวรองรับ นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ)
2.พิพิธภัณฑ์เรือแข่ง (โรงเก็บเรือ)
1.ทาโรงเรือนให้เป็น
พิพิธภัณฑ์
2.ปรับภูมิทัศน์พื้นที่รอบๆ
3.การสอนทาเรือจาลอง
มีบุคลากรที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรือ
3. ถนนสายดอกไม้
1.ปรับภูมิทัศน์
2.เพิ่มเติมสิ่งบริการ ร้านอาหาร/ ที่นั่งพัก
3.หาดหินสวย – ลงเล่นริมน้าน่าน (เฉพาะมี.ค.-เม.ษ.)
• แผนปฏิบัติการ (โครงการนาร่อง) พัฒนาการท่องเที่ยวภายในวัดภูมินทร์
และพื้นที่เกี่ยวข้อง
1.ปรับปรุงจุดให้บริการดอกไม้ และบุคคลากร
การให้ข้อมูล / การให้บริการ / การสาธิต /
( การเสริมความรู้และแนวปฏิบัติแก่บุคลากร)
2.ทางเท้า-ทางลาด (จัดทาแนวทางการออกแบบ)
3.อุปกรณ์อานวยความสะดวก ราวจับ (จัดทาแนวทางการออกแบบ)
1.วัดภูมินทร์
1.ปรับปรุงจุดให้บริการดอกไม้ และ
บุคคลากร
การให้ข้อมูล / การให้บริการ / การสาธิต /
( การเสริมความรู้และแนวปฏิบัติแก่
บุคลากร)
• แผนปฏิบัติการ (โครงการนาร่อง) พัฒนาการท่องเที่ยวภายในวัดภูมินทร์
และพื้นที่เกี่ยวข้อง
การอบรมผู้นาชม /สาหรับ
ต้อนรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
เส้นทางนาเที่ยว 2 เส้นทาง
“ แอ่วหัวแหวนเมืองน่าน
ไหว้พระชมวิหารวัดภูมินทร์”
• เส้นทางชื่นชมวัดภูมินทร์
• เส้นทางหัวแหวนเมืองน่าน
การปรับปรุงจุดให้บริการนักท่องเที่ยว
ผู้สูงอายุภายในวัด จานวน 4จุด
• จุดบริการดอกไม้อายุยืน
• จุดเรียนรู้ชุมชน (หน้าพิพิธภัณฑ์)
• จุดชมสาเภาทอง (ชมนาคเทินวิหาร-และ
เรือแข่งจาลอง)
• จุดชมสถาปัตยกรรม
ข้อเสนอแนะการปรับปรุงจุดให้บริการ
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุอื่นๆ
• จุดป้ ายสื่อความหมาย
• จุดโรงเรือ
• จุดถนนสายดอกไม้
• จุดทางข้ามไป
• จุดทางเท้า
การอบรมผู้นาชม /สาหรับ
ต้อนรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
เส้นทางนาเที่ยว 2 เส้นทาง
“ แอ่วหัวแหวนเมืองน่าน
ไหว้พระชมวิหารวัดภูมินทร์”
• เส้นทางชื่นชมวัดภูมินทร์
• เส้นทางหัวแหวนเมืองน่าน
ประเด็นที่จะอบรมฯ
-ความรู้เรื่องการดูแล
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ ภาคปฏิบัติ
-เนื้อหาเรื่องการนาชมตาม
เส้นทางนาเที่ยวทั้ง 2 เส้นทาง
-เทคนิคการนาชม จากวิทยากรผู้
มีประสบการณ์
ผลิตเครื่องมืออานวยความสะดวกการนาเที่ยว
โปสเตอร์ / แผ่นพับ / แผนที่นาเที่ยวฉบับ
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
จุดที่ต้องการการปรับปรุง
จุดที่ 1 บริการดอกไม้ อายุยืน
รายละเอียดการปรับปรุง : เพิ่มโต๊ะยาว 1 ตัว / ม้านั่ง บริเวณหน้าพิพิธภัณฑ์
/ บอร์ดนิทรรศการ / ป้ ายไม้ / ร่ม 3 คัน
นิทรรศการบอกเล่าโครงการ
กิจกรรมดอกไม้
แผนที่นาชม 2 เส้นทาง
รายละเอียดการปรับปรุง :
บอร์ดนิทรรศการ / ป้ ายไม้ / ร่ม / เก้าอี้นั่ง
จุดที่ 2 จุดให้เรียนรู้ชุมชน
(ด้านหน้าพิพิธภัณฑ์)
นิทรรศการประวัติชุมชนโดยย่อ
คุณค่า - มรดกวัฒนธรรมชุมชน / วิถีชุมชนเข้มแข็ง
/ การจัดการน้าท่วม ชุมชนปลอดภัยระดับโลก
จุดที่ 3 จุดชมสาเภาทอง ศาลาด้านทิศตะวันตก (หน้าหอไตร-ร้านขายภาพวาด)
รายละเอียดการปรับปรุง :
ปรับพื้นให้เท่ากันด้วยวัสดุที่ไม่ถาวร เพิ่มร่ม และเก้าอี้ทาเป็นมุมนั่ง
พัก – ป้ ายสื่อความหมาย
จุดที่ 4 จุดห้องน้าปลอดภัย
รายละเอียดการปรับปรุง :
ราวจับ + ป้ ายสื่อความหมาย ข้อควร
ระวัง
บุคลากร
ทรัพยากร
โอกาส
วัดภูมินทร์
ถอดรหัสวัดภูมินทร์
เรื่องราวชุมชน
-ประวัติ / ชุมชนปลอดภัย / น้าท่วม กิจกรรมดอกไม้
พื้นที่หัวแหวน
การนาเที่ยว
ผู้สูงอายุชุมชน การเชื่อมโยงกับศูนย์
กลุ่มดอกไม้ รายได้เพิ่มเติมกาหนดแนวทางการ
ท่องเที่ยวด้วยตัวเอง ผู้สูงอายุชุมชน
ขยายแนวคิดชุมชน
สมาชิกชุมชน
งบประมาณ
ปรับปรุง
กิจกรรม
ท่องเที่ยว
1. ปรับปรุงจุดให้บริการดอกไม้ และเสริมศักยภาพบุคลากร
การให้ข้อมูล / การให้บริการ / การสาธิต /
( การเสริมความรู้และแนวปฏิบัติแก่บุคลากร) กิจกรรม “ดอกไม้อายุยืน”
1. ปรับปรุงจุดให้บริการดอกไม้ และเสริมศักยภาพบุคลากร
การให้ข้อมูล / การให้บริการ / การสาธิต /
( การเสริมความรู้และแนวปฏิบัติแก่บุคลากร) กิจกรรม “ดอกไม้อายุยืน”
การให้ข้อมูลการสาธิตการให้บริการ
พื้นที่ไม่อานวย
ไม่มีป้ ายสื่อสาร
แนวทางปฏิบัติสาหรับ
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
มีข้อมูลมากมายที่น่าสนใจ
ถอดรหัสวัดภูมินทร์
เรื่องราวชุมชน ฯลฯ
เข้าถึงลาบาก-ยังไม่มีบริการ
พื้นที่ไม่อานวย
ไม่มีป้ ายสื่อสาร
มีศักยภาพในการบอกเล่าและแนะนา
แนวทางปฏิบัติสาหรับ
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
สิ่งที่ควรทา
บริการดอกไม้
สาธิต
มัคคุเทศก์
ร่าง แผนการปฏิบัติการปรับปรุงกายภาพ และกิจกรรม
เพื่อรองรับนักท่องเที่ยว ผู้สูงอายุ ชุมชนภูมินทร์-ท่าลี่
1. กิจกรรมดอกไม้อายุยืน
จุดขาย - ดอกไม้สด คุณภาพ ไม่นามาเวียนใช้ สาธิตการทา ทาเองถวาย
พระ เงินทาบุญดอกไม้เพื่อประโยชน์ชุมชน โปร่งใส
แนวทางดาเนินการ
1. อบรมให้ความรู้ และสร้างแนวทางปฏิบัติร่วมกันใน
การรองรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
2.จัดทาป้ ายสื่อความหมาย ที่มา กิจกรรม และ
ประโยชน์
3. สร้างแนวทางการปรับปรุงพื้นที่
ร่าง แผนการปฏิบัติการปรับปรุงกายภาพ และกิจกรรม
เพื่อรองรับนักท่องเที่ยว ผู้สูงอายุ ชุมชนภูมินทร์-ท่าลี่
กิจกรรมดอกไม้อายุยืน (ตั้งค่ารับการบริการ)
สร้างแนวทางปฏิบัติร่วมกัน
เตรียมบริการไว้ 3 รูปแบบ
1. ดอกไม้สาหรับไหว้พระวัดภูมินทร์+น้ามันตะเกียง
2. ดอกไม้สาหรับกิจกรรมสาธิต และให้นักท่องเที่ยว
ผู้สูงอายุทาเอง + ธุป เทียน (ทาสวยดอก)
3. ตะกร้าและดอกไม้ สาหรับกิจกรรมไหว้พระงาม 9
องค์
2. กิจกรรมเดินชมวัดภูมินทร์ สาเภาทองสู่นิพาน
จุดขาย - เดินชมจุดต่างในวัด พร้อมเรื่องราวจากมัคคุเทศก์กิตติมาศักดิ์
(มัคคุเทศก์ผู้สูงอายุจากชุมชนภูมินทร์)
แนวทางดาเนินการ
1. อบรมให้ความรู้ กับมัคคุเทศก์ชุมชน และสร้างแนวทางปฏิบัติ
ร่วมกันในการรองรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
2.จัดทาแผนพับ / โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์
แนะนาข้อมูล มุมมองจุดที่ต้องชม จุดนั่งพัก ข้อควรระวัง
ร่าง แผนการปฏิบัติการปรับปรุงกายภาพ และกิจกรรม
เพื่อรองรับนักท่องเที่ยว ผู้สูงอายุ ชุมชนภูมินทร์-ท่าลี่
N
1
3
4
จุดที่ 1 จุดต้อนรับ
เส้นทางเดินชม วัดภูมินทร์
2
จุดที่ 4 พญานาคราคู่
สู่โลกุตรธรรม
จุดที่ 3 พญานาครา
เทินสาเภาทอง
และคนชุมชนริมน้าน่าน
จุดที่ 2 ชื่นชม
สถาปัตยกรรม
จุดเรียนรู้
กิจกรรมดอกไม้อายุยืน
“งามดอกไม้ งามจิตใจ๋
ผู้สูงวัยภูมินทร์”
จุดบริการดอกไม้
วิหารจัตุรมุข
ร้านค้า
ชุมชน
ห้องน้า
พิพิธภัณฑ์
1
4
3
2
เส้นทางการเดินชมวิหาร
ไหว้พระ 9 องค์ ทาบุญเสริมบารมี
พระพุทธมหาพรหมอุดรศากยมุนี
4 องค์
วัดหัวข่วง
1 องค์
1 องค์
พระเจ้าหลวง / พระในธรรมมาส / พระพุทธนันทบุรีศรีศากยมุนี
3 องค์
1.วัดภูมินทร์
4.วัดน้อย 3.วัดหัวข่วง
5.พิพิธภัณฑสถาน
เมืองน่าน
วัดภูมินทร์
2. วัดช้างค้า
ภาพกิจกรรมทดลองนาเที่ยว
1. การพัฒนาความพร้อมของชุมชน
2. การพัฒนาความพร้อมของทรัพยากรการท่องเที่ยว
แนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมการ
ท่องเที่ยวสาหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 2 ส่วน
- สร้างความเข้าใจในทุนทางสังคม เศรษฐกิจ
และการท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้อง
1. การพัฒนาความพร้อมของชุมชน
- สร้างความเข้าใจสภาพปัจจุบันของการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้น
ในชุมชน และคุณลักษณะของนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ ความ
ต้องการการรองรับ และองค์ความรู้ต่างๆที่เสริมสร้าง
ศักยภาพทรัพยากรบุคคล กลุ่มองค์กร และแหล่งท่องเที่ยว
- สนับสนุนการสร้างกลุ่ม หรือองค์กรการท่องเที่ยวระดับชุมชน
ที่มีกิจกรรมการท่องเที่ยวที่สอดรับกับศักยภาพของคนใน
ชุมชน ทรัพยากรการท่องเที่ยว และผลประโยชน์ร่วมกันของ
คนในชุมชน
- สนับสนุนการสร้างเครือข่ายทางสังคม และการท่องเที่ยว
- สนับสนุนการสร้างกลไกครบวงจรในห่วงโซ่ผลประโยชน์จากการ
ท่องเที่ยว เพื่อให้บางส่วนของผลประโยชน์ที่ได้ถูกนากลับไปใช้ดูแล
ชุมชนและแหล่งท่องเที่ยว
1. การพัฒนาความพร้อมของชุมชน
2. การพัฒนาความพร้อมของทรัพยากรการท่องเที่ยว
- สร้างนโยบาย แผน และข้อปฎิบัติ ที่มุ่งปรับปรุง รักษา และ
สร้างความยั่งยืนให้กับแหล่งท่องเที่ยว
- ดาเนินโครงการการปรับปรุง และเพิ่มเติมสิ่งบริการที่อานวย
ความสะดวกให้แก่นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ และคนทั้งมวล พร้อม
ทั้งคานึงถึงความเหมาะสมตามบริบทของพื้นที่
- สร้างรูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เหมาะสมทั้งกับ
นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ และศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยว
ขอบคุณครับ
ติดตามความคืบหน้าของงานวิจัย องค์ความรู้ที่
เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
และดาว์นโหลดเอกสารเผยแพร่ ได้ที่
www.facebook.com/senior.tourism.thailand

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Somyot Ongkhluap
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวArtitayamontree
 
Cultural tourism management for the older person in japan
Cultural tourism management for the older person in japanCultural tourism management for the older person in japan
Cultural tourism management for the older person in japanNattadech Choomplang
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวSomyot Ongkhluap
 
1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.chickyshare
 
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) นางสาวอัมพร แสงมณี
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศSomyot Ongkhluap
 
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวKorawan Sangkakorn
 
การท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจการท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจa
 
eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554Zabitan
 

La actualidad más candente (15)

Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
T guide2
T  guide2T  guide2
T guide2
 
Cultural tourism management for the older person in japan
Cultural tourism management for the older person in japanCultural tourism management for the older person in japan
Cultural tourism management for the older person in japan
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นบทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
 
ธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยว
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
 
1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.
 
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
 
การท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจการท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจ
 
eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554
 
CBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & LamphoonCBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & Lamphoon
 

Destacado

ผลกระทบการท่องเที่ยวภูหินร่องกล้า
ผลกระทบการท่องเที่ยวภูหินร่องกล้าผลกระทบการท่องเที่ยวภูหินร่องกล้า
ผลกระทบการท่องเที่ยวภูหินร่องกล้าMaywii Techapanrattanakul
 
ผลกระทบการท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ผลกระทบการท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ผลกระทบการท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ผลกระทบการท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่M'inld MMMMM
 
ผลกระทบทางการท่องเที่ยวของเกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานี
ผลกระทบทางการท่องเที่ยวของเกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานีผลกระทบทางการท่องเที่ยวของเกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานี
ผลกระทบทางการท่องเที่ยวของเกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานีMaywii Techapanrattanakul
 
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุย
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุยผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุย
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุยpiyanatpatitang
 
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ Korawan Sangkakorn
 
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหนผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหนKorawan Sangkakorn
 
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยวเศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยวPare Liss
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยKorawan Sangkakorn
 

Destacado (9)

ผลกระทบการท่องเที่ยวภูหินร่องกล้า
ผลกระทบการท่องเที่ยวภูหินร่องกล้าผลกระทบการท่องเที่ยวภูหินร่องกล้า
ผลกระทบการท่องเที่ยวภูหินร่องกล้า
 
ผลกระทบการท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ผลกระทบการท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ผลกระทบการท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ผลกระทบการท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
 
ผลกระทบทางการท่องเที่ยวของเกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานี
ผลกระทบทางการท่องเที่ยวของเกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานีผลกระทบทางการท่องเที่ยวของเกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานี
ผลกระทบทางการท่องเที่ยวของเกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานี
 
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุย
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุยผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุย
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุย
 
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
 
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหนผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
 
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยวเศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 

Similar a ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ

คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมคลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมSittisak Rungcharoensuksri
 
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015Silpakorn University
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...สถาบันราชบุรีศึกษา
 
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการบทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการpraphol
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกFURD_RSU
 
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015Silpakorn University
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลpentanino
 
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวการพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวKorawan Sangkakorn
 
คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101Sittisak Rungcharoensuksri
 
Senior tourism 20 june 2014
Senior tourism  20 june 2014Senior tourism  20 june 2014
Senior tourism 20 june 2014jirawit
 
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติคู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติBoonlert Aroonpiboon
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD_RSU
 
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือnattatira
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กการพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กKorawan Sangkakorn
 
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติ
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติโครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติ
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติPoramate Minsiri
 

Similar a ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ (20)

Lc_rm
Lc_rmLc_rm
Lc_rm
 
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมคลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
 
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
 
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการบทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
 
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
 
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรีการบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
 
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวการพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
 
คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101
 
Senior tourism 20 june 2014
Senior tourism  20 june 2014Senior tourism  20 june 2014
Senior tourism 20 june 2014
 
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติคู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
คู่มือการเสนอขอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
 
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
Lanna longstay
Lanna longstayLanna longstay
Lanna longstay
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กการพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
 
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติ
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติโครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติ
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติ
 
Skillmapping version2
Skillmapping version2Skillmapping version2
Skillmapping version2
 

ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ