SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 98
ชีวิตประจำวัน
ควำมหมำย คุณค่ำ ย่ำนชุมชนเก่ำ
ปูรณ์ ขวัญสุวรรณ คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์
สถำบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำเจ้ำคุณทหำรลำดกระบัง
“เมื่อแรกคนสร้างเมือง แต่แล ้วเมืองจะสร้างคน”
The urban is where ‘social relations …
project themselves into a space, becoming
inscribed there, and in the process
producing the space itself’
Lefebvre 1991
Rahul Mehrotra in an introduction…
Non-intentional design
Analysis of case studies
Meguro River over time
Like other urban rivers, the Meguro River is developed a vein-like
plan, in which old road networks and communities remain. These
communities are often severed by new rail roads and highways
radially leading from or circling around central Tokyo.
But old urban spaces and social life are still alive. The Meguro River
basin area now intersects 3 wards, each of which is further
subdivided into smaller communities.
Everyday Life and
Traditional Communities
Cultural Heritage Atlas Lampang:
Result from Local Interpretation Process
Cultural Heritage Atlas Lampang:
Result from Local Interpretation Process
กาดกองต้า-นครลาปาง
ที่มา : อ.ธีรชัย ลี้สุรพลานนท์
Cultural Heritage Atlas Lampang:
Result from Local Interpretation Process
Cultural Heritage Atlas Lampang:
Result from Local Interpretation Process
ตึกแถวขนาดย่อมๆ เหล่านี้สร้างขึ้นในสมัยที่ชีวิต
เมืองยังมี “ละแวก” อยู่ กิจกรรมในชีวิตอยู่นอก
บ ้านหรือนอกตึกแถวไม่น้อย ตกเย็นปิดร้านแล ้ว มี
อาแป๊ ะมานั่งชุมนุมเล่นดนตรีร่วมกัน ชมรมหมาก
รุกอยู่ถัดไป และนินทาสโมสรกระจายอยู่ทั่วไป นี่
ไงครับ “ชุมชน” ของเมือง ซึ่งทาให ้เมืองมีชีวิต
ไม่ใช่ป่ าคอนกรีต.....
นิธิ เอียวศรีวงศ์
Kawagoe, Japan
Kawagoe, Japan
Singapore
…as an authority,
it is hardly to
accept but this is
very interesting…
URA Deputy Director of Conservation Department
โครงกำรจัดทำมำตรฐำนสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม
ประเภทย่ำนชุมชนเก่ำ
สำนักงำนนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม
พรบ.สิ่งแวดล้อมแห่งชำติ พ.ศ. 2535
แผนจัดกำรคุณภำพสิ่งแวดล้อม
2555-2559
แผนงำนที่ ๔.๓ กำรจัดกำรสิ่งแวดล้อมของแหล่ง
ธรรมชำติ แผล่งธรณีวิทยำ แหล่งศิลปกรรม และ
แหล่งมรดกทำงธรรมชำติและศิลปวัฒนธรรม
โดยเฉพำะ แนวทำงปฏิบัติในกำรเร่งจัดทำมำตรฐำน
บ่งชี้คุณภำพสิ่งแวดล้อมของแหล่งศิลปกรรม
กฎหมำยฉบับนี้ได้ให้อำนำจ
กระทรวงวิทยำศำสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
(เดิม) ออกประกำศกระทรวงในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งให้
เป็ นเขตอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ซึ่งอำจมี
มำตรกำรคุ้มครองป้ องกัน ให้พื้นที่อนุรักษ์ฯยยังคงมี
สภำพแวดล้อมที่เหมำะสม (ม. 33, 42, 43, 44,
45)
พันธกิจ สผ. กองอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ธรรมชำติและศิลปกรรม
(เดิม) สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม หมำยถึง
สิ่งแวดล้อมและบรรยำกำศที่อยู่โดยรอบแหล่ง
ศิลปกรรมที่
มีควำมเกี่ยวเนื่อง และมีควำมสัมพันธ์กันทั้ง
ทำงตรงและทำงอ้อม สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมใน
ที่นี้คือสิ่งที่มนุษย์ได้สร้ำงหรือกำหนดขึ้นทั้งใน
อดีตและปัจจุบัน และได้รับกำรยกย่องว่ำมี
คุณค่ำทำงศิลปะ วัฒนธรรม ประวัติศำสตร์
โบรำณคดี เทคโนโลยี ได้แก่ พระรำชวัง วัง
วัด ศำสนสถำน ศำล อนุสำวรีย์ ป้ อม กำ แพง
เมือง คูเมือง อำคำรที่มีคุณค่ำทำงสถำปัตยกรรม
คลอง สะพำน ท่ำน้ำ และแหล่งชุมชนโบรำณ
และรวมถึงแหล่งศิลปกรรมที่นับเป็ นส่วนหนึ่งของ
กฎหมำย/แผนงำน/พันธกิจของ สผ.
นิยำมสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ประเภทย่ำนชุมชนเก่ำ
พันธกิจของสผ. พรบ.สิ่งแวดล้อม
แผนจัดกำรคุณภำพสิ่งแวดล้อม
แนวคิดสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม (เดิม)
แนวคิดจำกโครงกำร TCEP
แนวคิดจำกเอกสำรกรมศิลปำกร
กรณีศึกษำต่ำงประเทศ
พัฒนำกำรของกฏบัตรระหว่ำงประเทศ
Washington Charter
1987
Vienna Memorandum
2005
Valletta Principles
2011
กำรลงพื้นที่สำรวจ ภูมิศำสตร์/ภูมินิเวศ
แนวทางการระบุชนิดลักษณะ
นิเวศวิทยำชำติพันธุ์
พัฒนำกำรของกำรปกครอง
นโยบำยกำรพัฒนำ
วิธีกำรศึกษำ
ชุมชนริมน้ำ
ชุมชนรถไฟ
ชุมชนตลำด/กำรค้ำ
ชุมชนหมู่บ้ำน
ชุมชนประมง/เกษตร
ชุมชนชำติพันธุ์
เกณฑ์มำตรฐำนคุณภำพสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม
ประเภทย่ำนชุมชนเก่ำ
กลุ่มตัวชี้วัดด้ำนคุณค่ำ
ของย่ำนชุมชนเก่ำ
กลุ่มตัวชี้วัดด้ำนกำรบริหำร
จัดกำรของท้องถิ่น
-คุณค่ำควำมสำคัญ
-องค์ประกอบกำยภำพ
-องค์ประกอบที่ไม่ใช่กำยภำพ
-ควำมสัมพันธ์กับบริบทใหญ่
-ควำมตอบสนองชีวิตประจำวัน
-กลไกกำรบริหำรจัดกำร
-กำรมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น
1. ภูมิศำสตร์ กำรตั้งถิ่นฐำน ภูมินิเวศ ภำคกลำงและภำค
ตะวันออก
2. นิเวศวิทยำชำติพันธุ์ กลุ่มคนและกำรตั้งถิ่นฐำนในพื้นที่
ภำคกลำงและภำคตะวันออก
3. พัฒนำกำรด้ำนโครงสร้ำงกำรปกครองในชุมชนท้องถิ่น
4. ผลจำกกำรพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติต่อภำค
ตะวันออก ภำคตะวันตก และภำคกลำง
แนวทำงกำรระบุ สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ประเภทย่ำนชุมชนเก่ำ
ตลำดเช้ำ กำญจนบุรี
ท่ำปลำ ตลำดหนองบัว จันทบุรี
ตลำดเช้ำหนองบัว จันทบุรี
ก๋วยเตี๋ยวปำกหม้อ ตลำดพนมสำรคำม ฉะเชิงเทรำ
ตลำดบำงคล้ำ ฉะเชิงเทรำ
ชุมชนรถไฟท่ำฉลอม สมุทรสำคร
ชุมชนตลำดบ้ำนแหลม เพชรบุรี
ตลำดโพธำรำม รำชบุรี
ตลำดนำเกลือ ชลบุรี
ตลำดบ้ำนนำ นครนำยก
ตลำดปำกบำง สิงห์บุรี
ตลำดพระประแดง สมุทรปรำกำร
ตลำดเก้ำห้อง สุพรรณบุรี
ตลำดนครเนื่องเขต ฉะเชิงเทรำ
ตลำดศำลเจ้ำโรงทอง อ่ำงทอง
ตลำดศำลเจ้ำโรงทอง อ่ำงทอง
ตลำดศำลเจ้ำโรงทอง อ่ำงทอง
ย่ำนชุมชนเก่ำ
ภำพสะท้อนของชีวิตประจำวัน
กำรพิจำรณำลักษณะขององค์ประกอบที่ไม่ใช่กำยภำพ ที่ส่งเสริม
ลักษณะทำงกำยภำพที่เป็ นลักษณะหลักที่มองเห็นได้ด้วยสำยตำอันเป็ น
ประจักษ์ของกำรดำรงอยู่ของย่ำนชุมชนเก่ำ โดยองค์ประกอบที่ไม่ใช่
กำยภำพจะเป็ นตัวสะท้อนให้เห็นถึงควำมต่อเนื่องของกิจกรรม ผู้คน
และกำรดำรงอยู่ของวัฒนธรรมที่มีลักษณะเฉพำะ โดยมีหลักกำร
พิจำรณำ ได้แก่
ลักษณะของกิจกรรมในย่ำนชุมชนเก่ำ ซึ่งอาจจะเป็นกิจกรรมดั้งเดิมที่สืบ
ปฏิบัติสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน เช่น กิจกรรมการค้าขายของย่านการค้าเก่า
กิจกรรมในการประกอบอาชีพที่ผูกพันกับสภาพแวดล้อมเช่น การทานา ประมง
หรือ เป็นกิจกรรมใหม่ที่เข้าไปอยู่ในลักษณะทางกายภาพเดิมเพื่อที่จะทาให้เกิด
การใช้งานของย่านชุมชนเก่ากับลักษณะทางเศรษฐกิจสังคมปัจจุบัน เช่น
กิจกรรมเพื่อการรองรับการท่องเที่ยว กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ เป็นต้น
ลักษณะทำงควำมหมำยทำงประวัติศำสตร์ของย่ำนชุมชนเก่ำ โดยที่ย่าน
ชุมชนเก่านั้นยังคงมีหน้าที่ในทางความหมายเชิงประวัติศาสตร์อยู่มากน้อย
น้อยเพียงใด เช่น ความเป็นย่านการค้าแห่งแรกของเมือง ความเป็นแหล่งผลิตที่
ผลิตที่สาคัญในอดีต เป็นต้น
กำรสืบปฏิบัติทำงขนบประเพณี โดยขนบประเพณีเหล่านั้นได้สืบปฏิบัติอยู่ใน
ย่านชุมชนเก่านั้นๆมาอย่างต่อเนื่อง เช่น ประเพณีการถือศีลกินผัก ประเพณี
ประเพณีการแข่งเรือ ประเพณีที่เกี่ยวข้องกับศาสนา เป็นต้น
ควำมทรงจำ โดยเฉพาะความทรงจาของผู้คนต่อการดารงอยู่ของย่านชุมชน
เก่านั้นๆ ความสัมพันธ์กับวัยเด็กของคนในชุมชน การจดจาถึงช่วงสาคัญของ
ของการเปลี่ยนแปลงหรือเหตุการณ์สาคัญต่างๆ เช่น เหตุการณ์ไฟไหม้
เหตุการณ์น้าท่วม การก่อสร้างที่มีการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ เช่น การตัดถนน
ถนน สะพาน เป็นต้น
แนวคิดชีวิตประจำวันและมรดกแห่งควำมธรรมดำสำมัญ
หำกเรำฝึกที่จะมองเมือง เพื่อจะมองหำควำมเป็ นจริงอันปกติธรรมดำ โดยมิได้
จัดกลุ่ม แยกแยะ ผิดถูก หรือ เก่ำใหม่ เรำก็จะเห็นภูมิทัศน์ของเมืองในแง่มุมที่
แตกต่ำงออกไป ในย่ำนชุมชนเก่ำก็เช่นกัน หำกเรำยอมรับถึงกำรดำรงอยู่ของ
กิจกรรมแห่งชีวิตประจำวันที่หลำกหลำย เพื่อมองให้เห็นควำมเป็ นจริงของพื้นที่
ก่อนที่จะปฏิเสธว่ำมันไม่มีอยู่จริง แต่มันเป็ นผลผลิตทำงวัฒนธรรมที่
หลำกหลำยและเป็ นตัวชี้วัดที่สำคัญที่สุดที่จะบ่งชี้ถึงกำรดำรงอยู่ของย่ำนชุมชน
เก่ำ (ก่อนที่จะมีกระบวนกำรอนุรักษ์ทำงกำยภำพแบบกระแสหลักที่ดำเนินอยู่ใน
หลำยพื้นที่) เนื่องจำกเรำใช้กรอบคุณค่ำทำงวัฒนธรรมในกำรมองบริบทของ
ย่ำนชุมชนเก่ำ หำกแต่ตัววัฒนธรรมเองก็อำจไปสร้ำงอุปสรรคในกำรมองให้เห็น
ถึงควำมเป็ นจริงในพื้นที่ ซึ่งจะส่งผลมำสู่กำรพยำยำมแยกแยะว่ำ สิ่งใดคือ
ผลผลิตของวัฒนธรรมเก่ำ (มรดกทำงวัฒนธรรม?) และสิ่งใดเป็ นผลผลิตของ
วัฒนธรรมใหม่ (หรือวัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลง?) ซึ่งล้วนแต่เกิดขึ้นภำยในพื้นที่
ไพศำล เทพวงศ์ศิริรัตน์ (๒๕๕๒) ได้อธิบำยถึงแนวคิดชีวิตประจำวันผ่ำนกรอบ
กำรมองมองพื้นที่แบบ Everyday landscape, everyday urbanism ว่ำ....เป็นการ
พยายามที่จะมองสิ่งที่เป็นไปตามที่เป็นอยู่จริงๆ พยายามทาความเข้าใจกับภูมิ
กับภูมิทัศน์ธรรมดาๆ ในชีวิตประจาวัน ทั้งนี้ย่อมหนีไม่พ้นที่จะมีพื้นที่ทับซ้อน
ซ้อนกับภูมิทัศน์วัฒนธรรม และ (ภูมิ)สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น แต่ส่วนที่ต่าง
ออกไปคือ Everyday Landscape หรือ everyday urbanism จะคลุมประเด็นที่ถูก
ประเด็นที่ถูกปฏิเสธหรือไม่ถูกให้ความสาคัญจากปริมณฑลอื่นๆ จะให้ความ
ความสนใจกับการบูรณาการองค์ความรู้ หรือมุมมองจากศาสตร์อื่นๆมากขึ้น
ขึ้น เช่นการประยุกต์การศึกษาพฤติกรรมศาสตร์เข้ากับภูมิทัศน์วัฒนธรรม การ
การมอง(ภูมิ)สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นผ่านกรอบของเศรษฐศาสตร์การเมืองใน
ในชีวิตประจาวัน (เช่นมองด้วยมุม consumer geography) หรือการมองวิถีชีวิต
วิถีชีวิตของคนทั่วไปจากบริบทของการเปลี่ยนแปลงแห่งยุคสมัยด้วย
กระบวนการโลกาภิวัตน์เป็นต้น....
ตลำดอัมพวำ สมุทรสงครำม
Indigenous Knowledge
Spaces of Indeterminacy
....อย่างไรก็ตาม การพัฒนาเมืองและโครงสร ้างพื้นฐานหากไม่ได ้กระทาอย่างระมัดระวัง
แล ้วมันจะมีอิทธิพลอย่างมากต่อการอยู่รอดของวิถีทางเลือกหรือการเกิดของพื้นที่ที่ไม่ได ้
กาหนดไว ้– มาตรฐานของการวางผังเมืองแบบโมเดิร์น อันได ้แก่ ความหนาแน่นที่มาก
อาคารสูง การขยายพื้นผิวถนน รวมถึงการกาหนดการใช ้พื้นที่เชิงเดี่ยวนั้น - เป็นการ
ทาลายทางรอดของพื้นที่แห่งทางเลือกนั้นๆ
...พื้นที่ดังกล่าวมีความสัมพันธ์กับผู้ใช ้โดยที่ผู้ใช ้และผู้ที่มีส่วนร่วมในพื้นที่สามารถ
กาหนดการใช ้และสร ้างความเป็นเจ ้าของในเชิงจิตวิทยาโดยไม่จาเป็นต ้องมีการถือครอง
ตามกฎหมาย พื้นที่นี้มีกลไกที่มากกว่าจะใช ้หลักการหรือมาตรฐานใดๆมาอธิบาย พื้นที่
ดังกล่าวมีคุณลักษณะของพื้นที่ที่มีความแตกต่างหลากหลาย (heterotopia) …. เพื่อ
สร ้างพลังให ้กับชุมชนในระดับรากหญ ้าและเพื่อหล่อเลี้ยงพลังเพื่อการเผยแพร่ต่อไป...
นอกจากนี้มันยังเป็นองค์ประกอบสาคัญต่อการเปลี่ยนผ่านที่มีพลวัตของพื้นที่เล็กๆ
(microsites) ท ้ายที่สุด พื้นที่ที่ไม่ได ้กาหนดเอาไว ้เป็นเรื่องของการประกอบกันของหลาย
สิ่ง การอยู่ร่วมกันของความแตกต่างหลากหลาย และขบถในทางสร ้างสรรค์ – อันเป็น
หัวใจสาคัญของโพสต์โมเดิร์น
William S.W. Lim
Mohamed Saltan, Singapore
Urban Olympics, Spain
Villaggio Globale, Roma
Bangkok Docklands
Everyday Landscape;
the practical actions
Arcade on D.N. road : Bombay
Section : proposed by the architect
Castle Field, Manchester UK
Regeneration of Industrial Heritage in UK
The High Line
NYC
I wish this was…., New Orleans
แนวคิด Everyday Urbanization ชีวิตประจำวัน  ความหมาย คุณค่า ย่านชุมชนเก่า

Más contenido relacionado

Más de FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 

Más de FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

แนวคิด Everyday Urbanization ชีวิตประจำวัน ความหมาย คุณค่า ย่านชุมชนเก่า