SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 5
Descargar para leer sin conexión
1
ดร.สินาด ตรีวรรณไชย
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
1. บทนำ
การจัดการเมืองนั้นเกี่ยวพันกับการจัดการพฤติกรรมคน การเข้าใจในพฤติกรรมของคนว่า
ตัดสินใจอย่างไรจึงมีความสาคัญ โดยเฉพาะเมื่อบุคคลไม่มีความคงเส้นคงวา (inconsistence) มีความ
ลาเอียง (biases) การยึดติดกับทางเลือกเดิม (status quo bias) การใช้หลักการหยาบ ๆ (rules of
thumbs) หรือการเดาสุ่ม (randomness) ในการตัดสินใจ การแห่ตามกัน (bandwagon effects) การ
ควบคุมตัวเองไม่ได้ (self-control problem) การผัดวันประกันพรุ่ง (procrastination) และการไม่ใส่ใจ
หรือตั้งใจในการเลือก (mindless or inattentive decision) เป็นต้น ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้ก่อให้เกิดผลเสีย
ต่อทั้งตัวเองและผู้อื่นรวมถึงสร้างปัญหาให้กับเมืองด้วย เช่น ปัญหาการละเมิดกฎจราจร ปัญหาการทิ้ง
ขยะ เป็นต้น
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมซึ่งผนวกเอาแนวคิดทางจิตวิทยา (psychology) และสังคมวิทยา
(sociology) เข้ามาใช้มุ่งศึกษาพฤติกรรมที่ขาดการไตร่ตรองดังกล่าวว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร จากนั้นเรา
สามารถนาความรู้ที่ได้มาใช้ในการออกแบบนโยบายซึ่งรวมถึงนโยบายของเมือง
2. กระบวนกำรคิด (Cognitive Systems)
การทาความเข้าใจเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมโดยเริ่มต้น ควรเริ่มจากการศึกษาว่าคนเรามี
กระบวนการคิดเพื่อตัดสินใจอย่างไร เราอาจแบ่งกระบวนการคิด (cognitive systems) ออกเป็น 2 ระบบ
เนื้อหาในเอกสาร มาจากงานวิจัย เรื่อง “เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง” ภายใต้ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษา
มหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต โดยการสนับสนุนจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
POLICY BRIEF
เศรษฐศาสตร์ พฤติกรรม
กับ นโยบายของเมือง
2
ได้แก่ ระบบอัตโนมัติ (automatic system) และระบบไตร่ตรอง (reflective system)
ระบบอัตโนมัตินั้นเน้นใช้สัญชาตญาณ คือเราตัดสินใจหรือกระทาสิ่งใดไปด้วยความรวดเร็วแบบ
ไม่มีการไตร่ตรอง ดังนั้น ระบบนี้จึงมีลักษณะที่ควบคุมยาก (uncontrolled) ไม่ต้องพยายาม (effortless)
เน้นความเกี่ยวข้องกับสิ่งรอบข้าง (associative) รวดเร็ว (fast) ไม่รู้สึกตัวว่ากาลังคิดอยู่ (unconscious)
และใช้ความชานาญ (skilled)
ระบบไตร่ตรองนั้นเน้นการคิดวิเคราะห์ คือเราต้องตั้งใจจึงจะสามารถตัดสินใจได้ถูกต้อง ระบบนี้
จึงมีลักษณะที่เราสามารถควบคุมได้ (controlled) ใช้ความพยายาม (effortful) ใช้การอนุมาน
(deductive) ทาได้ช้า (slow) รู้ตัวว่ากาลังคิดอยู่ (self-aware) และทาตามกฎเกณฑ์หรือหลักการ (rule-
following)
นอกจากนี้ บุคคลยังมีข้อจากัดในกระบวนการคิด นั่นคือ เรามีความสามารถที่จากัดในการ
ประมวลผลข้อมูล จานวนการตัดสินใจที่ทาได้ การตัดสินใจในเวลาจากัดรวมถึงความทรงจา ยิ่งข้อมูลที่
เกี่ยวข้องมีมากและซับซ้อน จานวนการตัดสินใจที่มีมาก มีเวลาให้กับสาหรับการตัดสินใจน้อย และความ
มีความจาที่ไม่ดีนัก สิ่งเหล่านี้จะผลักดันให้เราหันไปใช้หลักการตัดสินใจแบบหยาบๆ (rule of thumbs)
หรือการสุ่มเดา (randomness) มากขึ้น ทาให้การตัดสินใจของคนจานวนมากมักใช้ระบบอัตโนมัติ
มากกว่าระบบไตร่ตรอง ซึ่งมีโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดในการตัดสินใจ นาไปสู่ผลเสียต่อทั้ง
สวัสดิการของผู้ตัดสินเองหรือต่อสังคมได้ง่ายขึ้น
3. ปัจจัยที่ส่งผลต่อกำรตัดสินใจ
เราสามารถพิจารณากระบวนการตัดสินใจตามแนวคิดเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมได้จาก 3 ปัจจัย
สาคัญที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ คือ (1) การรับรู้ (perception) (2) ความพึงพอใจ (preference) และ
(3) สถาบัน (institution)
การรับรู้ (perception) ประกอบด้วย 3 ประเด็นสาคัญคือ การให้ข่าวสารข้อมูล (information)
การลวงตา (illusion) และการจัดฉาก (framing) ในเชิงนโยบาย เราสามารถปรับเปลี่ยนการให้ข่าวสาร
ข้อมูล การจัดฉากข้อมูล หรือแม้แต่การลวงตา เพื่อให้คนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้ เช่น การใช้การทา
เส้นทึบขวางถนนที่มีระยะห่างแคบลงเรื่อย ๆ เมื่อถึงโค้งอันตรายเพื่อลดความเร็วการขับรถ เป็นต้น
ความพึงพอใจ (preference) ประกอบด้วย 4 ประเด็นสาคัญคือ การตัดสินใจโดยใช้เกณฑ์หยาบ
ๆ (rules of thumbs) การกลัวการสูญเสีย (loss aversion) การมีความมั่นใจมากเกินไป
(overconfidence) และสภาวะของจิตใจ (state of mind) การตัดสินใจโดยใช้เกณฑ์หยาบ ๆ นาไปสู่การ
ตัดสินใจที่มีความลาเอียงต่อบางทางเลือกที่มักยึดโยงกับการเดาสุ่มหรือสัญชาตญาณมากเกินไป การ
กลัวการสูญเสีย นาไปสู่การยึดติดกับทางเลือกเดิม (status quo bias) การมีความมั่นใจมากเกินไปและ
สภาวะจิตใจที่ถูกสิ่งเร้ากระตุ้น ทาให้บุคคลมีพฤติกรรมเสี่ยง ขาดความระมัดระวัง และตัดสินใจโดยขาด
การไตร่ตรอง ทาให้บุคคลมักเลือกตัดสินใจผิดพลาด อันจะเป็นผลเสียต่อตัวเองและสังคมได้ ในเชิง
นโยบาย เราควรกระตุ้นเตือนและพยายามหลีกเลี่ยงโอกาสที่บุคคลจะต้องใช้ความพึงพอใจในสี่ลักษณะ
ข้างต้น
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3
สถาบัน (institution) ประกอบด้วยองค์กร (organization) และกติกาการเล่นเกม (rules of the
game) ซึ่งหมายถึง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ บรรทัดฐาน วัฒนธรรม หรือประเพณีที่บุคคลที่เกี่ยวข้อง
ยึดถือร่วมกัน ในแง่นี้ สถาบันจึงมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของคนอย่างหลีกเลี่ยงไม่พ้น รูปแบบ
ความสัมพันธ์ของบุคคลกับสถาบันในทางเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมอาจแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ
บรรทัดฐานของตลาด (market norms) และบรรทัดฐานของสังคม (social norms)
บรรทัดฐานของตลาด เป็นปฏิสัมพันธ์ของคนในเชิงการแลกเปลี่ยน (exchange) ที่ชัดเจน เช่น
ชั่วโมงแรงงานกับค่าจ้าง สินค้ากับราคาสินค้า ห้องเช่ากับค่าเช่า ต้นทุนและผลประโยชน์ นั่นคือ
ความสัมพันธ์มีลักษณะพึ่งพาตนเอง เป็นเรื่องผลประโยชน์ส่วนบุคคล และตรงไปตรงมา พูดง่ายๆก็คือ
เราจะได้ในสิ่งที่เราจ่ายไป ส่วนบรรทัดฐานของสังคม เป็นปฏิสัมพันธ์ของคนเป็นลักษณะพึ่งพาอาศัย
กัน มักจะไม่มีการแลกเปลี่ยนทันที หรือหลายครั้งเราอาจไม่สนใจว่าจะได้อะไรตอบแทนเลยก็ได้ เช่น
การช่วยเพื่อนบ้านขนของ การช่วยคนแก่ข้ามถนน การช่วยเหลือคนแปลกหน้าที่ประสบอุบัติเหตุ เป็น
ต้น ในเชิงนโยบาย การใช้แรงจูงในทางสังคม เช่น การช่วยเหลือกัน การชมเชยและยอมรับ การทา
ความดี แทนที่จะใช้แรงจูงใจทางเศรษฐกิจ อาจให้ผลลัพธ์ที่ดีกว่าได้ เพราะความสัมพันธ์ทาง
สังคมตอบสนองด้านที่เป็นสัตว์สังคมของมนุษย์ที่ต้องการเป็นส่วนหนึ่งของสังคมหรือชุมชน
4. กำรออกแบบนโยบำยของเมือง
การออกแบบนโยบายของเมืองควรพิจารณาการออกแบบโครงสร้างของทางเลือก (choice
architecture) ที่จูงใจให้คนตัดสินใจเลือกสิ่งที่เป็นประโยชน์กับตัวเขาหรือสังคมมากที่สุดและหลีกเลี่ยง
การตัดสินใจที่เป็นโทษหรือก่อให้เกิดผลกระทบภายนอกทางลบ (negative externalities) โดยยังคงไว้
ซึ่งเสรีภาพในการเลือก (libertarian paternalism) ซึ่งแตกต่างจากการบังคับให้ทา (command and
control) ที่ขาดความยืดหยุ่นต่อบริบทและอาจละเมิดเสรีภาพในการเลือกของบุคคล
การออกแบบนโยบายควรเริ่มต้นด้วยการพิจารณาปัญหาของสิ่งที่ต้องการแก้ไขว่าเป็นอย่างไร
เกิดจากพฤติกรรมใดของคน จากนั้นจึงทาการออกแบบมาตรการว่าต้องการแก้ปัญหาด้วยการใช้การ
รับรู้ หรือการแก้ไขความพึงพอใจ หรือเปลี่ยนแปลงปัจจัยเชิงสถาบัน หรือเป็นมาตรการผสมผสาน
จากนั้นจึงทาการทดลอง (experiment) เพื่อดูผลของมาตรการ แล้วจึงนาไปวิเคราะห์ความคุ้มค่าของ
โครงการด้วยเทคนิคที่เหมาะสมต่อไป เช่น การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ (cost-benefit analy-
sis: CBA) ของนโยบาย โดยการวัดประโยชน์และต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ทั้งหมดเปรียบเทียบกัน
แล้วดูว่านโยบายหรือวิธีการใดน่าจะให้ประโยชน์สุทธิมากที่สุด
อนึ่ง จากการที่แนวคิดเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมมีลักษณะแปรผันตามบริบท สถานการณ์
รวมถึงปัจจัยทางสังคมวัฒนธรรมของแต่ละพื้นที่ การประยุกต์ใช้แนวคิดจึงมีความหลากหลายมาก ทา
ให้การประยุกต์ใช้ในพื้นที่หนึ่งที่ประสบความสาเร็จ อาจไม่มีผลต่ออีกพื้นที่หนึ่งก็ได้ นอกจากนี้ การทา
การทดลองใช้มาตรการที่ออกแบบมาอาจไม่สามารถกระทาได้ตลอดเวลา หลายกรณีอาจไม่สามารถ
ลองผิดลองถูกจนสูญเสียทรัพยากรมากเกินไปได้ ในความเป็นจริง มีมาตรการที่พยายามแก้ไข
พฤติกรรมคนประสบความล้มเหลวเป็นจานวนไม่น้อย ดังนั้น การออกแบบนโยบายจึงควรมุ่งออกแบบ
นโยบายที่มีต้นทุนต่า หรือเป็นมาตรการเสริมโดยอาจไม่ได้ไปทดแทนมาตรการแรงจูงใจตามปกติ
4
5. ตัวอย่ำงนโยบำยของเมือง
ตัวอย่างของนโยบายของเมืองที่ประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมในการจูงใจให้คนมี
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ ได้แก่
ตัวอย่ำงที่หนึ่ง: กำรแก้ปัญหำควำมสะอำดของห้องน้ำสำธำรณะ
สนามบิน Schiphol ในกรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ แก้ปัญหาการมีปัสสาวะเลอะ
ออกนอกโถในห้องน้าด้วยการพิมพ์ลายแมลงวันบ้าน (housefly) ลงไปในโถปัสสาวะ เพื่อให้ผู้ใช้มี
ความตั้งใจหรือเกิด “การเล็ง” ขณะปัสสาวะ ผลปรากฏว่าสามารถลดการเลอะออกนอกโถไปได้ถึงร้อย
ละ 80 นอกจากนี้ หากต้องการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการทาตามตัวอย่างนี้ ต้นทุนหลักของโครงการ
จะเป็นต้นทุนสาหรับการพิมพ์ลายลงในโถปัสสาวะ และผลประโยชน์ของโครงการคือมูลค่าที่สามารถ
ประหยัดได้จากการลดจานวนคนและเวลาในการทาความสะอาด แล้วอาจเปรียบเทียบกับความคุ้มค่า
ของนโยบายอื่น เช่น การทาป้ายรณรงค์ เป็นต้น
ตัวอย่ำงที่สอง: กำรลดอุบัติเหตุจำกกำรขับรถเร็วเกินกฎหมำยกำหนด
ตัวอย่างนี้คือการทาเส้นทึบขาวขวางถนนบน Lake Shore Drive ในเมืองชิคาโก
สหรัฐอเมริกา เพื่อลดอุบัติเหตุจากการขับขี่เกินความเร็วที่กาหนด เนื่องจากเส้นทางนี้มีโค้งอันตรายรูป
ตัว S หลายโค้งติดต่อกัน ผู้ขับขี่หลายคนไม่ทันระวังเรื่องการขับรถเกินความเร็วที่กาหนดจนต้องแหก
โค้งอยู่เป็นประจา วิธีแก้ปัญหาคือ ในช่วงก่อนเข้าโค้งอันตราย ผู้ขับขี่จะได้เห็นสัญลักษณ์ของการ
จากัดความเร็ว แล้วตามด้วยเส้นทึบสีขาวทาพาดตามแนวขวางถนนซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อส่งสัญญาณ
ทางการมองเห็น ลักษณะการทาเส้นทึบขาวมีลักษณะพิเศษคือ โดยเริ่มต้น เส้นทึบขาวจะถูกทาให้ห่าง
เท่าๆ กัน แต่เมื่ออยู่ในช่วงโค้งที่อันตราย เส้นทึบขาวจะถูกเว้นให้เข้าใกล้กันมากขึ้น การทาเช่นนี้ทา
ให้ผู้ขับขี่รู้สึกว่าเขาขับรถเร็วขึ้นแล้วสัญชาตญาณของผู้ขับขี่ก็จะลดความเร็วลงเอง เป็นการใช้การรับรู้
ทางสายตากับที่เชื่อมโยงกับกระบวนการคิดแบบอัตโนมัติ หากต้องการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการ
ทาตามตัวอย่างนี้ ต้นทุนหลักของโครงการจะเป็นต้นทุนสาหรับการทาเส้นทึบและสัญลักษณ์ลงบน
ถนน และผลประโยชน์ของโครงการคือจานวนอุบัติเหตุที่คาดการณ์ว่าจะลดได้ โดยอาจประเมินว่า
อุบัติเหตุหนึ่งครั้งจะทาให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐศาสตร์โดยเฉลี่ยเท่าไหร่ ซึ่งต้องรวมความ
เสียหายที่วัดเป็นตัวเงินได้ง่าย เช่น ความเสียหายของยานพาหนะ รวมกับความเสียหายหรือค่าเสีย
โอกาสของการเกิดอุบัติเหตุ เช่น เวลาที่เสียไปจากรถติด หรือจะเป็นรายได้ที่อาจสูญเสียไปหากพิการ
หรือเสียชีวิต เป็นต้น แล้วอาจเปรียบเทียบกับความคุ้มค่าของนโยบายอื่น เช่น การลดค่าความเร็ว
สูงสุดที่ขับได้ในพื้นที่นั้น เป็นต้น
ตัวอย่ำงที่สำม: กำรเพิ่มกำรแยกขยะและกำรนำกลับมำใช้ใหม่
ตัวอย่างนี้ใช้การออกแบบถังขยะเพื่อการรีไซเคิล (recycle bins) ซึ่งการสร้างแรงจูงใจให้แยก
ทิ้งขยะตามประเภท ณ จุดทิ้ง ตัวอย่างเช่น ในมหาวิทยาลัย Pennsylvania สหรัฐอเมริกา มีทั้งถังแยก
ประเภทพร้อมกับตัวอย่างขยะที่สามารถทิ้งในแต่ละถังพร้อมข้อความบอกปลายทางของขยะที่ทิ้ง
(นาไปใช้ใหม่ (recycle) หรือฝังกลบ (landfill)) การแสดงตัวอย่างขยะที่ทิ้งได้ในแต่ละถัง แสดงถึงการ
ให้ข้อมูลที่ลดขั้นตอนการคิดให้ผู้ทิ้งขยะสามารถเข้าใจได้ง่ายว่าควรจะทิ้งถังไหน การเขียนลงไปว่าฝัง
กลบ (landfill) พยายามให้เห็นถึงภาระการกาจัดขยะประเภทดังกล่าวที่จะตกกับสังคม รวมถึงมีการทา
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
5
ช่องสาหรับทิ้งขยะทั่วไปที่เป็นวงกลมและดูเล็กทาให้ความน่าทิ้งลดลงด้วย เหล่านี้แสดงถึงการลดความ
ซับซ้อนของการตัดสินใจ การใช้บรรทัดฐานของสังคม และการใช้การจัดฉากเข้ามาเพื่อเพิ่มแรงจูงใจใน
การแยกทิ้งขยะตามประเภท หากต้องการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการทาตามตัวอย่างนี้ ต้นทุนหลักของ
โครงการจะเป็นต้นทุนสาหรับผลิตถังขยะที่ออกแบบตามแนวคิด และผลประโยชน์ของโครงการคือ มูลค่า
ขยะที่สามารถแยกได้ รวมถึงการประหยัดของต้นทุนในการคัดแยก โดยอาจเปรียบเทียบกับความคุ้มค่า
ของนโยบายอื่น เช่น การจ้างแรงงานเพื่อการแยกขยะโดยเฉพาะ เป็นต้น
อย่างไรก็ตาม งานศึกษาชิ้นนี้มีข้อจากัดสาคัญคือ มิได้พิจารณาพฤติกรรมในเชิงกลยุทธ์ของคน
รวมไปถึงมิได้ศึกษาในเชิงลึกของตัวอย่างการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม ทั้งในแง่ความมี
ประสิทธิภาพและความคุ้มค่าโดยเปรียบเทียบกับมาตรการการแก้ปัญหาตามปกติ นอกจากนี้ ยังมิได้
ศึกษาถึงตัวอย่างในประเทศไทย ซึ่งขอบเขตการศึกษาที่มิได้ศึกษาเหล่านี้จะถูกนาไปศึกษาในอนาคต
เพิ่มเติมได้ที่ furd-rsu.org หรือ
https://www.facebook.com/furd.rsu
ประธำนกำกับทิศทำงแผนงำน นพม. : ศ.ดร. เอนก เหล่ำธรรมทัศน์
ผู้อำนวยกำรศูนย์ศึกษำมหำนครและเมือง : ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณำธิกำร : ยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้ช่วยบรรณำธิกำร : อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ผู้เขียน : ดร.สินาด ตรีวรรณไชย
รูปเล่ม : อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ปก : อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ปีที่เผยแพร่ : มิถุนายน 2559
สำนักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
ที่อยู่ติดต่อ
แผนงำนนโยบำยสำธำรณะเพื่อพัฒนำอนำคตของเมือง เลขที่ 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064
ศูนย์ศึกษำมหำนครและเมือง วิทยำลัยรัฐกิจ มหำวิทยำลัยรังสิต เลขที่ 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต

Más contenido relacionado

Destacado

การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
FURD_RSU
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือ
boomlonely
 
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
FURD_RSU
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
FURD_RSU
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
FURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
FURD_RSU
 
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
FURD_RSU
 

Destacado (19)

บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
 
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจัง...
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือ
 
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลาสถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
 
เมิองสายบุรี การขยายตัวของเมืองและพื้นที่สีเขียว
เมิองสายบุรี การขยายตัวของเมืองและพื้นที่สีเขียวเมิองสายบุรี การขยายตัวของเมืองและพื้นที่สีเขียว
เมิองสายบุรี การขยายตัวของเมืองและพื้นที่สีเขียว
 
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
 
จันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
จันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวจันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
จันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
 
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวการศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
 
PPT ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
PPT ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาPPT ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
PPT ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
 
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
 
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน  กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
 

Más de FURD_RSU

เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU
 

Más de FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

Policy Brief เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง

  • 1. 1 ดร.สินาด ตรีวรรณไชย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 1. บทนำ การจัดการเมืองนั้นเกี่ยวพันกับการจัดการพฤติกรรมคน การเข้าใจในพฤติกรรมของคนว่า ตัดสินใจอย่างไรจึงมีความสาคัญ โดยเฉพาะเมื่อบุคคลไม่มีความคงเส้นคงวา (inconsistence) มีความ ลาเอียง (biases) การยึดติดกับทางเลือกเดิม (status quo bias) การใช้หลักการหยาบ ๆ (rules of thumbs) หรือการเดาสุ่ม (randomness) ในการตัดสินใจ การแห่ตามกัน (bandwagon effects) การ ควบคุมตัวเองไม่ได้ (self-control problem) การผัดวันประกันพรุ่ง (procrastination) และการไม่ใส่ใจ หรือตั้งใจในการเลือก (mindless or inattentive decision) เป็นต้น ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้ก่อให้เกิดผลเสีย ต่อทั้งตัวเองและผู้อื่นรวมถึงสร้างปัญหาให้กับเมืองด้วย เช่น ปัญหาการละเมิดกฎจราจร ปัญหาการทิ้ง ขยะ เป็นต้น เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมซึ่งผนวกเอาแนวคิดทางจิตวิทยา (psychology) และสังคมวิทยา (sociology) เข้ามาใช้มุ่งศึกษาพฤติกรรมที่ขาดการไตร่ตรองดังกล่าวว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร จากนั้นเรา สามารถนาความรู้ที่ได้มาใช้ในการออกแบบนโยบายซึ่งรวมถึงนโยบายของเมือง 2. กระบวนกำรคิด (Cognitive Systems) การทาความเข้าใจเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมโดยเริ่มต้น ควรเริ่มจากการศึกษาว่าคนเรามี กระบวนการคิดเพื่อตัดสินใจอย่างไร เราอาจแบ่งกระบวนการคิด (cognitive systems) ออกเป็น 2 ระบบ เนื้อหาในเอกสาร มาจากงานวิจัย เรื่อง “เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง” ภายใต้ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษา มหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต โดยการสนับสนุนจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) POLICY BRIEF เศรษฐศาสตร์ พฤติกรรม กับ นโยบายของเมือง
  • 2. 2 ได้แก่ ระบบอัตโนมัติ (automatic system) และระบบไตร่ตรอง (reflective system) ระบบอัตโนมัตินั้นเน้นใช้สัญชาตญาณ คือเราตัดสินใจหรือกระทาสิ่งใดไปด้วยความรวดเร็วแบบ ไม่มีการไตร่ตรอง ดังนั้น ระบบนี้จึงมีลักษณะที่ควบคุมยาก (uncontrolled) ไม่ต้องพยายาม (effortless) เน้นความเกี่ยวข้องกับสิ่งรอบข้าง (associative) รวดเร็ว (fast) ไม่รู้สึกตัวว่ากาลังคิดอยู่ (unconscious) และใช้ความชานาญ (skilled) ระบบไตร่ตรองนั้นเน้นการคิดวิเคราะห์ คือเราต้องตั้งใจจึงจะสามารถตัดสินใจได้ถูกต้อง ระบบนี้ จึงมีลักษณะที่เราสามารถควบคุมได้ (controlled) ใช้ความพยายาม (effortful) ใช้การอนุมาน (deductive) ทาได้ช้า (slow) รู้ตัวว่ากาลังคิดอยู่ (self-aware) และทาตามกฎเกณฑ์หรือหลักการ (rule- following) นอกจากนี้ บุคคลยังมีข้อจากัดในกระบวนการคิด นั่นคือ เรามีความสามารถที่จากัดในการ ประมวลผลข้อมูล จานวนการตัดสินใจที่ทาได้ การตัดสินใจในเวลาจากัดรวมถึงความทรงจา ยิ่งข้อมูลที่ เกี่ยวข้องมีมากและซับซ้อน จานวนการตัดสินใจที่มีมาก มีเวลาให้กับสาหรับการตัดสินใจน้อย และความ มีความจาที่ไม่ดีนัก สิ่งเหล่านี้จะผลักดันให้เราหันไปใช้หลักการตัดสินใจแบบหยาบๆ (rule of thumbs) หรือการสุ่มเดา (randomness) มากขึ้น ทาให้การตัดสินใจของคนจานวนมากมักใช้ระบบอัตโนมัติ มากกว่าระบบไตร่ตรอง ซึ่งมีโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดในการตัดสินใจ นาไปสู่ผลเสียต่อทั้ง สวัสดิการของผู้ตัดสินเองหรือต่อสังคมได้ง่ายขึ้น 3. ปัจจัยที่ส่งผลต่อกำรตัดสินใจ เราสามารถพิจารณากระบวนการตัดสินใจตามแนวคิดเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมได้จาก 3 ปัจจัย สาคัญที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ คือ (1) การรับรู้ (perception) (2) ความพึงพอใจ (preference) และ (3) สถาบัน (institution) การรับรู้ (perception) ประกอบด้วย 3 ประเด็นสาคัญคือ การให้ข่าวสารข้อมูล (information) การลวงตา (illusion) และการจัดฉาก (framing) ในเชิงนโยบาย เราสามารถปรับเปลี่ยนการให้ข่าวสาร ข้อมูล การจัดฉากข้อมูล หรือแม้แต่การลวงตา เพื่อให้คนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้ เช่น การใช้การทา เส้นทึบขวางถนนที่มีระยะห่างแคบลงเรื่อย ๆ เมื่อถึงโค้งอันตรายเพื่อลดความเร็วการขับรถ เป็นต้น ความพึงพอใจ (preference) ประกอบด้วย 4 ประเด็นสาคัญคือ การตัดสินใจโดยใช้เกณฑ์หยาบ ๆ (rules of thumbs) การกลัวการสูญเสีย (loss aversion) การมีความมั่นใจมากเกินไป (overconfidence) และสภาวะของจิตใจ (state of mind) การตัดสินใจโดยใช้เกณฑ์หยาบ ๆ นาไปสู่การ ตัดสินใจที่มีความลาเอียงต่อบางทางเลือกที่มักยึดโยงกับการเดาสุ่มหรือสัญชาตญาณมากเกินไป การ กลัวการสูญเสีย นาไปสู่การยึดติดกับทางเลือกเดิม (status quo bias) การมีความมั่นใจมากเกินไปและ สภาวะจิตใจที่ถูกสิ่งเร้ากระตุ้น ทาให้บุคคลมีพฤติกรรมเสี่ยง ขาดความระมัดระวัง และตัดสินใจโดยขาด การไตร่ตรอง ทาให้บุคคลมักเลือกตัดสินใจผิดพลาด อันจะเป็นผลเสียต่อตัวเองและสังคมได้ ในเชิง นโยบาย เราควรกระตุ้นเตือนและพยายามหลีกเลี่ยงโอกาสที่บุคคลจะต้องใช้ความพึงพอใจในสี่ลักษณะ ข้างต้น แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 3. แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3 สถาบัน (institution) ประกอบด้วยองค์กร (organization) และกติกาการเล่นเกม (rules of the game) ซึ่งหมายถึง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ บรรทัดฐาน วัฒนธรรม หรือประเพณีที่บุคคลที่เกี่ยวข้อง ยึดถือร่วมกัน ในแง่นี้ สถาบันจึงมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของคนอย่างหลีกเลี่ยงไม่พ้น รูปแบบ ความสัมพันธ์ของบุคคลกับสถาบันในทางเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมอาจแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ บรรทัดฐานของตลาด (market norms) และบรรทัดฐานของสังคม (social norms) บรรทัดฐานของตลาด เป็นปฏิสัมพันธ์ของคนในเชิงการแลกเปลี่ยน (exchange) ที่ชัดเจน เช่น ชั่วโมงแรงงานกับค่าจ้าง สินค้ากับราคาสินค้า ห้องเช่ากับค่าเช่า ต้นทุนและผลประโยชน์ นั่นคือ ความสัมพันธ์มีลักษณะพึ่งพาตนเอง เป็นเรื่องผลประโยชน์ส่วนบุคคล และตรงไปตรงมา พูดง่ายๆก็คือ เราจะได้ในสิ่งที่เราจ่ายไป ส่วนบรรทัดฐานของสังคม เป็นปฏิสัมพันธ์ของคนเป็นลักษณะพึ่งพาอาศัย กัน มักจะไม่มีการแลกเปลี่ยนทันที หรือหลายครั้งเราอาจไม่สนใจว่าจะได้อะไรตอบแทนเลยก็ได้ เช่น การช่วยเพื่อนบ้านขนของ การช่วยคนแก่ข้ามถนน การช่วยเหลือคนแปลกหน้าที่ประสบอุบัติเหตุ เป็น ต้น ในเชิงนโยบาย การใช้แรงจูงในทางสังคม เช่น การช่วยเหลือกัน การชมเชยและยอมรับ การทา ความดี แทนที่จะใช้แรงจูงใจทางเศรษฐกิจ อาจให้ผลลัพธ์ที่ดีกว่าได้ เพราะความสัมพันธ์ทาง สังคมตอบสนองด้านที่เป็นสัตว์สังคมของมนุษย์ที่ต้องการเป็นส่วนหนึ่งของสังคมหรือชุมชน 4. กำรออกแบบนโยบำยของเมือง การออกแบบนโยบายของเมืองควรพิจารณาการออกแบบโครงสร้างของทางเลือก (choice architecture) ที่จูงใจให้คนตัดสินใจเลือกสิ่งที่เป็นประโยชน์กับตัวเขาหรือสังคมมากที่สุดและหลีกเลี่ยง การตัดสินใจที่เป็นโทษหรือก่อให้เกิดผลกระทบภายนอกทางลบ (negative externalities) โดยยังคงไว้ ซึ่งเสรีภาพในการเลือก (libertarian paternalism) ซึ่งแตกต่างจากการบังคับให้ทา (command and control) ที่ขาดความยืดหยุ่นต่อบริบทและอาจละเมิดเสรีภาพในการเลือกของบุคคล การออกแบบนโยบายควรเริ่มต้นด้วยการพิจารณาปัญหาของสิ่งที่ต้องการแก้ไขว่าเป็นอย่างไร เกิดจากพฤติกรรมใดของคน จากนั้นจึงทาการออกแบบมาตรการว่าต้องการแก้ปัญหาด้วยการใช้การ รับรู้ หรือการแก้ไขความพึงพอใจ หรือเปลี่ยนแปลงปัจจัยเชิงสถาบัน หรือเป็นมาตรการผสมผสาน จากนั้นจึงทาการทดลอง (experiment) เพื่อดูผลของมาตรการ แล้วจึงนาไปวิเคราะห์ความคุ้มค่าของ โครงการด้วยเทคนิคที่เหมาะสมต่อไป เช่น การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ (cost-benefit analy- sis: CBA) ของนโยบาย โดยการวัดประโยชน์และต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ทั้งหมดเปรียบเทียบกัน แล้วดูว่านโยบายหรือวิธีการใดน่าจะให้ประโยชน์สุทธิมากที่สุด อนึ่ง จากการที่แนวคิดเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมมีลักษณะแปรผันตามบริบท สถานการณ์ รวมถึงปัจจัยทางสังคมวัฒนธรรมของแต่ละพื้นที่ การประยุกต์ใช้แนวคิดจึงมีความหลากหลายมาก ทา ให้การประยุกต์ใช้ในพื้นที่หนึ่งที่ประสบความสาเร็จ อาจไม่มีผลต่ออีกพื้นที่หนึ่งก็ได้ นอกจากนี้ การทา การทดลองใช้มาตรการที่ออกแบบมาอาจไม่สามารถกระทาได้ตลอดเวลา หลายกรณีอาจไม่สามารถ ลองผิดลองถูกจนสูญเสียทรัพยากรมากเกินไปได้ ในความเป็นจริง มีมาตรการที่พยายามแก้ไข พฤติกรรมคนประสบความล้มเหลวเป็นจานวนไม่น้อย ดังนั้น การออกแบบนโยบายจึงควรมุ่งออกแบบ นโยบายที่มีต้นทุนต่า หรือเป็นมาตรการเสริมโดยอาจไม่ได้ไปทดแทนมาตรการแรงจูงใจตามปกติ
  • 4. 4 5. ตัวอย่ำงนโยบำยของเมือง ตัวอย่างของนโยบายของเมืองที่ประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมในการจูงใจให้คนมี พฤติกรรมที่พึงประสงค์ ได้แก่ ตัวอย่ำงที่หนึ่ง: กำรแก้ปัญหำควำมสะอำดของห้องน้ำสำธำรณะ สนามบิน Schiphol ในกรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ แก้ปัญหาการมีปัสสาวะเลอะ ออกนอกโถในห้องน้าด้วยการพิมพ์ลายแมลงวันบ้าน (housefly) ลงไปในโถปัสสาวะ เพื่อให้ผู้ใช้มี ความตั้งใจหรือเกิด “การเล็ง” ขณะปัสสาวะ ผลปรากฏว่าสามารถลดการเลอะออกนอกโถไปได้ถึงร้อย ละ 80 นอกจากนี้ หากต้องการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการทาตามตัวอย่างนี้ ต้นทุนหลักของโครงการ จะเป็นต้นทุนสาหรับการพิมพ์ลายลงในโถปัสสาวะ และผลประโยชน์ของโครงการคือมูลค่าที่สามารถ ประหยัดได้จากการลดจานวนคนและเวลาในการทาความสะอาด แล้วอาจเปรียบเทียบกับความคุ้มค่า ของนโยบายอื่น เช่น การทาป้ายรณรงค์ เป็นต้น ตัวอย่ำงที่สอง: กำรลดอุบัติเหตุจำกกำรขับรถเร็วเกินกฎหมำยกำหนด ตัวอย่างนี้คือการทาเส้นทึบขาวขวางถนนบน Lake Shore Drive ในเมืองชิคาโก สหรัฐอเมริกา เพื่อลดอุบัติเหตุจากการขับขี่เกินความเร็วที่กาหนด เนื่องจากเส้นทางนี้มีโค้งอันตรายรูป ตัว S หลายโค้งติดต่อกัน ผู้ขับขี่หลายคนไม่ทันระวังเรื่องการขับรถเกินความเร็วที่กาหนดจนต้องแหก โค้งอยู่เป็นประจา วิธีแก้ปัญหาคือ ในช่วงก่อนเข้าโค้งอันตราย ผู้ขับขี่จะได้เห็นสัญลักษณ์ของการ จากัดความเร็ว แล้วตามด้วยเส้นทึบสีขาวทาพาดตามแนวขวางถนนซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อส่งสัญญาณ ทางการมองเห็น ลักษณะการทาเส้นทึบขาวมีลักษณะพิเศษคือ โดยเริ่มต้น เส้นทึบขาวจะถูกทาให้ห่าง เท่าๆ กัน แต่เมื่ออยู่ในช่วงโค้งที่อันตราย เส้นทึบขาวจะถูกเว้นให้เข้าใกล้กันมากขึ้น การทาเช่นนี้ทา ให้ผู้ขับขี่รู้สึกว่าเขาขับรถเร็วขึ้นแล้วสัญชาตญาณของผู้ขับขี่ก็จะลดความเร็วลงเอง เป็นการใช้การรับรู้ ทางสายตากับที่เชื่อมโยงกับกระบวนการคิดแบบอัตโนมัติ หากต้องการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการ ทาตามตัวอย่างนี้ ต้นทุนหลักของโครงการจะเป็นต้นทุนสาหรับการทาเส้นทึบและสัญลักษณ์ลงบน ถนน และผลประโยชน์ของโครงการคือจานวนอุบัติเหตุที่คาดการณ์ว่าจะลดได้ โดยอาจประเมินว่า อุบัติเหตุหนึ่งครั้งจะทาให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐศาสตร์โดยเฉลี่ยเท่าไหร่ ซึ่งต้องรวมความ เสียหายที่วัดเป็นตัวเงินได้ง่าย เช่น ความเสียหายของยานพาหนะ รวมกับความเสียหายหรือค่าเสีย โอกาสของการเกิดอุบัติเหตุ เช่น เวลาที่เสียไปจากรถติด หรือจะเป็นรายได้ที่อาจสูญเสียไปหากพิการ หรือเสียชีวิต เป็นต้น แล้วอาจเปรียบเทียบกับความคุ้มค่าของนโยบายอื่น เช่น การลดค่าความเร็ว สูงสุดที่ขับได้ในพื้นที่นั้น เป็นต้น ตัวอย่ำงที่สำม: กำรเพิ่มกำรแยกขยะและกำรนำกลับมำใช้ใหม่ ตัวอย่างนี้ใช้การออกแบบถังขยะเพื่อการรีไซเคิล (recycle bins) ซึ่งการสร้างแรงจูงใจให้แยก ทิ้งขยะตามประเภท ณ จุดทิ้ง ตัวอย่างเช่น ในมหาวิทยาลัย Pennsylvania สหรัฐอเมริกา มีทั้งถังแยก ประเภทพร้อมกับตัวอย่างขยะที่สามารถทิ้งในแต่ละถังพร้อมข้อความบอกปลายทางของขยะที่ทิ้ง (นาไปใช้ใหม่ (recycle) หรือฝังกลบ (landfill)) การแสดงตัวอย่างขยะที่ทิ้งได้ในแต่ละถัง แสดงถึงการ ให้ข้อมูลที่ลดขั้นตอนการคิดให้ผู้ทิ้งขยะสามารถเข้าใจได้ง่ายว่าควรจะทิ้งถังไหน การเขียนลงไปว่าฝัง กลบ (landfill) พยายามให้เห็นถึงภาระการกาจัดขยะประเภทดังกล่าวที่จะตกกับสังคม รวมถึงมีการทา แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 5. 5 ช่องสาหรับทิ้งขยะทั่วไปที่เป็นวงกลมและดูเล็กทาให้ความน่าทิ้งลดลงด้วย เหล่านี้แสดงถึงการลดความ ซับซ้อนของการตัดสินใจ การใช้บรรทัดฐานของสังคม และการใช้การจัดฉากเข้ามาเพื่อเพิ่มแรงจูงใจใน การแยกทิ้งขยะตามประเภท หากต้องการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการทาตามตัวอย่างนี้ ต้นทุนหลักของ โครงการจะเป็นต้นทุนสาหรับผลิตถังขยะที่ออกแบบตามแนวคิด และผลประโยชน์ของโครงการคือ มูลค่า ขยะที่สามารถแยกได้ รวมถึงการประหยัดของต้นทุนในการคัดแยก โดยอาจเปรียบเทียบกับความคุ้มค่า ของนโยบายอื่น เช่น การจ้างแรงงานเพื่อการแยกขยะโดยเฉพาะ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม งานศึกษาชิ้นนี้มีข้อจากัดสาคัญคือ มิได้พิจารณาพฤติกรรมในเชิงกลยุทธ์ของคน รวมไปถึงมิได้ศึกษาในเชิงลึกของตัวอย่างการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม ทั้งในแง่ความมี ประสิทธิภาพและความคุ้มค่าโดยเปรียบเทียบกับมาตรการการแก้ปัญหาตามปกติ นอกจากนี้ ยังมิได้ ศึกษาถึงตัวอย่างในประเทศไทย ซึ่งขอบเขตการศึกษาที่มิได้ศึกษาเหล่านี้จะถูกนาไปศึกษาในอนาคต เพิ่มเติมได้ที่ furd-rsu.org หรือ https://www.facebook.com/furd.rsu ประธำนกำกับทิศทำงแผนงำน นพม. : ศ.ดร. เอนก เหล่ำธรรมทัศน์ ผู้อำนวยกำรศูนย์ศึกษำมหำนครและเมือง : ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณำธิกำร : ยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้ช่วยบรรณำธิกำร : อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ผู้เขียน : ดร.สินาด ตรีวรรณไชย รูปเล่ม : อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ปก : อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ปีที่เผยแพร่ : มิถุนายน 2559 สำนักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ ที่อยู่ติดต่อ แผนงำนนโยบำยสำธำรณะเพื่อพัฒนำอนำคตของเมือง เลขที่ 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064 ศูนย์ศึกษำมหำนครและเมือง วิทยำลัยรัฐกิจ มหำวิทยำลัยรังสิต เลขที่ 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216 แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต