SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 9
Descargar para leer sin conexión
http://anngle.org/th/wp-content/uploads/2013/07/6.jpg 
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : กรณีเกียวโต 
ฮากีม ผูหาดา 
ปู้ช่วยนักวิจัย 
แปนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง 
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : กรณีเกียวโต 
1 
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : 
กรณีเกียวโต 
หลายคนคงคุ้นเคยกับการจัดงานฉลองวันเกิดให้กับญาติสนิทมิตรสหายต่างๆ โดยในงานจะมี การเป่าเทียน ตัดเค้ก ร้องเพลง หรือทาบุญ ซึ่งเป็นพิธีการปกติในงานวันเกิดที่จัดให้กับผู้คน แต่เชื่อ เหลือเกินว่าน้อยคนนักที่เคยได้รับรู้ถึง “วันเกิดเมือง” เพราะไม่บ่อยนักที่จะมีการจัดงานเฉลิมฉลองใน วาระดังกล่าว ด้วยหลายๆ เมืองจะจัดเฉพาะในรอบร้อยปี หรือในช่วงปีที่มีตัวเลขคล้องจองกัน เช่น 111, 99 ปี เป็นต้น จนทาให้ผู้คนที่อาศัยอยู่ในเมืองไม่รู้ว่าพิธีการจัดงานวันเกิดสาหรับ “เมือง” ควรเป็นไปใน ลักษณะที่สร้างสรรค์อย่างไร หรือไม่รู้ด้วยซ้าว่าวันเกิดเมืองที่อาศัยอยู่คือวันที่เท่าไหร่ 
เมื่อปี พ.ศ. 2537 นครเกียวโต อดีตเมืองหลวงของญี่ปุ่ น มีอายุครอบรอบ 1200 ปี และในวาระ ดังกล่าวจึงได้มีการจัดงานเฉลิมฉลองวันเกิดเมืองเกียวโต ซึ่งในการจัดงานครั้งนั้นน่าจะเป็นแบบอย่างที่ ดีในการจัดงานวันเกิดให้กับเมืองอื่นๆ ดังนั้น จึงขอสรุปและเรียบเรียงกระบวนการจัดงานเฉลิมฉลอง 1200 ปีของเมืองเกียวโต (The Kyoto 1200th Celebration) จากหนังสือ “เชียงใหม่ 700 ปี : การฉลอง วันเกิดเมือง, การพัฒนาเมืองกับการปกครองท้องถิ่น”1 เพื่อเป็นบทเรียนให้เกิดการจัดงานเฉลิมฉลอง เมืองต่างๆ ของไทยอย่างสร้างสรรค์ต่อไป 
ประวัติเมืองเกียวโต นครเกียวโต เป็นเมืองเอกของจังหวัดเกียวโต และเป็นอดีตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่ น โดยมี ความเป็นมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 8 จักรพรรดิคัมมุ ตัดสินพระทัยที่จะย้ายนครหลวงไปยังภูมิภาคที่ห่างไกล จากอิทธิพลของพุทธศาสนา และทรงเลือกชัยภูมิแห่งใหม่ ที่หมู่บ้านอุดะ นครหลวงแห่งใหม่นี้ได้รับนาม ว่า เฮอังเกียว (นครหลวงแห่งสันติและสงบสุข) ต่อมาใน ค.ศ. 794 ก็ได้กลายเป็นนครที่ตั้งของราชสานัก ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นของยุคเฮอังในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่ น อย่างไรก็ตาม แม้ว่าภายหลัง รัฐบาลทหารจะตั้ง เมืองอื่นๆ เป็นศูนย์กลางทางอานาจการปกครองที่ไม่ใช่เกียวโต แต่โดยทางนิตินัยแล้ว นครหลวงของ 
1 ธเนศวร์ เจริญเมือง.(2539).เชียงใหม่ 700 ปี : การฉลองวันเกิดเมือง, การพัฒนาเมืองกับการปกครองท้องถิ่น. เอกสารชุด ปฏิรูปการปกครองท้องถิ่น ลาดับที่ 1 โครงการศึกษาการปกครองท้องถิ่น คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : กรณีเกียวโต 
2 ญี่ปุ่ นยังคงเป็นเกียวโตอันเป็นนครที่พระจักรพรรดิทรงประทับอยู่ จนถึง ค.ศ. 1869 ที่ราชสานักได้ย้าย ไปยังกรุงโตเกียว ภายหลังเมืองเกียวโตต้องเผชิญภัยสงครามหลายครั้ง จนทาให้เมืองได้รับความเสียหายมาก แต่ก็ ได้รับการซ่อมแซม ฟื้นฟู อยู่เสมอมาจนเป็นหนึ่งในสามเมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจของญี่ปุ่ น กระทั่ง พัฒนาไปเป็นเมืองที่เจริญก้าวหน้าจนมีประชากรเกินหนึ่งล้านคนในปี 1932 ในวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 1889 มีการขุดสร้างคลองทะเลสาบบิวะในปี ค.ศ. 1890 นาน้ามาหล่อ เลี้ยงเมืองจนกระทั่งพัฒนาไปเป็นเมืองที่เจริญก้าวหน้าจนมีประชากรเกินหนึ่งล้านคนในปี ค.ศ. 1932 และมีสถานะเป็นเมืองอันตั้งขึ้นโดยข้อบังคับของญี่ปุ่ นเมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 19562 
การเตรียมงานเฉลิมฉลอง 1200 ปีของเมืองเกียวโต 
งานวันเกิดเมืองเกียวโตมีการเตรียมงานล่วงหน้าถึง 5 ปี โดยในปี ค.ศ. 1989 ผู้บริหารจังหวัด และนครเกียวโต ซึ่งมาจากการเลือกตั้งของประชาชนได้ร่วมมือกับนักธุรกิจและนักวิชาการจัดตั้ง “มูลนิธิ ราลึกวาระครบรอบเมืองเกียวโต 1200 ปี” (Heiankyo 1200th Anniversary Memorial Foundation) และ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการอานวยการ ประกอบด้วยกรรมการ 6 คน คือประธานอานวยการ เป็น นักวิชาการด้านเคมีที่ได้รางวัลโบลและเป็นผู้อานวยการสถาบันเคมีพื้นฐานของเกียวโต และรองประธาน อานวยการ 4 คน คนที่หนึ่งคือผู้ว่าการจังหวัดเกียวโต(มาจากการเลือกตั้งโดยตรง) คนที่สองคือ นายกเทศมนตรีนครเกียวโต(มาจากการเลือกตั้งโดยตรง) คนที่สามคือประธานสภาการค้าและ อุตสาหกรรมของเกียวโต คนที่สี่คือนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยเกียวโต และประธานคือผู้นาด้านองค์กร วัฒนธรรมคนหนึ่ง ทั้งนี้คณะกรรมการฯ ได้เสนอคาขวัญของงานในครั้งนี้ว่า “Tradition and Creation” หรือ “สืบสานประเพณี สรรค์สร้างปัญ ญาและจินตนาการ”3 
จะเห็นได้ว่าคณะกรรมการจัดงานวันเกิดเมืองเกียวโต ล้วนแล้วแต่เป็นคนท้องถิ่นทั้งหมด และมี ส่วนหนึ่งก็มีที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนเกียวโต ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงวิธีคิด การทางาน ตลอดจนลักษณะการเมืองการปกครองได้เป็นอย่างดีว่าต้องกระจายอานาจให้เป็นเรื่องภายในของ ท้องถิ่น จะต้องให้คนภายในท้องถิ่นนั้นๆ จัดการเป็นหลัก เพราะคนในท้องถิ่นมีความเข้าใจในพื้นที่และ มีความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของท้องถิ่น(sense of belonging) มากกว่าผู้ที่มาจากการแต่งตั้งของส่วนกลาง 
2http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B8%B0_(%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87) 
3 ธเนศวร์ เจริญเมือง.(2539).เชียงใหม่ 700 ปี : การฉลองวันเกิดเมือง, การพัฒนาเมืองกับการปกครองท้องถิ่น. หน้า 12
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : กรณีเกียวโต 
3 
การเฉลิมฉลอง 1200 ปีของเมืองเกียวโต 
การเฉลิมฉลองแบ่งงานออกเป็น 2 ด้าน คือ ด้านวัฒนธรรม – สันทนาการ และด้านวัตถุ 
1. ด้านวัฒนธรรม – สันทนาการ มีการจัดงานต่างๆ ตลอดปี เช่น การจุดดอกไม้ไฟ การร้องเพลง การแสดงพื้นเมือง ดนตรี ละคร ขบวนแห่ นิทรรศการ งานแสดงศิลปะ การแข่งขันวิ่งมาราธอน และครึ่งทางมาราธอน เทศกาลภาพยนตร์ การประชุมทางวิชาการ การแสดงผลงานทาง วิทยาศาสตร์ ตลอดจนงานแสดงสินค้า ทั้งหมดนี้จัดงานในสถานที่ต่างๆ สลับกันไปตลอดปี รวม ทั้งสิ้น 1200 กว่ารายการ4 
2. ด้านวัตถุ มีงานหลักที่เรียกว่าการปรับปรุงเมือง (Urban Renaissance) โดยโครงการต่างๆ จะ ครอบคลุมงาน 6 ประเภท คือ ซึ่งโครงการทั้งหมดมี 18 โครงการ ดังนี้5 (ตารางที่ 1) 
ตารางที่ 1 แสดงโครงการ 18 โครงการ จาก 6 ประเภท และหน่วยงานรับผิดชอบ 
ประเภทโครงการ 
ชื่อโครงการ 
หน่วยงานรับผิดชอบ 
1. งานประเภท โครงสร้างพื้นฐาน 
 โครงการปรับปรุงสถานีรถไฟหลัก มีการ เพิ่มทางรถไฟเข้าออก ปรับปรุงด้านสิ่งแวดล้อม เพิ่มทางที่จะเชื่อมกับสนามบินนานาชาติแห่งใหม่ และจะมีการตกแต่งสถานีด้วยการนาเอา บรรยากาศแบบเกียวโตในอดีตมาประกอบ 
 โครงการรื้อฟื้นสถานีรถไฟนิโจ เป็นการ ปรับปรุงพื้นที่ 40 กว่าไร่ เพื่อทาเป็นเขตที่พัก อาศัย สถานีรถไฟแห่งใหม่ ที่จอดรถและถนน สายใหม่ 
 โครงการสร้างรถไฟใต้ดินสายใหม่ 
 โครงการสร้างทางหลวงสายใหม่หลายสาย 
สนับสนุนโดยบริษัท ธุรกิจด้านก่อสร้าง 
เทศบาลนครเกียวโต 
เทศบาลนครเกียวโต 
รัฐบาลกลางร่วมกับ เทศบาลนครเกียวโต 
4 เรื่องเดียวกัน. หน้า 12 
5 เรื่องเดียวกัน. หน้า 12-15
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : กรณีเกียวโต 
4 
 โครงการปรับปรุงท่าเรือฟูชิมิ 
จังหวัดเกียวโต 
2. งานส่งเสริม การศึกษาและ วัฒนธรรม 
 โครงการสร้างสวนธารณะอูเมโคจิ เป็นสวน ที่มีพื้นที่ขนาด 40 ไร่ มีอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อบริการ ประชาชนทุกฤดูกาล 
 โครงการสร้างสวนโอกาซากิ เพื่อการ พัฒนาด้านศิลปวัฒนธรรม เป็นศูนย์แสดงและ นิทรรศการด้านศิลปะและวัฒนธรรม 
 โครงการสร้างศูนย์ชุมชนประชากรเกียวโต จัดสร้างศูนย์ที่จะเปิดโอกาสให้ประชาชนได้ออก กาลังกาย การแสดงด้านวัฒนธรรมและการศึกษา 
 โครงการสร้างพิพิธภัณฑ์เกียวโตแห่งใหม่ เป็นสถาบันแสดงข้อมูลด้านประวัติศาสตร์และ วัฒนธรรมของเกียวโตอย่างละเอียด 
 โครงการสร้างอาคารดนตรีของนครเกียวโต ให้เป็นห้องแสดงดนตรีจุผู้ฟัง ได้ 1800 ที่นั่ง และ ห้องที่จุคนได้ 500 ที่นั่ง 
 โครงการสร้างศูนย์วิจัยนานาชาติด้านญี่ปุ่ น ศึกษา เป็นสถาบันที่ทางานร่วมกับมหาวิทยาลัย เปิดโอกาสให้นักวิจัยทั่วโลกมาศึกษาค้นคว้า เกี่ยวกับญี่ปุ่นและวัฒนธรรมญี่ปุ่น 
เทศบาลนครเกียวโต 
เทศบาลนครเกียวโต 
จังหวัดเกียวโต 
จังหวัดเกียวโต 
เทศบาลนครเกียวโต 
กระทรวงศึกษาธิการ ญี่ปุ่น 
3. งานประเภท ปรับปรุง ปัจจัยพื้นฐาน 
 โครงการศูนย์บ้านพักขนาดใหญ่ในเมือง 
เทศบาลนครเกียวโต 
4. งานประเภท ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม 
 โครงการปรับปรุงแม่น้าและลาคลอง มีการ ปรับพื้นที่ริมแม่น้าบางแห่งให้เป็นพื้นที่โล่ง รวมทั้งการปลูกต้นไม้และดอกไม้ในบางพื้นที่ 
จังหวัดเกียวโต
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : กรณีเกียวโต 
5 
5. งานประเภท ส่งเสริมธุรกิจ 
 โครงการก่อสร้างเมืองวิทยาศาสตร์คันไซ โดยจะจัดเป็นศูนย์วิจัยขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในเขต เมือง 3 เมืองคือเกียวโต นารา และโอซาก้า มุ่งที่ จะให้ศูนย์วิจัยแห่งนี้กระตุ้นการเติบโตทาง เศรษฐกิจ โครงการนี้ 
 โครงการสร้างสวนวิจัยเกียวโต มุ่งให้เป็น ศูนย์รวมสถาบันและหน่วยงานวิจัยเพื่อสนับสนุน และพัฒนาอุตสาหกรรมวิจัยและพัฒนาของ ท้องถิ่น 
 โครงการสร้างศูนย์แสดงสินค้าเกียวโต ให้ เป็นศูนย์แสดงสินค้าขนาดใหญ่ 
สนับสนุนโดย ภาคอุตสาหกรรม ร่วมกับภาควิชาการ และภาคองค์กร สาธารณะ 
บริษัทเอกชน 
จังหวัดเกียวโต 
6. งานประเภท ส่งเสริมการท่องเที่ยว และความสัมพันธ์กับ ต่างประเทศ 
 โครงการสร้างอาคารหอพักสาหรับชาว ต่างประเทศ เป็นอาคารแบบญี่ปุ่ นที่จะแสดง วัฒนธรรมแบบญี่ปุ่น 
 โครงการสร้างอาคารชุมชนนานาชาติแห่ง เกียวโตสาหรับเป็นห้องสมุดสาหรับนักศึกษาและ ชาวต่างชาติ และเป็นที่พบปะสังสรรค์ระหว่าง นักศึกษาและชาวต่างประเทศกับชาวเกียวโต 
จังหวัดเกียวโต 
เทศบาลนครเกียวโต 
(ภาพสถานีเกียวโต (Kyoto Station) สถานีรถไฟ ใหญ่และศูนย์กลางรถบัสของเมืองในปัจจุบัน ซึ่ง สร้างขึ้นในโอกาสเฉลิมฉลองการก่อตั้งเมืองเกียว โตครบ 1200 ปี เปิดให้บริการเมื่อปี พ.ศ. 2540)6 
6http://www.wonderfulpackage.com/article/v/290/%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%95-Kyoto-Station
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : กรณีเกียวโต 
6 
การจัดงานเฉลิมฉลอง 1200 ปีของเมืองเกียวโต ผ่านงานต่างๆ ทั้งด้านวัฒนธรรม – สันทนา การ และด้านวัตถุ ไม่เพียงสะท้อนให้เห็นถึงความเข้มแข็งของท้องถิ่นทางความคิด และกระวนการ ปฏิบัติเท่านั้น หากยังสะท้อนให้เห็นถึงความร่วมมือและการบูรณาการการทางานของโครงสร้างการ ปกครองระหว่างส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ตลอดจนประชาชนในท้องถิ่นเอง ที่สามารถ ตระหนักได้ถึงหน้าที่/ความรับผิดชอบ และข้อจากัดจากขนาดของโครงการที่ได้วางแผนไว้ จนปัจ จุบันนี้ แม้เมืองเกียวโตจะไม่ได้เป็นเมืองหลวงของญี่ปุ่ นอีกต่อไป แต่เมืองเกียวโตถือได้ว่าเป็นจิตวิญญาณของ ชาวญี่ปุ่ น ในด้านศาสนาและวัฒนธรรม ซึ่งเปรียบได้เช่น เมืองมักกะห์ ของชาวมุสลิม หรือกรุงวาติกัน ของชาวคริสต์ แต่กระนั้นก็ยังมีการพัฒนาทางด้านวัตถุให้มีความทันสมัย เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีอีกด้วย 
สรุป 
โดยกายภาพของเมืองแล้ว ก็เป็นดั่งเช่นมนุษย์ ที่เมื่อผ่านการใช้งานเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน แล้ว ก็จะเห็นความเปลี่ยนแปลงที่อ่อนแอลงเรื่อยๆ เพราะต่างล้วนมีอายุการใช้งานที่จากัด แขนขาที่เคย แข็งแรง เมื่อแก่ตัวลงก็เริ่มเสื่อมสภาพ ถนนหนทางตามเมืองก็เช่นกัน นานวันเข้าก็เกิดเป็นหลุมเป็นบ่อ จนเป็นอุปสรรคในการเดินทาง หูตาที่เคยได้ยิน ได้เห็นอย่างชัดเจน ก็เริ่มหย่อนยานและพร่ามัว อาคาร บ้านเรือนและผังเมืองก็คงไม่ต่างกัน มีการทรุดโทรมแตกร้าวและเสื่อมทลายลงในที่สุด ไม่เพียงในแง่ กายภาพเท่านั้น ในแง่จิตใจก็เช่นเดียวกัน มนุษย์อยู่ได้ด้วยการอยู่เป็นสังคมการเมืองที่ประกอบสร้าง ผ่านศาสนา และวัฒนธรรมที่ดีงาม ซึ่งหากไม่มีการสืบทอดส่งต่อแล้ว การมีชีวิตอยู่ของมนุษย์คงไร้ ความหมาย เช่นเดียวกัน หากเมืองมีเพียงวัตถุที่เป็นเพียงคอนกรีตเสริมเหล็ก เมืองจะมีชีวิตได้อย่างไร ดังนั้นวิถีชีวิตของผู้คนในเมืองผ่านกลไกต่างๆ จะเป็นส่วนเสริมให้เมืองมีชีวิตชีวามากขึ้น 
เพราะฉะนั้นการเดินทางของชีวิตมนุษย์และเมืองที่เมื่อบรรจบครบขวบปี จึงเป็นโอกาสที่ดีใน การทบทวนทั้งตัวมนุษย์ และเมืองว่า มีความเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร มีส่วนไหนที่ยังบกพร่อง ต้อง ซ่อมแซม ต้องพัฒนาต่อไป ซึ่งกรณีการจัดงานเฉลิมฉลอง 1200 ปีของเมืองเกียวโต จะเป็นแบบอย่างที่ สามารถหล่อหลอมทั้งด้านวัตถุทางกายภาพ และวัฒนธรรม(จิตใจ) ได้อย่างลงตัว 
สิ่งสาคัญที่สุดคือแบบแผนการบริหารอานาจและการจัดการเมืองที่ต้องเปิดโอกาสให้คนใน ท้องถิ่นซึ่งมีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นตนเองรับผิดชอบเป็นหลัก ไม่สมควรที่งานวันเกิดจะให้ใครก็ ตามที่ไม่รู้จักเจ้าของวันเกิดมาเป็นผู้จัดงาน เพราะแน่นอนว่าคนเหล่านั้นไม่รับรู้ว่าเจ้าของวันเกิดเป็นคน
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : กรณีเกียวโต 
7 
อย่างไร หรือชอบ/ไม่ชอบอะไร จนไม่สามารถตอบสนองความต้องการของเจ้าของวันเกิดได้ สิ่งเหล่านี้ สะท้อนภาพโครงสร้างการปกครองจากล่างสู่บน(bottom-up) เป็นสาคัญ ซึ่งต้องครอบคลุมในทุกกิจการ งานของเมือง ไม่เฉพาะเพียงงานวันเกิดเท่านั้น
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : กรณีเกียวโต 
8 
อ้างอิง 
ธเนศวร์ เจริญเมือง.(2539).เชียงใหม่ 700 ปี : การฉลองวันเกิดเมือง, การพัฒนาเมืองกับการปกครอง ท้องถิ่น. เชียงใหม่ : โครงการศึกษาการปกครองท้องถิ่น คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 
T. R. Reid. (1994). Kyoto Celebrates Its 1,200Th Anniversary. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2557, เว็บไซต์ : http://community.seattletimes.nwsource.com/archive/?date=19941211&slug=1946676

Más contenido relacionado

Destacado

กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน  กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน FURD_RSU
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...FURD_RSU
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...FURD_RSU
 
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคมงานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"FURD_RSU
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะFURD_RSU
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลFURD_RSU
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015Klangpanya
 
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมาFURD_RSU
 

Destacado (9)

กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน  กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
 
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคมงานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
 
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
 
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
 

Similar a การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโต

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒Boonlert Aroonpiboon
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลpentanino
 
Chiangmai Creative City USA Visit 2012
Chiangmai Creative City USA Visit 2012Chiangmai Creative City USA Visit 2012
Chiangmai Creative City USA Visit 2012Smith Taweelerdniti
 
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นวัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นapiromrut
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมYukari Samana
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานPornpimon Gormsang
 
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมคลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมSittisak Rungcharoensuksri
 
คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101Sittisak Rungcharoensuksri
 
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่FURD_RSU
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยกฤตพร สุดสงวน
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)SAKANAN ANANTASOOK
 
แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)
แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)
แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)Thanapat Vimonsat
 
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอราโครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอราsupatcha roongruang
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกFURD_RSU
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.Tor Jt
 

Similar a การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโต (20)

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
 
V 289
V 289V 289
V 289
 
Chiangmai Creative City USA Visit 2012
Chiangmai Creative City USA Visit 2012Chiangmai Creative City USA Visit 2012
Chiangmai Creative City USA Visit 2012
 
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นวัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
 
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมคลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
 
คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101คลังข้อมูลชุมชน 101
คลังข้อมูลชุมชน 101
 
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
การสร้างหลั่นล้าอีโคโนมี ด้วยการขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจวัฒนธรรมของพื้นที่
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
Digital Library for Thailand
Digital Library for ThailandDigital Library for Thailand
Digital Library for Thailand
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
 
แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)
แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)
แบบทดสอบก่อนเรียน1 (1)
 
Archives and Museum in Digital Age
Archives and Museum in Digital AgeArchives and Museum in Digital Age
Archives and Museum in Digital Age
 
Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009
 
Book Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 FullBook Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 Full
 
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอราโครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
โครงงานสื่อการเรียนรู้อาณาจักรมอเนอรา
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
 

Más de FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 

Más de FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโต

  • 1. http://anngle.org/th/wp-content/uploads/2013/07/6.jpg การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : กรณีเกียวโต ฮากีม ผูหาดา ปู้ช่วยนักวิจัย แปนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 2. การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : กรณีเกียวโต 1 การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : กรณีเกียวโต หลายคนคงคุ้นเคยกับการจัดงานฉลองวันเกิดให้กับญาติสนิทมิตรสหายต่างๆ โดยในงานจะมี การเป่าเทียน ตัดเค้ก ร้องเพลง หรือทาบุญ ซึ่งเป็นพิธีการปกติในงานวันเกิดที่จัดให้กับผู้คน แต่เชื่อ เหลือเกินว่าน้อยคนนักที่เคยได้รับรู้ถึง “วันเกิดเมือง” เพราะไม่บ่อยนักที่จะมีการจัดงานเฉลิมฉลองใน วาระดังกล่าว ด้วยหลายๆ เมืองจะจัดเฉพาะในรอบร้อยปี หรือในช่วงปีที่มีตัวเลขคล้องจองกัน เช่น 111, 99 ปี เป็นต้น จนทาให้ผู้คนที่อาศัยอยู่ในเมืองไม่รู้ว่าพิธีการจัดงานวันเกิดสาหรับ “เมือง” ควรเป็นไปใน ลักษณะที่สร้างสรรค์อย่างไร หรือไม่รู้ด้วยซ้าว่าวันเกิดเมืองที่อาศัยอยู่คือวันที่เท่าไหร่ เมื่อปี พ.ศ. 2537 นครเกียวโต อดีตเมืองหลวงของญี่ปุ่ น มีอายุครอบรอบ 1200 ปี และในวาระ ดังกล่าวจึงได้มีการจัดงานเฉลิมฉลองวันเกิดเมืองเกียวโต ซึ่งในการจัดงานครั้งนั้นน่าจะเป็นแบบอย่างที่ ดีในการจัดงานวันเกิดให้กับเมืองอื่นๆ ดังนั้น จึงขอสรุปและเรียบเรียงกระบวนการจัดงานเฉลิมฉลอง 1200 ปีของเมืองเกียวโต (The Kyoto 1200th Celebration) จากหนังสือ “เชียงใหม่ 700 ปี : การฉลอง วันเกิดเมือง, การพัฒนาเมืองกับการปกครองท้องถิ่น”1 เพื่อเป็นบทเรียนให้เกิดการจัดงานเฉลิมฉลอง เมืองต่างๆ ของไทยอย่างสร้างสรรค์ต่อไป ประวัติเมืองเกียวโต นครเกียวโต เป็นเมืองเอกของจังหวัดเกียวโต และเป็นอดีตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่ น โดยมี ความเป็นมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 8 จักรพรรดิคัมมุ ตัดสินพระทัยที่จะย้ายนครหลวงไปยังภูมิภาคที่ห่างไกล จากอิทธิพลของพุทธศาสนา และทรงเลือกชัยภูมิแห่งใหม่ ที่หมู่บ้านอุดะ นครหลวงแห่งใหม่นี้ได้รับนาม ว่า เฮอังเกียว (นครหลวงแห่งสันติและสงบสุข) ต่อมาใน ค.ศ. 794 ก็ได้กลายเป็นนครที่ตั้งของราชสานัก ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นของยุคเฮอังในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่ น อย่างไรก็ตาม แม้ว่าภายหลัง รัฐบาลทหารจะตั้ง เมืองอื่นๆ เป็นศูนย์กลางทางอานาจการปกครองที่ไม่ใช่เกียวโต แต่โดยทางนิตินัยแล้ว นครหลวงของ 1 ธเนศวร์ เจริญเมือง.(2539).เชียงใหม่ 700 ปี : การฉลองวันเกิดเมือง, การพัฒนาเมืองกับการปกครองท้องถิ่น. เอกสารชุด ปฏิรูปการปกครองท้องถิ่น ลาดับที่ 1 โครงการศึกษาการปกครองท้องถิ่น คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • 3. การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : กรณีเกียวโต 2 ญี่ปุ่ นยังคงเป็นเกียวโตอันเป็นนครที่พระจักรพรรดิทรงประทับอยู่ จนถึง ค.ศ. 1869 ที่ราชสานักได้ย้าย ไปยังกรุงโตเกียว ภายหลังเมืองเกียวโตต้องเผชิญภัยสงครามหลายครั้ง จนทาให้เมืองได้รับความเสียหายมาก แต่ก็ ได้รับการซ่อมแซม ฟื้นฟู อยู่เสมอมาจนเป็นหนึ่งในสามเมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจของญี่ปุ่ น กระทั่ง พัฒนาไปเป็นเมืองที่เจริญก้าวหน้าจนมีประชากรเกินหนึ่งล้านคนในปี 1932 ในวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 1889 มีการขุดสร้างคลองทะเลสาบบิวะในปี ค.ศ. 1890 นาน้ามาหล่อ เลี้ยงเมืองจนกระทั่งพัฒนาไปเป็นเมืองที่เจริญก้าวหน้าจนมีประชากรเกินหนึ่งล้านคนในปี ค.ศ. 1932 และมีสถานะเป็นเมืองอันตั้งขึ้นโดยข้อบังคับของญี่ปุ่ นเมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 19562 การเตรียมงานเฉลิมฉลอง 1200 ปีของเมืองเกียวโต งานวันเกิดเมืองเกียวโตมีการเตรียมงานล่วงหน้าถึง 5 ปี โดยในปี ค.ศ. 1989 ผู้บริหารจังหวัด และนครเกียวโต ซึ่งมาจากการเลือกตั้งของประชาชนได้ร่วมมือกับนักธุรกิจและนักวิชาการจัดตั้ง “มูลนิธิ ราลึกวาระครบรอบเมืองเกียวโต 1200 ปี” (Heiankyo 1200th Anniversary Memorial Foundation) และ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการอานวยการ ประกอบด้วยกรรมการ 6 คน คือประธานอานวยการ เป็น นักวิชาการด้านเคมีที่ได้รางวัลโบลและเป็นผู้อานวยการสถาบันเคมีพื้นฐานของเกียวโต และรองประธาน อานวยการ 4 คน คนที่หนึ่งคือผู้ว่าการจังหวัดเกียวโต(มาจากการเลือกตั้งโดยตรง) คนที่สองคือ นายกเทศมนตรีนครเกียวโต(มาจากการเลือกตั้งโดยตรง) คนที่สามคือประธานสภาการค้าและ อุตสาหกรรมของเกียวโต คนที่สี่คือนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยเกียวโต และประธานคือผู้นาด้านองค์กร วัฒนธรรมคนหนึ่ง ทั้งนี้คณะกรรมการฯ ได้เสนอคาขวัญของงานในครั้งนี้ว่า “Tradition and Creation” หรือ “สืบสานประเพณี สรรค์สร้างปัญ ญาและจินตนาการ”3 จะเห็นได้ว่าคณะกรรมการจัดงานวันเกิดเมืองเกียวโต ล้วนแล้วแต่เป็นคนท้องถิ่นทั้งหมด และมี ส่วนหนึ่งก็มีที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนเกียวโต ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงวิธีคิด การทางาน ตลอดจนลักษณะการเมืองการปกครองได้เป็นอย่างดีว่าต้องกระจายอานาจให้เป็นเรื่องภายในของ ท้องถิ่น จะต้องให้คนภายในท้องถิ่นนั้นๆ จัดการเป็นหลัก เพราะคนในท้องถิ่นมีความเข้าใจในพื้นที่และ มีความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของท้องถิ่น(sense of belonging) มากกว่าผู้ที่มาจากการแต่งตั้งของส่วนกลาง 2http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B8%B0_(%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87) 3 ธเนศวร์ เจริญเมือง.(2539).เชียงใหม่ 700 ปี : การฉลองวันเกิดเมือง, การพัฒนาเมืองกับการปกครองท้องถิ่น. หน้า 12
  • 4. การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : กรณีเกียวโต 3 การเฉลิมฉลอง 1200 ปีของเมืองเกียวโต การเฉลิมฉลองแบ่งงานออกเป็น 2 ด้าน คือ ด้านวัฒนธรรม – สันทนาการ และด้านวัตถุ 1. ด้านวัฒนธรรม – สันทนาการ มีการจัดงานต่างๆ ตลอดปี เช่น การจุดดอกไม้ไฟ การร้องเพลง การแสดงพื้นเมือง ดนตรี ละคร ขบวนแห่ นิทรรศการ งานแสดงศิลปะ การแข่งขันวิ่งมาราธอน และครึ่งทางมาราธอน เทศกาลภาพยนตร์ การประชุมทางวิชาการ การแสดงผลงานทาง วิทยาศาสตร์ ตลอดจนงานแสดงสินค้า ทั้งหมดนี้จัดงานในสถานที่ต่างๆ สลับกันไปตลอดปี รวม ทั้งสิ้น 1200 กว่ารายการ4 2. ด้านวัตถุ มีงานหลักที่เรียกว่าการปรับปรุงเมือง (Urban Renaissance) โดยโครงการต่างๆ จะ ครอบคลุมงาน 6 ประเภท คือ ซึ่งโครงการทั้งหมดมี 18 โครงการ ดังนี้5 (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 แสดงโครงการ 18 โครงการ จาก 6 ประเภท และหน่วยงานรับผิดชอบ ประเภทโครงการ ชื่อโครงการ หน่วยงานรับผิดชอบ 1. งานประเภท โครงสร้างพื้นฐาน  โครงการปรับปรุงสถานีรถไฟหลัก มีการ เพิ่มทางรถไฟเข้าออก ปรับปรุงด้านสิ่งแวดล้อม เพิ่มทางที่จะเชื่อมกับสนามบินนานาชาติแห่งใหม่ และจะมีการตกแต่งสถานีด้วยการนาเอา บรรยากาศแบบเกียวโตในอดีตมาประกอบ  โครงการรื้อฟื้นสถานีรถไฟนิโจ เป็นการ ปรับปรุงพื้นที่ 40 กว่าไร่ เพื่อทาเป็นเขตที่พัก อาศัย สถานีรถไฟแห่งใหม่ ที่จอดรถและถนน สายใหม่  โครงการสร้างรถไฟใต้ดินสายใหม่  โครงการสร้างทางหลวงสายใหม่หลายสาย สนับสนุนโดยบริษัท ธุรกิจด้านก่อสร้าง เทศบาลนครเกียวโต เทศบาลนครเกียวโต รัฐบาลกลางร่วมกับ เทศบาลนครเกียวโต 4 เรื่องเดียวกัน. หน้า 12 5 เรื่องเดียวกัน. หน้า 12-15
  • 5. การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : กรณีเกียวโต 4  โครงการปรับปรุงท่าเรือฟูชิมิ จังหวัดเกียวโต 2. งานส่งเสริม การศึกษาและ วัฒนธรรม  โครงการสร้างสวนธารณะอูเมโคจิ เป็นสวน ที่มีพื้นที่ขนาด 40 ไร่ มีอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อบริการ ประชาชนทุกฤดูกาล  โครงการสร้างสวนโอกาซากิ เพื่อการ พัฒนาด้านศิลปวัฒนธรรม เป็นศูนย์แสดงและ นิทรรศการด้านศิลปะและวัฒนธรรม  โครงการสร้างศูนย์ชุมชนประชากรเกียวโต จัดสร้างศูนย์ที่จะเปิดโอกาสให้ประชาชนได้ออก กาลังกาย การแสดงด้านวัฒนธรรมและการศึกษา  โครงการสร้างพิพิธภัณฑ์เกียวโตแห่งใหม่ เป็นสถาบันแสดงข้อมูลด้านประวัติศาสตร์และ วัฒนธรรมของเกียวโตอย่างละเอียด  โครงการสร้างอาคารดนตรีของนครเกียวโต ให้เป็นห้องแสดงดนตรีจุผู้ฟัง ได้ 1800 ที่นั่ง และ ห้องที่จุคนได้ 500 ที่นั่ง  โครงการสร้างศูนย์วิจัยนานาชาติด้านญี่ปุ่ น ศึกษา เป็นสถาบันที่ทางานร่วมกับมหาวิทยาลัย เปิดโอกาสให้นักวิจัยทั่วโลกมาศึกษาค้นคว้า เกี่ยวกับญี่ปุ่นและวัฒนธรรมญี่ปุ่น เทศบาลนครเกียวโต เทศบาลนครเกียวโต จังหวัดเกียวโต จังหวัดเกียวโต เทศบาลนครเกียวโต กระทรวงศึกษาธิการ ญี่ปุ่น 3. งานประเภท ปรับปรุง ปัจจัยพื้นฐาน  โครงการศูนย์บ้านพักขนาดใหญ่ในเมือง เทศบาลนครเกียวโต 4. งานประเภท ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม  โครงการปรับปรุงแม่น้าและลาคลอง มีการ ปรับพื้นที่ริมแม่น้าบางแห่งให้เป็นพื้นที่โล่ง รวมทั้งการปลูกต้นไม้และดอกไม้ในบางพื้นที่ จังหวัดเกียวโต
  • 6. การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : กรณีเกียวโต 5 5. งานประเภท ส่งเสริมธุรกิจ  โครงการก่อสร้างเมืองวิทยาศาสตร์คันไซ โดยจะจัดเป็นศูนย์วิจัยขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในเขต เมือง 3 เมืองคือเกียวโต นารา และโอซาก้า มุ่งที่ จะให้ศูนย์วิจัยแห่งนี้กระตุ้นการเติบโตทาง เศรษฐกิจ โครงการนี้  โครงการสร้างสวนวิจัยเกียวโต มุ่งให้เป็น ศูนย์รวมสถาบันและหน่วยงานวิจัยเพื่อสนับสนุน และพัฒนาอุตสาหกรรมวิจัยและพัฒนาของ ท้องถิ่น  โครงการสร้างศูนย์แสดงสินค้าเกียวโต ให้ เป็นศูนย์แสดงสินค้าขนาดใหญ่ สนับสนุนโดย ภาคอุตสาหกรรม ร่วมกับภาควิชาการ และภาคองค์กร สาธารณะ บริษัทเอกชน จังหวัดเกียวโต 6. งานประเภท ส่งเสริมการท่องเที่ยว และความสัมพันธ์กับ ต่างประเทศ  โครงการสร้างอาคารหอพักสาหรับชาว ต่างประเทศ เป็นอาคารแบบญี่ปุ่ นที่จะแสดง วัฒนธรรมแบบญี่ปุ่น  โครงการสร้างอาคารชุมชนนานาชาติแห่ง เกียวโตสาหรับเป็นห้องสมุดสาหรับนักศึกษาและ ชาวต่างชาติ และเป็นที่พบปะสังสรรค์ระหว่าง นักศึกษาและชาวต่างประเทศกับชาวเกียวโต จังหวัดเกียวโต เทศบาลนครเกียวโต (ภาพสถานีเกียวโต (Kyoto Station) สถานีรถไฟ ใหญ่และศูนย์กลางรถบัสของเมืองในปัจจุบัน ซึ่ง สร้างขึ้นในโอกาสเฉลิมฉลองการก่อตั้งเมืองเกียว โตครบ 1200 ปี เปิดให้บริการเมื่อปี พ.ศ. 2540)6 6http://www.wonderfulpackage.com/article/v/290/%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%95-Kyoto-Station
  • 7. การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : กรณีเกียวโต 6 การจัดงานเฉลิมฉลอง 1200 ปีของเมืองเกียวโต ผ่านงานต่างๆ ทั้งด้านวัฒนธรรม – สันทนา การ และด้านวัตถุ ไม่เพียงสะท้อนให้เห็นถึงความเข้มแข็งของท้องถิ่นทางความคิด และกระวนการ ปฏิบัติเท่านั้น หากยังสะท้อนให้เห็นถึงความร่วมมือและการบูรณาการการทางานของโครงสร้างการ ปกครองระหว่างส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ตลอดจนประชาชนในท้องถิ่นเอง ที่สามารถ ตระหนักได้ถึงหน้าที่/ความรับผิดชอบ และข้อจากัดจากขนาดของโครงการที่ได้วางแผนไว้ จนปัจ จุบันนี้ แม้เมืองเกียวโตจะไม่ได้เป็นเมืองหลวงของญี่ปุ่ นอีกต่อไป แต่เมืองเกียวโตถือได้ว่าเป็นจิตวิญญาณของ ชาวญี่ปุ่ น ในด้านศาสนาและวัฒนธรรม ซึ่งเปรียบได้เช่น เมืองมักกะห์ ของชาวมุสลิม หรือกรุงวาติกัน ของชาวคริสต์ แต่กระนั้นก็ยังมีการพัฒนาทางด้านวัตถุให้มีความทันสมัย เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีอีกด้วย สรุป โดยกายภาพของเมืองแล้ว ก็เป็นดั่งเช่นมนุษย์ ที่เมื่อผ่านการใช้งานเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน แล้ว ก็จะเห็นความเปลี่ยนแปลงที่อ่อนแอลงเรื่อยๆ เพราะต่างล้วนมีอายุการใช้งานที่จากัด แขนขาที่เคย แข็งแรง เมื่อแก่ตัวลงก็เริ่มเสื่อมสภาพ ถนนหนทางตามเมืองก็เช่นกัน นานวันเข้าก็เกิดเป็นหลุมเป็นบ่อ จนเป็นอุปสรรคในการเดินทาง หูตาที่เคยได้ยิน ได้เห็นอย่างชัดเจน ก็เริ่มหย่อนยานและพร่ามัว อาคาร บ้านเรือนและผังเมืองก็คงไม่ต่างกัน มีการทรุดโทรมแตกร้าวและเสื่อมทลายลงในที่สุด ไม่เพียงในแง่ กายภาพเท่านั้น ในแง่จิตใจก็เช่นเดียวกัน มนุษย์อยู่ได้ด้วยการอยู่เป็นสังคมการเมืองที่ประกอบสร้าง ผ่านศาสนา และวัฒนธรรมที่ดีงาม ซึ่งหากไม่มีการสืบทอดส่งต่อแล้ว การมีชีวิตอยู่ของมนุษย์คงไร้ ความหมาย เช่นเดียวกัน หากเมืองมีเพียงวัตถุที่เป็นเพียงคอนกรีตเสริมเหล็ก เมืองจะมีชีวิตได้อย่างไร ดังนั้นวิถีชีวิตของผู้คนในเมืองผ่านกลไกต่างๆ จะเป็นส่วนเสริมให้เมืองมีชีวิตชีวามากขึ้น เพราะฉะนั้นการเดินทางของชีวิตมนุษย์และเมืองที่เมื่อบรรจบครบขวบปี จึงเป็นโอกาสที่ดีใน การทบทวนทั้งตัวมนุษย์ และเมืองว่า มีความเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร มีส่วนไหนที่ยังบกพร่อง ต้อง ซ่อมแซม ต้องพัฒนาต่อไป ซึ่งกรณีการจัดงานเฉลิมฉลอง 1200 ปีของเมืองเกียวโต จะเป็นแบบอย่างที่ สามารถหล่อหลอมทั้งด้านวัตถุทางกายภาพ และวัฒนธรรม(จิตใจ) ได้อย่างลงตัว สิ่งสาคัญที่สุดคือแบบแผนการบริหารอานาจและการจัดการเมืองที่ต้องเปิดโอกาสให้คนใน ท้องถิ่นซึ่งมีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นตนเองรับผิดชอบเป็นหลัก ไม่สมควรที่งานวันเกิดจะให้ใครก็ ตามที่ไม่รู้จักเจ้าของวันเกิดมาเป็นผู้จัดงาน เพราะแน่นอนว่าคนเหล่านั้นไม่รับรู้ว่าเจ้าของวันเกิดเป็นคน
  • 8. การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : กรณีเกียวโต 7 อย่างไร หรือชอบ/ไม่ชอบอะไร จนไม่สามารถตอบสนองความต้องการของเจ้าของวันเกิดได้ สิ่งเหล่านี้ สะท้อนภาพโครงสร้างการปกครองจากล่างสู่บน(bottom-up) เป็นสาคัญ ซึ่งต้องครอบคลุมในทุกกิจการ งานของเมือง ไม่เฉพาะเพียงงานวันเกิดเท่านั้น
  • 9. การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : กรณีเกียวโต 8 อ้างอิง ธเนศวร์ เจริญเมือง.(2539).เชียงใหม่ 700 ปี : การฉลองวันเกิดเมือง, การพัฒนาเมืองกับการปกครอง ท้องถิ่น. เชียงใหม่ : โครงการศึกษาการปกครองท้องถิ่น คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. T. R. Reid. (1994). Kyoto Celebrates Its 1,200Th Anniversary. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2557, เว็บไซต์ : http://community.seattletimes.nwsource.com/archive/?date=19941211&slug=1946676