SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 22
Descargar para leer sin conexión
เทคโนโลยีนวัตกรรม
และสื่อการศึกษา
1. สรุปสาระสาคัญเกี่ยวกับความหมาย
ของเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา พร้อมทั้ง
เปรียบเทียบพัฒนาการทางเทคโนโลยี
ทางการศึกษาในช่วงยุคต่างๆ
เทคโนโลยี
หมายถึง การนาแนวคิด หลักการ
เทคนิค วิธีการ กระบวนการ ตลอดจน
ผลิตผลทางวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ใน
ระบบงานต่างๆ เพื่อปรับปรุงระบบงานนันๆ
้
ให้ดีขึ้น และมีประสิทธิภาพ
สื่อการศึกษา
คือ ตัวกลางหรือสิ่งต่าง ๆ เช่น วัสดุ อุปกรณ์
เครื่องมือ และเทคนิควิธีการ รวมทั้งกิจกรรมต่างๆที่
ช่วยให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้ เกิดการพัฒนา
พัฒนาการทางเทคโนโลยีทางการศึกษา
ความเป็นมาและพัฒนาการของการออกแบบการสอน
(Instructional Design Roots)

ความเป็นมาและพัฒนาการของสือการเรียนการสอน
่
(Instructional Media Roots)
คอมพิวเตอร์เพือการสอน
่
(Instructional Computing Roots)
ความเป็นมาและพัฒนาการของการออกแบบการสอน
(Instructional Design Roots)
สงครามโลกครังที่ 2 ได้รับความนิยมเนื่องจากการ
้
ฝึกอบรมบุคลากรในกองทัพ
1950 –1960 สาขาวิชาออกแบบการสอน(Instructional
design) มีนักวิจัยพัฒนาอย่างต่อเนื่องโดยทฤษฎีจิตวิทยาการเรียนรู้ และ
ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมเป็นพื้นฐานในการออกแบบเป็นทีมาของวิธีระบบ
่
(Systematic approach) ในลักษณะการออกแบบเชิงเส้น เน้นลาดับขั้น
ในการเรียนรู้
ต่อมาทฤษฎีในกลุมพุทธิปัญญานิยมได้รบความนิยม
่
ั
โดยเฉพาะทฤษฎีประมวลสารสนเทศ
(InformationProcessing) ที่เน้นการออกแบบทีเ่ ชือมโยงถึง
่
กระบวนการให้ผู้เรียนสามารถประมวลผลทีได้รบเข้าไปเก็บไว้ใน
่ ั
หน่วยความจา(Memory) และเรียกกลับมาใช้ได้โดยไม่ลม
ื
ความเป็นมาและพัฒนาการของสื่อการเรียนการสอน
(Instructional Media Roots)
ศตวรรษที่ 20 สื่อการสอน
(Instructional media) ปรากฏชัดเจน

ระหว่างช่วงทศวรรษที่ 1970 และ 1980 จากผลของ
การใช้สื่อต่าง ๆ ที่เพิ่มมาก สาขาวิชานี้ได้เติบโตมากขึ้น ดังนั้น
ผู้เชียวชาญด้านสือกลายเป็นผู้ที่มีความสาคัญเพิ่มมากขึ้นใน
่
่
ชุมชนโรงเรียน สื่อที่มรปแบบใหม่ๆ
ีู
ปลายสงครามโลกครั้งที่ 2
สื่อกลายเป็นสิงที่ถูกมองว่าไม่สามารถเป็นส่วนที่
่
แยกตัวออกมาได้ แต่ว่าเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ
ทางเทคโนโลยีการศึกษา ศาสตร์ทางด้านสื่อได้เติบโต
พร้อมทั้งมีความสัมพันธ์เชือมโยงกับการออกแบบการ
่
สอนและการสือสาร
่
คอมพิวเตอร์เพื่อการสอน
(Instructional Computing Roots)
1980 ผู้เชียวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ จัดตั้งสาขาทางการศึกษาใหม่
่
โดยนาแนวคิดการบูรณาการลงในหลักสูตร รวมถึงการใช้
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในบริบทของเนื้อหาวิชา
2. จาแนกองค์ประกอบขอบข่าย
ของเทคโนโลยีทางการศึกษาว่ามี
ความสาคัญต่อการจัดการศึกษาในยุค
ปัจจุบัน อย่างไร
การออกแบบ (Design)
เป็นขอบข่ายทีแสดงให้เห็นถึงกรอบ เชื่อมโยงระหว่างหลักการ
่
และทฤษฎีพนฐานต่างๆ ไปพัฒนางานทางด้านเทคโนโลยีและ
ื้
สื่อการศึกษา ในการออกแบบงานทางเทคโนโลยีการศึกษามี 4 ด้าน
คือการออกแบบระบบการสอน การออกแบบสาร กลยุทธ์การสอน
และ คุณลักษณะของผูเ้ รียน สิ่งสาคัญในการออกแบบทีตองคานึงถึง
่้
พื้นฐานของผูเ้ รียน เช่น เพศ อายุ
การพัฒนา (Development)
การสร้างผลิตภัณฑ์โดยนาพื้นฐานที่ได้ออกมาพัฒนาเป็นสื่อ
เทคโนโลยีสิ่งพิมพ์
เป็นแนวทางในการผลิตหรือขนส่งเนื้อหาไปยังผู้เรียน
ลักษณะของสื่อคือ มีตัวอักษร ภาพนิ่งและมีความคงที่
เทคโนโลยีดานโสตทัศน์
้
เป็นแนวทางในการผลิตหรือขนส่งเนื้อหาไปยังผู้เรียน
ลักษณะของสื่อคือ การนาเสนอสารทั้งเสียงและภาพ
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เป็นแนวทางในการผลิตหรือขนส่งเนื้อหาไปยังผู้เรียน
ลักษณะของสื่อ คือ เป็นคอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์เป็น
ฐานในการเรียนการสอน
เทคโนโลยีบรณาการ
ู
เป็นแนวทางในการผลิตหรือขนส่งเนื้อหาไปยังผู้เรียน
ลักษณะของสื่อคือ ใช้คุณลักษณะของสื่อหลายชนิดภายใต้การ
ควบคุมโดยคอมพิวเตอร์
การใช้ (Utilization)
เป็นขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการนาสื่อที่พัฒนาแล้วไป
ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะต้องคานึงถึงความง่ายในการใช้งาน

การจัดการ (Management)
เป็นขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการแหล่งการเรียนรู้
ที่จะ มีการจัดระเบียบและแนะนาหรือการจัดการทรัพยากรทางการ
เรียนรู้
การประเมิน (Evaluation)
ขอบข่ายด้านนี้จะเกี่ยวข้องกับการ
ประเมินเพื่อปรับปรุง (Formative
Evaluation)ในการประเมินนั้นจะมุ่งเน้น
การประเมินทั้งกระบวนการและผลิตภัณฑ์เพื่อ
แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพ ตลอดทั้งคุณภาพ
ของสื่อที่ออกแบบขึ้นมา
3. Educational Technology
และ Instructional Technology มี
ความเหมือนความแตกต่างหรือสัมพันธ์
กันอย่างไร
เทคโนโลยีการศึกษา
Educational Technology

เทคโนโลยีการสอน
Instructional Technology

1. เป็นกระบวนการจัดการการศึกษาในระบบใหญ่ 1.เป็นส่วนประกอบย่อย ๆ ส่วนหนึ่งของ
(การบริหาร การบริการ และการเรียนการสอน) เทคโนโลยีการศึกษา (การเรียนการสอน)

2. เป็นตัวกาหนดบทบาทหน้าที่ และแก้ปัญหาของ 2.เป็นตัวกาหนด บทบาทหน้าที่ และแก้ปัญหา
พัฒนาการด้านการศึกษา
ของพัฒนาการด้านการสอน
3. อยู่ในความดูแลรับผิดชอบ ของฝ่ายบริหารใน
องค์กร

3.อยู่ในความดูแล และรับผิดชอบของผู้
ปฏิบัติการคือผู้สอนแต่ละคน

4.เป็นการใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการอย่างเป็น
ระบบ โดยอยู่ในความดูแลรับผิดรับชอบของฝ่ายผู้บริหาร
และฝ่ายสนับสนุนการศึกษา

4.เป็นการใช้เทคโนโลยีในการถ่ายทอดเนื้อหาโดยมี
กระบวนการการเรียนรูร่วมกันระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
้
4. การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับ
เทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้แก้ปัญหา
เกี่ยวกับการเรียนรู้ในยุคปฏิรูปการเรียนรู้
อย่างเป็นรูปธรรมได้อย่างไร
ปัญหาด้านเวลา
เทคโนโลยีการศึกษาทาให้การเรียนการสอน มีความหมาย
มากขึ้น ทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้กว้างขวาง เรียนได้เร็วขึ้น ทาให้
ผู้สอนมีเวลาให้ผู้เรียนมากขึ้น

ปัญหาด้านความแตกต่างของผูเ้ รียน
สามารถตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน ผู้เรียนสามารถ
เรียนได้ตามความสามารถของผู้เรียน การเรียนการสอนจะเป็นการ
ตอบสนองความสนใจและความต้องการของแต่ละบุคคลได้ดี
ปัญหาด้านขั้นตอน
เทคโนโลยีการศึกษาทาให้การจัดการศึกษา ตั้งบนรากฐานของ
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทาให้การจัดการศึกษาเป็นระบบและเป็น
ขั้นตอน
ปัญหาข้อจากัดในการเรียน
เทคโนโลยีการศึกษาช่วยให้การศึกษามีพลังมากขึ้น การนา
เทคโนโลยีด้านสื่อเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่จะทาให้การศึกษามีพลัง
ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวาง และได้พบกับสภาพความจริง
ในชีวิตมากที่สุด และเปิดโอกาสทางการศึกษาทั้งๆ การศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
สมาชิก
นางสาวนาถนที อวิรุทธไพบูลย์
นางสาวสุภคญาดา บุษบงก์
ั
นางสาวคงหทัย ชัยชนะสุวัฒน์

553050154-4
553050156-0
553050227-3

สาขาการสอนภาษาญีปน ชั้นปีที่ 2
่ ุ่
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
khuwawa2513
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
jeerawan_l
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เรื่อง วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
เรื่อง วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์เรื่อง วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
เรื่อง วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
sarankorn
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
Suriya Phongsiang
 

La actualidad más candente (20)

อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
 
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
ลักษณะของสารสนเทศที่ดีลักษณะของสารสนเทศที่ดี
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
 
เรื่อง วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
เรื่อง วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์เรื่อง วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
เรื่อง วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
การหาคุณภาพเครื่องมือวัดผล
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
 
บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอนบทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
 

Similar a เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา

Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
Ann Pawinee
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mapping
Sattakamon
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
Pari Za
 

Similar a เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา (20)

งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
Chapter15630505256
Chapter15630505256Chapter15630505256
Chapter15630505256
 
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BNนำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter1 กลุ่ม EDK2BN
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4
 
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mapping
 
Mind mapping
Mind mappingMind mapping
Mind mapping
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mapping
 
Sattakamon
SattakamonSattakamon
Sattakamon
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 

Más de Fern's Supakyada

การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Fern's Supakyada
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Fern's Supakyada
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนการผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Fern's Supakyada
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Fern's Supakyada
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Fern's Supakyada
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
Fern's Supakyada
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
Fern's Supakyada
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอน
Fern's Supakyada
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Fern's Supakyada
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Fern's Supakyada
 

Más de Fern's Supakyada (10)

การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนการผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอน
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 

เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา