SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 15
ประเทศบรูไน
สถานที่ตั้งประเทศ
ธงชาติ
ตราแผ่นดิน
ประวัติ บรูไนเป็นที่รู้จักและมีอำนาจมากในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 14  ถึง คริสต์ศตวรรษที่ 16  โดยมีอาณาเขตครอบครองส่วนใหญ่ของ เกาะบอร์เนียว และส่วนหนึ่งของ หมู่เกาะซูลู  มีชื่อเสียงทางการค้า  สินค้าส่งออก ที่สำคัญในสมัยนั้น ได้แก่  การบูร   พริกไทย  และ ทองคำ หลังจากนั้นบรูไนเสียดินแดนและเสื่อมอำนาจลงเนื่องจาก สเปน  และ ฮอลันดา ได้แผ่อำนาจเข้ามา จนถึงสมัย คริสต์ศตวรรษที่ 19  ในปี  พ.ศ. 2431   ( ค . ศ . 1888)  ด้วยความวิตกว่าจะต้องเสียดินแดนต่อไปอีก บรูไนจึงได้ยินยอมเข้าอยู่ภายใต้อารักขาของ อังกฤษ  และต่อมาในปี  พ.ศ. 2449   ( ค . ศ . 1906)  บรูไนได้ลงนามในสนธิสัญญายินยอมอยู่เป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษอย่างเต็มรูปแบบ
ในปี  พ.ศ. 2472   ( ค . ศ . 1929)  บรูไนสำรวจพบ น้ำมัน และ แก๊สธรรมชาติ ที่เมือง เซรีอา  ทำให้บรูไนมีฐานะมั่งคั่งในเวลาต่อมา ในปี  พ.ศ. 2505   ( ค . ศ . 1962)  ได้มีการเลือกตั้ง ซึ่ง พรรคประชาชนบอร์เนียว   ( Borneo People’s Party)  ได้รับชัยชนะอย่างท่วมท้น แต่ถูกกีดกันไม่ให้จัดตั้งรัฐบาล ต่อมาจึงได้ยึดอำนาจจาก สุลต่าน  แต่สุลต่านทรงได้รับความช่วยเหลือจาก กองทหารกูรข่า ที่ อังกฤษ ส่งมาจาก สิงคโปร์  หลังจากนั้นได้มี การประกาศภาวะฉุกเฉิน  และต่ออายุทุก ๆ  2  ปี เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน หลังจากที่อยู่ภายใต้อารักขาของอังกฤษมาถึง  95  ปี บรูไนก็ได้รับ เอกราช เมื่อวันที่  1 มกราคม   พ.ศ. 2527   ( ค . ศ . 1984)
การเมืองการปกครอง รัฐธรรมนูญ ปัจจุบันซึ่งแก้ไขล่าสุดเมื่อ  1  มกราคม พ . ศ . 2527  กำหนดให้สุลต่านทรงเป็น อธิปัตย์  คือเป็นทั้ง ประมุข   นายกรัฐมนตรี  และรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม  นายกรัฐมนตรีจะต้องเป็นชาวบรูไนเชื้อสายมาเลย์โดยกำเนิด และจะต้องเป็น มุสลิม นิกายสุหนี่  นอกจากนี้ บรูไนไม่มีสภาที่ได้รับเลือกจากประชาชน นโยบายหลักของบรูไน ได้แก่การสร้างความเป็นปึกแผ่นภายในชาติ และดำรงความเป็นอิสระของประเทศ ทั้งนี้ บรูไนมีที่ตั้งที่ถูกโอบล้อมโดยมาเลเซีย และมี อินโดนีเซีย ซึ่งเป็น ประเทศมุสลิม ขนาดใหญ่อยู่ทางใต้ บรูไนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสิงคโปร์ เนื่องจากมีเงื่อนไขคล้ายคลึงกันหลายประการ อาทิ เป็นประเทศเล็ก และมีอาณาเขตติดกับ ประเทศมุสลิม ขนาดใหญ่
นับจากการพยายามยึดอำนาจเมื่อปี  พ.ศ. 2505  รัฐบาลได้ประกาศ กฎอัยการศึก ส่งผลให้ไม่มีการเลือกตั้ง รวมทั้งบทบาท พรรคการเมือง ได้ถูกจำกัดอย่างมาก จนปัจจุบันพรรคการเมือง ได้แก่  Parti Perpaduan Kebangsaan Brunei (PPKB)  และ  Parti Kesedaran Rakyat (PAKAR)  ไม่มีบทบาทมากนัก เนื่องจากรัฐบาลควบคุมด้วยมาตรการต่าง ๆ อาทิ กฎหมายความมั่นคงภายในประเทศ  ( Internal Security Act (ISA))  ห้ามการชุมนุมทางการเมือง และสามารถถอดถอนการจดทะเบียนเป็นพรรคการเมืองได้ ตลอดจนห้ามข้าราชการ  ( ซึ่งมีเป็นจำนวนกว่าครึ่งของประชากรบรูไนทั้งหมด )  เป็นสมาชิกพรรคการเมือง นอกจากนี้ รัฐบาลเห็นว่าพรรคการเมืองไม่มีความจำเป็น เนื่องจากประชาชนสามารถแสดงความคิดเห็นหรือขอความช่วยเหลือจากข้าราชการของสุลต่านได้อยู่แล้ว เมื่อเดือน กันยายน พ.ศ. 2547  ได้มีการจัดการประชุมของสภาเป็นครั้งแรก ตั้งแต่บรูไนประกาศเอกราช
กำลังพล กองทัพของบรูไน  ( Royal Brunei Armed Forces  หรือ  RBAF)  มีกำลังพลเพียง  7,000  นาย และกำลังสำรอง  700  นาย โดยแบ่งเป็น กองทัพบก   4,900  นาย  กองทัพเรือ   1,000  นาย และ กองทัพอากาศ   1,100  นาย อย่างไรก็ดี สุลต่านยังมี กองทหารกูรข่า ของพระองค์เอง เรียกว่า  Gurkha Reserve Unit (GRU)  จำนวน  2,500  นาย และกองทหารกูรข่าของอังกฤษ  ( British Gurkha)  รวมกำลังพล  1,000  คน ประจำอยู่ที่เมือง เซรีอา  เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย ให้แก่บ่อน้ำมัน และกิจการผลิตน้ำมันของ  Brunei Shell Petroleum  โดยรัฐบาลบรูไนเป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย
ลักษณะเศรษฐกิจและทรัพยากร บรูไนเป็นประเทศที่ร่ำรวยไปด้วยน้ำมันและ ก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ทำรายได้มาสู่ประเทศเป็นอันดับหนึ่ง แต่รัฐบาลบรูไนก็เริ่มตระหนักว่าประเทศชาติจะพึ่งพิงรายได้จากทรัพยากรทั้งสองอย่างเท่านี้ไม่ได้เสียแล้ว แต่ควรหันมาให้ความสนใจกับทรัพยากรธรรมชาติอี่น ๆ ที่ยังคงมีมากมายเช่น ป่าไม้ แร่ธาตุ สัตว์น้ำ และพื้นที่อันอุดมสมบรูณ์เหมาะแก่การเกษตร เพื่อเป็นการเร่งรัดการพัฒนารูปแบบของการลงทุน สุลตานบรูในได้ทรงตั้งกระทรวงขึ้นมาใหม่คือกระทรวงอุตสาหกรรมและทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อทำหน้าที่ดูแลวางแผนและดำเนินงานด้านอุตสาหกรรมและการลงทุนโดยเฉพาะ โครงการอุตสาหกรรมที่ได้รับการสนับสนุนและเร่งรัดส่งเสริมเป็นพิเศษ ได้แก่ อุตสาหกรรมขนาดเล็ก โดยเฉพาะอุตสาหกรรม
แนวโน้มการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ปัจจุบัน บรูไนกำลังพยายามเปลี่ยนแปลง จากเศรษฐกิจที่พึ่งพาน้ำมันเป็นหลัก ไปสู่โครงสร้างเศรษฐกิจ ที่มีความหลากหลายมากขึ้น เนื่องจากมีการคาดการณ์ว่าปริมาณน้ำมันสำรองที่ยืนยันแล้ว  ( proven reserve)  ของบรูไนจะหมดลงในราวปี  พ.ศ. 2558  ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจถดถอยในเอเชีย ตั้งแต่ปี  พ.ศ. 2543  ทำให้บรูไนเร่งปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการต่าง ๆ เพื่อสร้างความหลากหลายทางเศรษฐกิจ ได้แก่ จัดตั้งสภาที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจ นำโดยเจ้าชายโมฮาเหม็ด โบลเกียห์  ( รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของบรูไน )  ซึ่งมีแนวทางส่งเสริมภาคเอกชน ให้มีบทบาทมากขึ้น ในการส่งเสริมการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
อุตสาหกรรม บรูไนมีอุตสาหกรรมอื่น นอกเหนือจากอุตสาหกรรม น้ำมัน อยู่บ้าง อาทิ การผลิตอาหาร และเครื่องมือเครื่องใช้ การผลิตเสื้อผ้า เพื่อส่งออกไปยังกลุ่มประเทศในยุโรป และอเมริกา ทั้งนี้ รัฐบาลบรูไน มุ่งที่จะพัฒนาอุตสาหกรรม ด้านการแปรรูปอาหารและผลิตเครื่องดื่ม เสื้อผ้า และสิ่งทอ เครื่องเรือนจากไม้ วัสดุก่อสร้างที่ไม่ใช่โลหะ การผลิตแก้วเพื่อใช้ทำกระจกรถยนต์ อย่างไรก็ดี บรูไนยังคงประสบกับอุปสรรคต่าง ๆ ในการพัฒนาอุตสาหกรรม อาทิ การขาดแคลนช่างฝีมือ และตลาดภายในประเทศที่มีขนาดเล็ก ประกอบกับบรูไนไม่มีแรงงานในประเทศเพียงพอ และต้องอาศัยแรงงานจากต่างประเทศเป็นหลัก
จบการนำเสนอ
อ้างอิง http://th.wikipedia.org/ http://www.vacationzone.co.th/index_brunei.asp
เรื่อง  ประเทศบรูไน จัดทำโดย นางสาว สุภาภรณ์  พึ่งแย้ม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5 / 1 เสนอ คุณครู สฤกษดิ์ศักดิ์  ชิ้นเขมมาจารี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์  ร้อยเอ็ด

Más contenido relacionado

Más de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Más de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

ประเทศบรูไน

  • 5. ประวัติ บรูไนเป็นที่รู้จักและมีอำนาจมากในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึง คริสต์ศตวรรษที่ 16 โดยมีอาณาเขตครอบครองส่วนใหญ่ของ เกาะบอร์เนียว และส่วนหนึ่งของ หมู่เกาะซูลู มีชื่อเสียงทางการค้า สินค้าส่งออก ที่สำคัญในสมัยนั้น ได้แก่ การบูร พริกไทย และ ทองคำ หลังจากนั้นบรูไนเสียดินแดนและเสื่อมอำนาจลงเนื่องจาก สเปน และ ฮอลันดา ได้แผ่อำนาจเข้ามา จนถึงสมัย คริสต์ศตวรรษที่ 19 ในปี พ.ศ. 2431 ( ค . ศ . 1888) ด้วยความวิตกว่าจะต้องเสียดินแดนต่อไปอีก บรูไนจึงได้ยินยอมเข้าอยู่ภายใต้อารักขาของ อังกฤษ และต่อมาในปี พ.ศ. 2449 ( ค . ศ . 1906) บรูไนได้ลงนามในสนธิสัญญายินยอมอยู่เป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษอย่างเต็มรูปแบบ
  • 6. ในปี พ.ศ. 2472 ( ค . ศ . 1929) บรูไนสำรวจพบ น้ำมัน และ แก๊สธรรมชาติ ที่เมือง เซรีอา ทำให้บรูไนมีฐานะมั่งคั่งในเวลาต่อมา ในปี พ.ศ. 2505 ( ค . ศ . 1962) ได้มีการเลือกตั้ง ซึ่ง พรรคประชาชนบอร์เนียว ( Borneo People’s Party) ได้รับชัยชนะอย่างท่วมท้น แต่ถูกกีดกันไม่ให้จัดตั้งรัฐบาล ต่อมาจึงได้ยึดอำนาจจาก สุลต่าน แต่สุลต่านทรงได้รับความช่วยเหลือจาก กองทหารกูรข่า ที่ อังกฤษ ส่งมาจาก สิงคโปร์ หลังจากนั้นได้มี การประกาศภาวะฉุกเฉิน และต่ออายุทุก ๆ 2 ปี เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน หลังจากที่อยู่ภายใต้อารักขาของอังกฤษมาถึง 95 ปี บรูไนก็ได้รับ เอกราช เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2527 ( ค . ศ . 1984)
  • 7. การเมืองการปกครอง รัฐธรรมนูญ ปัจจุบันซึ่งแก้ไขล่าสุดเมื่อ 1 มกราคม พ . ศ . 2527 กำหนดให้สุลต่านทรงเป็น อธิปัตย์ คือเป็นทั้ง ประมุข นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม นายกรัฐมนตรีจะต้องเป็นชาวบรูไนเชื้อสายมาเลย์โดยกำเนิด และจะต้องเป็น มุสลิม นิกายสุหนี่ นอกจากนี้ บรูไนไม่มีสภาที่ได้รับเลือกจากประชาชน นโยบายหลักของบรูไน ได้แก่การสร้างความเป็นปึกแผ่นภายในชาติ และดำรงความเป็นอิสระของประเทศ ทั้งนี้ บรูไนมีที่ตั้งที่ถูกโอบล้อมโดยมาเลเซีย และมี อินโดนีเซีย ซึ่งเป็น ประเทศมุสลิม ขนาดใหญ่อยู่ทางใต้ บรูไนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสิงคโปร์ เนื่องจากมีเงื่อนไขคล้ายคลึงกันหลายประการ อาทิ เป็นประเทศเล็ก และมีอาณาเขตติดกับ ประเทศมุสลิม ขนาดใหญ่
  • 8. นับจากการพยายามยึดอำนาจเมื่อปี พ.ศ. 2505 รัฐบาลได้ประกาศ กฎอัยการศึก ส่งผลให้ไม่มีการเลือกตั้ง รวมทั้งบทบาท พรรคการเมือง ได้ถูกจำกัดอย่างมาก จนปัจจุบันพรรคการเมือง ได้แก่ Parti Perpaduan Kebangsaan Brunei (PPKB) และ Parti Kesedaran Rakyat (PAKAR) ไม่มีบทบาทมากนัก เนื่องจากรัฐบาลควบคุมด้วยมาตรการต่าง ๆ อาทิ กฎหมายความมั่นคงภายในประเทศ ( Internal Security Act (ISA)) ห้ามการชุมนุมทางการเมือง และสามารถถอดถอนการจดทะเบียนเป็นพรรคการเมืองได้ ตลอดจนห้ามข้าราชการ ( ซึ่งมีเป็นจำนวนกว่าครึ่งของประชากรบรูไนทั้งหมด ) เป็นสมาชิกพรรคการเมือง นอกจากนี้ รัฐบาลเห็นว่าพรรคการเมืองไม่มีความจำเป็น เนื่องจากประชาชนสามารถแสดงความคิดเห็นหรือขอความช่วยเหลือจากข้าราชการของสุลต่านได้อยู่แล้ว เมื่อเดือน กันยายน พ.ศ. 2547 ได้มีการจัดการประชุมของสภาเป็นครั้งแรก ตั้งแต่บรูไนประกาศเอกราช
  • 9. กำลังพล กองทัพของบรูไน ( Royal Brunei Armed Forces หรือ RBAF) มีกำลังพลเพียง 7,000 นาย และกำลังสำรอง 700 นาย โดยแบ่งเป็น กองทัพบก 4,900 นาย กองทัพเรือ 1,000 นาย และ กองทัพอากาศ 1,100 นาย อย่างไรก็ดี สุลต่านยังมี กองทหารกูรข่า ของพระองค์เอง เรียกว่า Gurkha Reserve Unit (GRU) จำนวน 2,500 นาย และกองทหารกูรข่าของอังกฤษ ( British Gurkha) รวมกำลังพล 1,000 คน ประจำอยู่ที่เมือง เซรีอา เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย ให้แก่บ่อน้ำมัน และกิจการผลิตน้ำมันของ Brunei Shell Petroleum โดยรัฐบาลบรูไนเป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย
  • 10. ลักษณะเศรษฐกิจและทรัพยากร บรูไนเป็นประเทศที่ร่ำรวยไปด้วยน้ำมันและ ก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ทำรายได้มาสู่ประเทศเป็นอันดับหนึ่ง แต่รัฐบาลบรูไนก็เริ่มตระหนักว่าประเทศชาติจะพึ่งพิงรายได้จากทรัพยากรทั้งสองอย่างเท่านี้ไม่ได้เสียแล้ว แต่ควรหันมาให้ความสนใจกับทรัพยากรธรรมชาติอี่น ๆ ที่ยังคงมีมากมายเช่น ป่าไม้ แร่ธาตุ สัตว์น้ำ และพื้นที่อันอุดมสมบรูณ์เหมาะแก่การเกษตร เพื่อเป็นการเร่งรัดการพัฒนารูปแบบของการลงทุน สุลตานบรูในได้ทรงตั้งกระทรวงขึ้นมาใหม่คือกระทรวงอุตสาหกรรมและทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อทำหน้าที่ดูแลวางแผนและดำเนินงานด้านอุตสาหกรรมและการลงทุนโดยเฉพาะ โครงการอุตสาหกรรมที่ได้รับการสนับสนุนและเร่งรัดส่งเสริมเป็นพิเศษ ได้แก่ อุตสาหกรรมขนาดเล็ก โดยเฉพาะอุตสาหกรรม
  • 11. แนวโน้มการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ปัจจุบัน บรูไนกำลังพยายามเปลี่ยนแปลง จากเศรษฐกิจที่พึ่งพาน้ำมันเป็นหลัก ไปสู่โครงสร้างเศรษฐกิจ ที่มีความหลากหลายมากขึ้น เนื่องจากมีการคาดการณ์ว่าปริมาณน้ำมันสำรองที่ยืนยันแล้ว ( proven reserve) ของบรูไนจะหมดลงในราวปี พ.ศ. 2558 ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจถดถอยในเอเชีย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 ทำให้บรูไนเร่งปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการต่าง ๆ เพื่อสร้างความหลากหลายทางเศรษฐกิจ ได้แก่ จัดตั้งสภาที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจ นำโดยเจ้าชายโมฮาเหม็ด โบลเกียห์ ( รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของบรูไน ) ซึ่งมีแนวทางส่งเสริมภาคเอกชน ให้มีบทบาทมากขึ้น ในการส่งเสริมการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
  • 12. อุตสาหกรรม บรูไนมีอุตสาหกรรมอื่น นอกเหนือจากอุตสาหกรรม น้ำมัน อยู่บ้าง อาทิ การผลิตอาหาร และเครื่องมือเครื่องใช้ การผลิตเสื้อผ้า เพื่อส่งออกไปยังกลุ่มประเทศในยุโรป และอเมริกา ทั้งนี้ รัฐบาลบรูไน มุ่งที่จะพัฒนาอุตสาหกรรม ด้านการแปรรูปอาหารและผลิตเครื่องดื่ม เสื้อผ้า และสิ่งทอ เครื่องเรือนจากไม้ วัสดุก่อสร้างที่ไม่ใช่โลหะ การผลิตแก้วเพื่อใช้ทำกระจกรถยนต์ อย่างไรก็ดี บรูไนยังคงประสบกับอุปสรรคต่าง ๆ ในการพัฒนาอุตสาหกรรม อาทิ การขาดแคลนช่างฝีมือ และตลาดภายในประเทศที่มีขนาดเล็ก ประกอบกับบรูไนไม่มีแรงงานในประเทศเพียงพอ และต้องอาศัยแรงงานจากต่างประเทศเป็นหลัก
  • 15. เรื่อง ประเทศบรูไน จัดทำโดย นางสาว สุภาภรณ์ พึ่งแย้ม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 / 1 เสนอ คุณครู สฤกษดิ์ศักดิ์ ชิ้นเขมมาจารี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด

Notas del editor

  1. ประเทศบรูไน
  2. สถานที่ตั้งประเทศ
  3. ธงชาติ
  4. ตราแผ่นดิน
  5. ลักษณะเศรษฐกิจและทรัพยากร
  6. จบการนำเสนอ
  7. อ้างอิง