SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 6
Descargar para leer sin conexión
แพทย์




        แพทย์ (อังกฤษ: physician , doctor) หรื อเรี ยกเป็ นภาษาพูดว่า "หมอ" ในบางพื้นที่ตามชนบทแพทย์อาจ
ถูกเรี ยกเป็ น "หมอใหญ่" เพื่อเลี่ยงความสับสนกับการเรี ยกพยาบาลหรื อเจ้าหน้าที่ทางด้านสาธารณสุขต่างๆ แพทย์
มีหน้าที่ ซักถามประวัติ ตรวจร่ างกาย และส่งตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม เพื่อสังการรักษาหรื อให้การรักษาโรค ส่งเสริ ม
                                                                        ่
ฟื้ นฟูสุขภาพ ให้กบผูป่วย ร่ วมกับบุคลากรด้านสุขภาพอื่นๆ
                  ั ้

คุณสมบัตของผู้ประกอบอาชีพ
        ิ

        1. สาเร็ จการศึกษาทางสาขาวิชาแพทย์ศาสตร์
        2. ขยันสนใจในการศึกษาหาความรู้ทางวิทยาการแพทย์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษเป็ นอย่างดี
        3. มีสุขภาพสมบูรณ์ ทั้งร่ างกาย และจิตใจไม่พการหรื อทุพพลภาพ ปราศจากโรค
                                                               ิ
        4. สามารถอุทิศตนยอมเสียสละเวลา และความสุขส่วนตัว เพื่อช่วยเหลือผูอื่นที่เดือดร้อนจากการ เจ็บป่ วย
                                                                                     ้
        มีจิตใจเอื้อเฟื้ อเผือแผ่ ไม่รังเกียจผูเ้ จ็บป่ วย มีความเมตตา และมีความรักในเพื่อนมนุษย์มีความเสียสละที่
                             ่
        จะเดินทางไปรักษาพยาบาลผูคนในชุมชนทัวประเทศ
                                           ้                ่
        5. มีมารยาทดี สามารถเข้ากับบุคคลอื่นได้ทุกระดับมีความอดทน อดกลั้น และมีความกล้าหาญ
        6. มีความซื่อสัตย์ในวิชาชีพของตน มีคุณธรรมและจริ ยธรรมทางการแพทย์ ไม่ใช้ความรู้ทางวิชาการของ
        ตนไปหลอกลวงหรื อทาลายผูอื่น          ้
ลักษณะอาชีพแพทย์

          คือ ผูให้บริ การทางการแพทย์และอนามัยแก่ชุมชน เพื่อบาบัดรักษา ฟื้ นฟูสมรรถภาพและป้ องกันโรค
                ้
ทัวๆไปได้โดยถูกต้องเหมาะสมด้วยการวินิจฉัยโรคสังยา และให้การรักษาทางอายุรกรรม และศัลยกรรมในความ
  ่                                                  ่
ผิดปกติที่เกิดขึ้นกับร่ างกายและจิตใจของมนุษย์ ซึ่งอาชีพแพทย์สามารถแบ่งสาขาเป็ นแพทย์เฉพาะทาง อาทิเช่น
แพทย์ทวไป (Physician) - ศัลยแพทย์ (Surgeon) - จักษุแพทย์(Ophthalmologist)จิตแพทย์ (Psychiatrist)วิสญญี
       ั่                                                                                          ั
แพทย์ (Anesthetist)


แนวทางในการศึกษา




            ผูที่จะประกอบอาชีพนี้ ควรสาเร็ จหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรื อประกาศนียบัตรอื่นที่
                ้
กระทรวงศึกษาธิการเทียบเท่าและสามารถสอบผ่านวิชาต่างๆ ในการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา
คือวิสามัญ 1 คณิ ตศาสตร์ กข. เคมี ฟิ สิกส์ ชีววิทยา ภาษาอังกฤษ กข. และความถนัดทางการแพทย์ หรื อเคยช่วย
ปฏิบติงานในโรงพยาบาลของรัฐครบตามเกณฑ์ที่กาหนด คือ ประมาณ อย่างน้อย 10 วัน ตลอดจนการสอบ
       ั
สัมภาษณ์และการตรวจร่ างกาย เมื่อผ่านการทดสอบจึงมีสิทธิเข้าศึกษาแพทย์โดยมีสถาบันที่เปิ ดสอนวิชาการ
แพทย์ระดับปริ ญญาหลายแห่งในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็ น
ต้น ผูที่จะเรี ยนแพทย์จะต้องมีฐานะทางการเงินพอสมควร เพราะค่าใช้จ่ายในการเรี ยนวิชาแพทย์ค่อนข้างสูงและ
         ้
ใช้เวลานานกว่าการเรี ยนวิชาชีพอื่นๆ รวมทั้งต้องเสียค่าบารุ งการศึกษา ค่าตาราวิชาการแพทย์และ ค่าอุปกรณ์
ต่างๆ (ไม่นอยกว่า 1 ล้านบาทเศษต่อคน)
              ้
           หลักสูตรวิชาการแพทย์ระดับปริ ญญาตรี ตามปกติใช้เวลาเรี ยน 6 ปี ในสองปี หลักสูตร การเรี ยนจะ
เน้นหนักด้านวิทยาศาสตร์ทวไปที่เป็ นพื้นฐานสาคัญ ต่อจากนั้นจึงเรี ยนต่อวิชาการแพทย์โดยเฉพาะอีก 4 ปี เมื่อ
                            ั่
สาเร็ จได้รับใบอนุญาตประกอบเวชกรรมของแพทย์สภา มีสิทธิประกอบอาชีพแพทย์ได้ตามกฎหมาย โดยมี
โอกาสเลือกสายงานได้ดงนี้ ั
1. เป็ นแพทย์ฝ่ายรักษา
2. เป็ นแพทย์ฝ่ายวิจยั
การเข้ าศึกษาแพทยศาสตร์ ในประเทศไทย

       ปัจจุบนมีหน่วยงานชื่อว่า กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (กสพท.) ทาหน้าที่จดสอบคัดเลือก
             ั                                                                         ั
และประกาศผลนักเรี ยนที่จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปี ที่หกเพื่อเข้ารับการศึกษาในคณะแพทยศาสตร์ต่างๆ ทัว
                                                                                                  ่
ประเทศ และมีการรับนักเรี ยนตามโครงการต่างๆ อีกหลายโครงการ

การเรียนแพทยศาสตร์ ในประเทศไทย

          การเรี ยนแพทยศาสตร์ในประเทศไทยใช้เวลาเรี ยน 6 ปี ปี แรกเรี ยนวิทยาศาสตร์ทวไปเน้นเกี่ยวข้องทาง
                                                                                                ั่
ชีววิทยา ปี ที่ 2-3 เรี ยนวิชาที่เกี่ยวข้องทางการแพทย์ เรี ยกระยะนี้ว่า ปรี คลินิก (Preclinic) ปี ที่ 4-5 เรี ยนและฝึ กงาน
ผูป่วยจริ งร่ วมกับแพทย์รุ่นพี่และอาจารย์ เรี ยกระยะนี้วา ชั้นคลินิก (Clinic) และปี สุดท้ายเน้นฝึ กปฏิบติกบผูป่วย
  ้                                                        ่                                                    ั ั ้
จริ งภายใต้การดูแลของแพทย์รุ่นพี่และอาจารย์เรี ยกระยะนี้ว่า เอกซ์เทอร์น (Extern)

แพทย์จบใหม่ในประเทศไทย

         เมื่อนักเรี ยนแพทย์ในประเทศไทยศึกษาจบแพทยศาสตร์ บณฑิต บัณฑิตแพทย์ตองมีการทางานหรื อการ
                                                           ั                       ้
ชดใช้ทุนของแพทย์เป็ นเวลา 3 ปี โดยกาหนดให้ทางานให้รัฐบาล ซึ่งหากผิดสัญญาต้องจ่ายค่าชดเชยให้รัฐตามแต่
สัญญาซึ่งทาไว้ต้งแต่ก่อนเข้ารับการศึกษากาหนด ในปี แรกแพทย์สภากาหนดให้มีการฝึ กปฏิบติงานเพิ่มเติมใน
                  ั                                                                    ั
โรงพยาบาลใหญ่ๆ ภายใต้การดูแลของแพทย์รุ่นพี่ที่มีประสบการณ์เป็ นเวลา 1 ปี ซึ่งเรี ยกระยะนี้ว่า อินเทอร์น
(Intern)

แพทย์เฉพาะทาง

         หลังจากที่บณฑิตแพทย์สาเร็ จการศึกษาออกมาและได้เพิ่มพูนทักษะตามจานวนปี ที่แพทยสภา (Medical
                     ั
concils of Thailand) เป็ นผูกาหนดแล้ว สามารถสมัครเพื่ออบรมเป็ นแพทย์ประจาบ้าน (Medical Resident) และ
                            ้
เมื่อจบหลักสูตรการอบรมและสามารถสอบใบรับรองจากราชวิทยาลัยแพทย์ต่างๆได้แล้ว จึงจะได้เป็ นแพทย์
เฉพาะทางได้ต่อไป

สาขาของแพทย์เฉพาะทาง

        อายุรแพทย์ - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านอายุรศาสตร์
        สูตินรี แพทย์ - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านสูตินรี เวชวิทยา
        ศัลยแพทย์ - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านศัลยศาสตร์
        ศัลยแพทย์ออร์โธปิ ดิกส์ - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านศัลยศาสตร์ออร์โธปิ ดิกส์ (ศัลยกรรมกระดูกและข้อ)
        จักษุแพทย์ - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านจักษุวิทยา
   จิตแพทย์ - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านจิตเวชศาสตร์
       แพทย์โสตศอนาสิก - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านโสตศอนาสิกวิทยา
       พยาธิแพทย์ - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านพยาธิวิทยา
       รังสีแพทย์ - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านรังสีวิทยา
       วิสญญีแพทย์ - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านวิสญญีวิทยา
           ั                                      ั
       กุมารแพทย์ - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านกุมารเวชศาสตร์
       แพทย์เวชปฏิบติครอบครัว - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านเวชปฏิบติครอบครัว
                       ั                                           ั
       แพทย์เวชศาสตร์ฟ้ื นฟู - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ฟ้ื นฟู
       แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ฉุกเฉิน

สภาพการจ้างงาน และการทางาน
         ผูประกอบอาชีพนี้ได้รับค่าตอบแทนเป็ นเงินเดือนตามวุฒการศึกษาสาเร็ จการศึกษาวิชาการแพทย์ซ่ึงไม่
           ้                                                ิ
มีประสบการณ์ในการทางานมีอตราเงินเดือน ดังนี้
                         ั

                      วุฒิการศึกษา ปริ ญญาตรี    ปริ ญญาโท       ปริ ญญาเอก
                      ราชการ 8,190               9,500-10,500    15,000-16,000
                      รัฐวิสาหกิจ 9,040          10,500-12,000   23,000-24,500
                      เอกชน        10,600        21,000-22,000   28,000-30,000


โดยทางานสัปดาห์ละ 40 ชัวโมง อาจต้องมาทางานวันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยุด จะต้องมีการจัดเวรอยูประจา
                           ่                                                                          ่
โรงพยาบาล นอกจากผลตอบแทนในรู ปเงินเดือนแล้วในภาครัฐวิสาหกิจและเอกชนอาจได้รับผลตอบแทนในรู ป
อื่น เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงินสะสม เงินช่วยเหลือสวัสดิการในรู ปต่างๆ เงินโบนัส เป็ นต้น สาหรับผูที่สาเร็ จ
                                                                                               ้
การศึกษาวิชาแพทย์สามารถประกอบธุรกิจส่วนตัวโดยรายได้ที่ได้รับขึ้นอยูกบความสามารถ และความอุตสาหะ
                                                                         ่ ั
    ผูประกอบอาชีพแพทย์จะปฏิบติงานในโรงพยาบาล หรื อสถานพยาบาล โดยตรวจคนไข้ในที่อยูในความ
        ้                         ั                                                          ่
รับผิดชอบทุกวันและต้องตรวจคนไข้นอกที่เข้ามารับการรักษา อาจถูกเรี ยกตัวได้ทุกเวลาเพื่อทาการรักษาคนไข้
ให้ทนท่วงที ต้องพร้อมเสมอที่จะสละเวลาเพื่อรักษาคนไข้ ในที่ทางานก็จะพบเห็น คนเจ็บ คนป่ วยและคนตาย
      ั
แพทย์จึงต้องมีจิตใจที่เข้มแข็ง เพราะหากมีจิตใจที่อ่อนไหวต่อสิ่งที่ได้พบเห็นจะมีผลกระทบต่อการปฏิบติงานได้
                                                                                                    ั

ข้ อดี ข้ อเสียของอาชีพแพทย์

       ข้ อดี
-โลกทัศน์กว้างเพราะได้พบปะพูดคุยกับคนหลายอาชีพ (คล้ายคนขับ Taxi ยังไงไม่รู้แฮะ)
-งานที่ทามี 'คุณค่า' ในตัวของมันเอง คือได้ช่วยเหลือผูป่วย
                                                       ้
-'ท้าทาย' มีปริ ศนาใหม่มาให้ขบคิดทุกวัน ว่าผูป่วยไม่สบายเพราะอะไร จะ 'สืบ' ยังไงถึงจะรู้ (คนแต่งเรื่ องนักสืบ
                                               ้
เชอร์ลอค โฮล์ม เป็ นหมอด้วยนะ จะบอกให้)
-เป็ นที่พ่งแก่ญาติพี่นอง และเพื่อนฝูงรวมไปถึงญาติของเพื่อนฝูงยามที่เจ็บไข้ได้ป่วย
           ึ           ้
-เห็นสัจธรรม 'กับตา' ตัวเองว่าเกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็ นของธรรมดาจริ งๆ มันเกิดขึ้นอยูทุกๆวัน ไม่มีวนหยุด และไม่
                                                                                       ่           ั
เลือกเวลา
-ทดแทนคุณพ่อแม่ โดยทาให้ท่านมีความสุข เพราะท่านจะภูมิใจที่มีลกเป็ นแพทย์ แม้ว่าจะไม่เข้าใจว่าภูมิใจอะไร
                                                                      ู
นักหนา (อันนี้ยกเว้นพ่อแม่ที่เป็ นหมอ หรื อที่เป็ นใหญ่เป็ นโตในสาขาต่างๆ)
-ไปทาอาชีพอื่นเล่นๆแก้เซ็งได้ เกือบทุกอาชีพ: เป็ นนักวิทยาศาสตร์ เป็ นนักธุรกิจ เป็ นนักลงทุน(เล่นหุน) เป็ น
                                                                                                      ้
นักเขียน เป็ นนักร้อง เป็ นพิธีกรรายการโทรทัศน์ เป็ นกัปตันขับเครื่ องบิน เป็ นนักเรี ยกร้องประชาธิปไตย เป็ นส.ส.
เป็ นส.ว. เป็ นรัฐมนตรี หรื อแม้แต่ผนาประเทศ ฯลฯ (มีตวตนจริ งๆทั้งนั้น) แต่คนอาชีพอื่นมาเป็ นแพทย์ไม่ได้
                                    ู้                   ั
-ถ้าเป็ นผูหญิงแต่งงานแล้วก็ไม่ตองใช้ 'นาง' นาหน้า ใช้ 'แพทย์หญิง' แทน
             ้                    ้

         ข้ อเสีย
-เรี ยนนาน
-งานหนัก (เป็ นส่วนใหญ่)
-รักคุด (ไม่ค่อยมีเวลา, ถูกแฟนทิ้งกันบ่อยๆ)
-สุดเลอะ (เสี่ยงต่อการสัมผัสเลือด ปัสสาวะ อุจจาระ เสมหะ และ 'อ้วก' ของผูป่วย)
                                                                        ้

โอกาสก้าวหน้ าในอาชีพ

        1. รับราการในโรงพยาบาลของรัฐหรื อกระทรวงสาธารณสุข
        2. ทางานในโรงพยาบาลเอกชน
        3. เปิ ดคลินิกส่วนตัวรักษาโรค หรื อตั้งโรงพยาบาลเอกชนของตนเอง
        4. ทางานนอกเวลาในโรงพยาบาลเอกชนทัวไป หลังจากเลิกงานประจาแล้ว
                                         ่
        5. ศึกษาเพิ่มเติมเป็ นแพทย์เฉพาะทาง สาขาต่างๆ หรื อศึกษาในระดับปริ ญญาโท-เอก
บรรณานุกรม


       วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี . "แพทย์," ความหมายของแพทย์. 5 สิงหาคม 2554.< http://th.wikipedia.
org/wiki/% E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B9%8C > 5 สิงหาคม 2554.


      AOM "อาชีพแพทย์," แพทย์. 6 มิถุนายน 2553 < http://warisa-aom.blogspot.com/> 5 สิงหาคม 2554.

       Bs.as.th. "แพทย์," แพทย์. 5 สิงหาคม 2554. < http://www.bs.ac.th/2548/e_bs/G9/Dream
new/pageB.htm> 5 สิงหาคม 2554.

       Wtldflowers . "อาชีพแพทย์," ลักษณะงาน. 5 สิงหาคม 2554. < http://202.29.138.73 /gi/guiprof.html>
5 สิงหาคม 2554.

       Wtldflowers . "แพทย์," การก้าวหน้าในการงาน. 5 สิงหาคม 2554. < http://202.29.138.73/gi/
guiprof.html> //5 สิงหาคม 2554.

Más contenido relacionado

Destacado

Conc soc กสพท54
Conc soc กสพท54Conc soc กสพท54
Conc soc กสพท54ruth12874
 
Conc chm กสพท54
Conc chm กสพท54Conc chm กสพท54
Conc chm กสพท54noeiinoii
 
จริยธรรมทางการแพทย์
จริยธรรมทางการแพทย์จริยธรรมทางการแพทย์
จริยธรรมทางการแพทย์Taraya Srivilas
 
ความถนัดทางแพทย์
ความถนัดทางแพทย์ความถนัดทางแพทย์
ความถนัดทางแพทย์Miewz Tmioewr
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandfirstnarak
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ทัศนะ แก้วช่วย
 

Destacado (8)

Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54
 
Conc soc กสพท54
Conc soc กสพท54Conc soc กสพท54
Conc soc กสพท54
 
Conc chm กสพท54
Conc chm กสพท54Conc chm กสพท54
Conc chm กสพท54
 
Conc phy กสพท54
Conc phy กสพท54Conc phy กสพท54
Conc phy กสพท54
 
จริยธรรมทางการแพทย์
จริยธรรมทางการแพทย์จริยธรรมทางการแพทย์
จริยธรรมทางการแพทย์
 
ความถนัดทางแพทย์
ความถนัดทางแพทย์ความถนัดทางแพทย์
ความถนัดทางแพทย์
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemand
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
 

Similar a แพทย์

Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5taem
 
ผลงานนักเรียน 1
ผลงานนักเรียน 1ผลงานนักเรียน 1
ผลงานนักเรียน 1thkitiya
 
คณะแพทยศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์คณะแพทยศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์Jom-Jam HulaHula
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกเภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกpitsanu duangkartok
 
Present msmc
Present msmcPresent msmc
Present msmchrmsmc
 
ความสุขจากการทำงานวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล
ความสุขจากการทำงานวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไลความสุขจากการทำงานวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล
ความสุขจากการทำงานวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไลKlangpanya
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินtaem
 
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทองการจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทองJumpon Utta
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นKomsan Iemthaisong
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)tanong2516
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 

Similar a แพทย์ (20)

Abc
AbcAbc
Abc
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
 
ผลงานนักเรียน 1
ผลงานนักเรียน 1ผลงานนักเรียน 1
ผลงานนักเรียน 1
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553
 
คณะแพทยศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์คณะแพทยศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกเภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
 
Present msmc
Present msmcPresent msmc
Present msmc
 
ความสุขจากการทำงานวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล
ความสุขจากการทำงานวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไลความสุขจากการทำงานวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล
ความสุขจากการทำงานวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
 
50
5050
50
 
50
5050
50
 
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทองการจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852
 

Más de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Más de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

แพทย์

  • 1. แพทย์ แพทย์ (อังกฤษ: physician , doctor) หรื อเรี ยกเป็ นภาษาพูดว่า "หมอ" ในบางพื้นที่ตามชนบทแพทย์อาจ ถูกเรี ยกเป็ น "หมอใหญ่" เพื่อเลี่ยงความสับสนกับการเรี ยกพยาบาลหรื อเจ้าหน้าที่ทางด้านสาธารณสุขต่างๆ แพทย์ มีหน้าที่ ซักถามประวัติ ตรวจร่ างกาย และส่งตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม เพื่อสังการรักษาหรื อให้การรักษาโรค ส่งเสริ ม ่ ฟื้ นฟูสุขภาพ ให้กบผูป่วย ร่ วมกับบุคลากรด้านสุขภาพอื่นๆ ั ้ คุณสมบัตของผู้ประกอบอาชีพ ิ 1. สาเร็ จการศึกษาทางสาขาวิชาแพทย์ศาสตร์ 2. ขยันสนใจในการศึกษาหาความรู้ทางวิทยาการแพทย์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษเป็ นอย่างดี 3. มีสุขภาพสมบูรณ์ ทั้งร่ างกาย และจิตใจไม่พการหรื อทุพพลภาพ ปราศจากโรค ิ 4. สามารถอุทิศตนยอมเสียสละเวลา และความสุขส่วนตัว เพื่อช่วยเหลือผูอื่นที่เดือดร้อนจากการ เจ็บป่ วย ้ มีจิตใจเอื้อเฟื้ อเผือแผ่ ไม่รังเกียจผูเ้ จ็บป่ วย มีความเมตตา และมีความรักในเพื่อนมนุษย์มีความเสียสละที่ ่ จะเดินทางไปรักษาพยาบาลผูคนในชุมชนทัวประเทศ ้ ่ 5. มีมารยาทดี สามารถเข้ากับบุคคลอื่นได้ทุกระดับมีความอดทน อดกลั้น และมีความกล้าหาญ 6. มีความซื่อสัตย์ในวิชาชีพของตน มีคุณธรรมและจริ ยธรรมทางการแพทย์ ไม่ใช้ความรู้ทางวิชาการของ ตนไปหลอกลวงหรื อทาลายผูอื่น ้
  • 2. ลักษณะอาชีพแพทย์ คือ ผูให้บริ การทางการแพทย์และอนามัยแก่ชุมชน เพื่อบาบัดรักษา ฟื้ นฟูสมรรถภาพและป้ องกันโรค ้ ทัวๆไปได้โดยถูกต้องเหมาะสมด้วยการวินิจฉัยโรคสังยา และให้การรักษาทางอายุรกรรม และศัลยกรรมในความ ่ ่ ผิดปกติที่เกิดขึ้นกับร่ างกายและจิตใจของมนุษย์ ซึ่งอาชีพแพทย์สามารถแบ่งสาขาเป็ นแพทย์เฉพาะทาง อาทิเช่น แพทย์ทวไป (Physician) - ศัลยแพทย์ (Surgeon) - จักษุแพทย์(Ophthalmologist)จิตแพทย์ (Psychiatrist)วิสญญี ั่ ั แพทย์ (Anesthetist) แนวทางในการศึกษา ผูที่จะประกอบอาชีพนี้ ควรสาเร็ จหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรื อประกาศนียบัตรอื่นที่ ้ กระทรวงศึกษาธิการเทียบเท่าและสามารถสอบผ่านวิชาต่างๆ ในการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา คือวิสามัญ 1 คณิ ตศาสตร์ กข. เคมี ฟิ สิกส์ ชีววิทยา ภาษาอังกฤษ กข. และความถนัดทางการแพทย์ หรื อเคยช่วย ปฏิบติงานในโรงพยาบาลของรัฐครบตามเกณฑ์ที่กาหนด คือ ประมาณ อย่างน้อย 10 วัน ตลอดจนการสอบ ั สัมภาษณ์และการตรวจร่ างกาย เมื่อผ่านการทดสอบจึงมีสิทธิเข้าศึกษาแพทย์โดยมีสถาบันที่เปิ ดสอนวิชาการ แพทย์ระดับปริ ญญาหลายแห่งในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็ น ต้น ผูที่จะเรี ยนแพทย์จะต้องมีฐานะทางการเงินพอสมควร เพราะค่าใช้จ่ายในการเรี ยนวิชาแพทย์ค่อนข้างสูงและ ้ ใช้เวลานานกว่าการเรี ยนวิชาชีพอื่นๆ รวมทั้งต้องเสียค่าบารุ งการศึกษา ค่าตาราวิชาการแพทย์และ ค่าอุปกรณ์ ต่างๆ (ไม่นอยกว่า 1 ล้านบาทเศษต่อคน) ้ หลักสูตรวิชาการแพทย์ระดับปริ ญญาตรี ตามปกติใช้เวลาเรี ยน 6 ปี ในสองปี หลักสูตร การเรี ยนจะ เน้นหนักด้านวิทยาศาสตร์ทวไปที่เป็ นพื้นฐานสาคัญ ต่อจากนั้นจึงเรี ยนต่อวิชาการแพทย์โดยเฉพาะอีก 4 ปี เมื่อ ั่ สาเร็ จได้รับใบอนุญาตประกอบเวชกรรมของแพทย์สภา มีสิทธิประกอบอาชีพแพทย์ได้ตามกฎหมาย โดยมี โอกาสเลือกสายงานได้ดงนี้ ั 1. เป็ นแพทย์ฝ่ายรักษา 2. เป็ นแพทย์ฝ่ายวิจยั
  • 3. การเข้ าศึกษาแพทยศาสตร์ ในประเทศไทย ปัจจุบนมีหน่วยงานชื่อว่า กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (กสพท.) ทาหน้าที่จดสอบคัดเลือก ั ั และประกาศผลนักเรี ยนที่จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปี ที่หกเพื่อเข้ารับการศึกษาในคณะแพทยศาสตร์ต่างๆ ทัว ่ ประเทศ และมีการรับนักเรี ยนตามโครงการต่างๆ อีกหลายโครงการ การเรียนแพทยศาสตร์ ในประเทศไทย การเรี ยนแพทยศาสตร์ในประเทศไทยใช้เวลาเรี ยน 6 ปี ปี แรกเรี ยนวิทยาศาสตร์ทวไปเน้นเกี่ยวข้องทาง ั่ ชีววิทยา ปี ที่ 2-3 เรี ยนวิชาที่เกี่ยวข้องทางการแพทย์ เรี ยกระยะนี้ว่า ปรี คลินิก (Preclinic) ปี ที่ 4-5 เรี ยนและฝึ กงาน ผูป่วยจริ งร่ วมกับแพทย์รุ่นพี่และอาจารย์ เรี ยกระยะนี้วา ชั้นคลินิก (Clinic) และปี สุดท้ายเน้นฝึ กปฏิบติกบผูป่วย ้ ่ ั ั ้ จริ งภายใต้การดูแลของแพทย์รุ่นพี่และอาจารย์เรี ยกระยะนี้ว่า เอกซ์เทอร์น (Extern) แพทย์จบใหม่ในประเทศไทย เมื่อนักเรี ยนแพทย์ในประเทศไทยศึกษาจบแพทยศาสตร์ บณฑิต บัณฑิตแพทย์ตองมีการทางานหรื อการ ั ้ ชดใช้ทุนของแพทย์เป็ นเวลา 3 ปี โดยกาหนดให้ทางานให้รัฐบาล ซึ่งหากผิดสัญญาต้องจ่ายค่าชดเชยให้รัฐตามแต่ สัญญาซึ่งทาไว้ต้งแต่ก่อนเข้ารับการศึกษากาหนด ในปี แรกแพทย์สภากาหนดให้มีการฝึ กปฏิบติงานเพิ่มเติมใน ั ั โรงพยาบาลใหญ่ๆ ภายใต้การดูแลของแพทย์รุ่นพี่ที่มีประสบการณ์เป็ นเวลา 1 ปี ซึ่งเรี ยกระยะนี้ว่า อินเทอร์น (Intern) แพทย์เฉพาะทาง หลังจากที่บณฑิตแพทย์สาเร็ จการศึกษาออกมาและได้เพิ่มพูนทักษะตามจานวนปี ที่แพทยสภา (Medical ั concils of Thailand) เป็ นผูกาหนดแล้ว สามารถสมัครเพื่ออบรมเป็ นแพทย์ประจาบ้าน (Medical Resident) และ ้ เมื่อจบหลักสูตรการอบรมและสามารถสอบใบรับรองจากราชวิทยาลัยแพทย์ต่างๆได้แล้ว จึงจะได้เป็ นแพทย์ เฉพาะทางได้ต่อไป สาขาของแพทย์เฉพาะทาง  อายุรแพทย์ - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านอายุรศาสตร์  สูตินรี แพทย์ - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านสูตินรี เวชวิทยา  ศัลยแพทย์ - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านศัลยศาสตร์  ศัลยแพทย์ออร์โธปิ ดิกส์ - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านศัลยศาสตร์ออร์โธปิ ดิกส์ (ศัลยกรรมกระดูกและข้อ)  จักษุแพทย์ - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านจักษุวิทยา
  • 4. จิตแพทย์ - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านจิตเวชศาสตร์  แพทย์โสตศอนาสิก - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านโสตศอนาสิกวิทยา  พยาธิแพทย์ - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านพยาธิวิทยา  รังสีแพทย์ - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านรังสีวิทยา  วิสญญีแพทย์ - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านวิสญญีวิทยา ั ั  กุมารแพทย์ - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านกุมารเวชศาสตร์  แพทย์เวชปฏิบติครอบครัว - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านเวชปฏิบติครอบครัว ั ั  แพทย์เวชศาสตร์ฟ้ื นฟู - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ฟ้ื นฟู  แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน - แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ฉุกเฉิน สภาพการจ้างงาน และการทางาน ผูประกอบอาชีพนี้ได้รับค่าตอบแทนเป็ นเงินเดือนตามวุฒการศึกษาสาเร็ จการศึกษาวิชาการแพทย์ซ่ึงไม่ ้ ิ มีประสบการณ์ในการทางานมีอตราเงินเดือน ดังนี้ ั วุฒิการศึกษา ปริ ญญาตรี ปริ ญญาโท ปริ ญญาเอก ราชการ 8,190 9,500-10,500 15,000-16,000 รัฐวิสาหกิจ 9,040 10,500-12,000 23,000-24,500 เอกชน 10,600 21,000-22,000 28,000-30,000 โดยทางานสัปดาห์ละ 40 ชัวโมง อาจต้องมาทางานวันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยุด จะต้องมีการจัดเวรอยูประจา ่ ่ โรงพยาบาล นอกจากผลตอบแทนในรู ปเงินเดือนแล้วในภาครัฐวิสาหกิจและเอกชนอาจได้รับผลตอบแทนในรู ป อื่น เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงินสะสม เงินช่วยเหลือสวัสดิการในรู ปต่างๆ เงินโบนัส เป็ นต้น สาหรับผูที่สาเร็ จ ้ การศึกษาวิชาแพทย์สามารถประกอบธุรกิจส่วนตัวโดยรายได้ที่ได้รับขึ้นอยูกบความสามารถ และความอุตสาหะ ่ ั ผูประกอบอาชีพแพทย์จะปฏิบติงานในโรงพยาบาล หรื อสถานพยาบาล โดยตรวจคนไข้ในที่อยูในความ ้ ั ่ รับผิดชอบทุกวันและต้องตรวจคนไข้นอกที่เข้ามารับการรักษา อาจถูกเรี ยกตัวได้ทุกเวลาเพื่อทาการรักษาคนไข้ ให้ทนท่วงที ต้องพร้อมเสมอที่จะสละเวลาเพื่อรักษาคนไข้ ในที่ทางานก็จะพบเห็น คนเจ็บ คนป่ วยและคนตาย ั แพทย์จึงต้องมีจิตใจที่เข้มแข็ง เพราะหากมีจิตใจที่อ่อนไหวต่อสิ่งที่ได้พบเห็นจะมีผลกระทบต่อการปฏิบติงานได้ ั ข้ อดี ข้ อเสียของอาชีพแพทย์ ข้ อดี -โลกทัศน์กว้างเพราะได้พบปะพูดคุยกับคนหลายอาชีพ (คล้ายคนขับ Taxi ยังไงไม่รู้แฮะ)
  • 5. -งานที่ทามี 'คุณค่า' ในตัวของมันเอง คือได้ช่วยเหลือผูป่วย ้ -'ท้าทาย' มีปริ ศนาใหม่มาให้ขบคิดทุกวัน ว่าผูป่วยไม่สบายเพราะอะไร จะ 'สืบ' ยังไงถึงจะรู้ (คนแต่งเรื่ องนักสืบ ้ เชอร์ลอค โฮล์ม เป็ นหมอด้วยนะ จะบอกให้) -เป็ นที่พ่งแก่ญาติพี่นอง และเพื่อนฝูงรวมไปถึงญาติของเพื่อนฝูงยามที่เจ็บไข้ได้ป่วย ึ ้ -เห็นสัจธรรม 'กับตา' ตัวเองว่าเกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็ นของธรรมดาจริ งๆ มันเกิดขึ้นอยูทุกๆวัน ไม่มีวนหยุด และไม่ ่ ั เลือกเวลา -ทดแทนคุณพ่อแม่ โดยทาให้ท่านมีความสุข เพราะท่านจะภูมิใจที่มีลกเป็ นแพทย์ แม้ว่าจะไม่เข้าใจว่าภูมิใจอะไร ู นักหนา (อันนี้ยกเว้นพ่อแม่ที่เป็ นหมอ หรื อที่เป็ นใหญ่เป็ นโตในสาขาต่างๆ) -ไปทาอาชีพอื่นเล่นๆแก้เซ็งได้ เกือบทุกอาชีพ: เป็ นนักวิทยาศาสตร์ เป็ นนักธุรกิจ เป็ นนักลงทุน(เล่นหุน) เป็ น ้ นักเขียน เป็ นนักร้อง เป็ นพิธีกรรายการโทรทัศน์ เป็ นกัปตันขับเครื่ องบิน เป็ นนักเรี ยกร้องประชาธิปไตย เป็ นส.ส. เป็ นส.ว. เป็ นรัฐมนตรี หรื อแม้แต่ผนาประเทศ ฯลฯ (มีตวตนจริ งๆทั้งนั้น) แต่คนอาชีพอื่นมาเป็ นแพทย์ไม่ได้ ู้ ั -ถ้าเป็ นผูหญิงแต่งงานแล้วก็ไม่ตองใช้ 'นาง' นาหน้า ใช้ 'แพทย์หญิง' แทน ้ ้ ข้ อเสีย -เรี ยนนาน -งานหนัก (เป็ นส่วนใหญ่) -รักคุด (ไม่ค่อยมีเวลา, ถูกแฟนทิ้งกันบ่อยๆ) -สุดเลอะ (เสี่ยงต่อการสัมผัสเลือด ปัสสาวะ อุจจาระ เสมหะ และ 'อ้วก' ของผูป่วย) ้ โอกาสก้าวหน้ าในอาชีพ 1. รับราการในโรงพยาบาลของรัฐหรื อกระทรวงสาธารณสุข 2. ทางานในโรงพยาบาลเอกชน 3. เปิ ดคลินิกส่วนตัวรักษาโรค หรื อตั้งโรงพยาบาลเอกชนของตนเอง 4. ทางานนอกเวลาในโรงพยาบาลเอกชนทัวไป หลังจากเลิกงานประจาแล้ว ่ 5. ศึกษาเพิ่มเติมเป็ นแพทย์เฉพาะทาง สาขาต่างๆ หรื อศึกษาในระดับปริ ญญาโท-เอก
  • 6. บรรณานุกรม วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี . "แพทย์," ความหมายของแพทย์. 5 สิงหาคม 2554.< http://th.wikipedia. org/wiki/% E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B9%8C > 5 สิงหาคม 2554. AOM "อาชีพแพทย์," แพทย์. 6 มิถุนายน 2553 < http://warisa-aom.blogspot.com/> 5 สิงหาคม 2554. Bs.as.th. "แพทย์," แพทย์. 5 สิงหาคม 2554. < http://www.bs.ac.th/2548/e_bs/G9/Dream new/pageB.htm> 5 สิงหาคม 2554. Wtldflowers . "อาชีพแพทย์," ลักษณะงาน. 5 สิงหาคม 2554. < http://202.29.138.73 /gi/guiprof.html> 5 สิงหาคม 2554. Wtldflowers . "แพทย์," การก้าวหน้าในการงาน. 5 สิงหาคม 2554. < http://202.29.138.73/gi/ guiprof.html> //5 สิงหาคม 2554.