SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 6
Descargar para leer sin conexión
จารึกอักษรบนกระดองเต่ า




นับตั้งแต่วิชาการโบราณคดียคปัจจุบนแพร่ จากตะวันตกเข้าสู่จีนเมื่อศตวรรษที่ 20 เป็ นต้นมา
                          ุ      ั
จีนได้พบสิ่ งสาคัญทางโบราณคดีจานวนมาก

    ที่เมืองอันหยางมณฑลเหอหนานทางภาคกลางของจีน มีซากเมืองแห่งหนึ่งที่มี พื้นที่กว้าง
ประมาณ 24 ตารางกิโลเมตร คืออินซี หรื อซากเมืองหลวงสมัยราชวงศ์ อินที่มีชื่อโด่งดัง ตารา
ประวัติศาสตร์ บนทึกไว้ว่า เมื่อปี 1400 ก่อนคริ สต์ศกราช พระเจ้าฝันเกิง จักรพรรดิ ราชวงศ์ซาง
                 ั                                 ั
ได้ยายเมืองหลวงจากเมืองฉี ฝสู่เมืองอันหยางในปัจจุบน เมื่อ ปี 1046 ก่อนคริ สต์ศกราช ราชวงศ์
    ้                         ู่                     ั                              ั
ซางถูกจักรพรรดิราชวงศ์โจวตะวันออกล้มล้าง เมืองหลวงแห่งนี้จึงกลายเป็ นซากไป เนื่องจาก
ราชวงศ์ซางมีอีกชื่อหนึ่งว่าราชวงศ์อิน ฉนั้น ซากเมืองแห่งนี้ จึงมีชื่อว่า อินซี หรื อซากเมือง
ราชวงศ์อิน
นับตั้งแต่ได้ดาเนินการขุดค้นครั้งแรกในปี 1928 เป็ นต้นมา ที่อินซี ได้ขดพบ วัตถุโบราณ
                                                                          ุ
จานวนมาก ซึ่ งรวมทั้งอักษรบนกระดองเต่าและเครื่ องทองสัมฤทธิ์ดวย   ้

    อักษรบนกระดองเต่าเป็ นอักษรเก่าแก่โบราณที่แกะสลักบนกระดองเต่าหรื อ

กระดูกสัตว์ เป็ นเครื่ องมือเสี่ยงทายของจักรพรรดิสมัยราชวงศ์ซาง

   เวลาเสี่ยงทาย พ่อมดจะแกะสลักขื่อของตน วันเวลาในการเสี่ ยงทายและเรื่ องที่จะ เสี่ ยงทาย
บนกระดองเต่า แล้วใช้ไฟเผาจนทาให้กระดองเต่าแตกก็จะรู้ผลเสี่ ยงทายตาม รอยแตก

     ปัจจุบนที่อินซี ได้พบกระดองเต่ารวม 160000 แผ่น อักษรชนิดต่าง ๆ รวมกว่า 4000 คา ที่
             ั
ผ่านการวิจยศึกษาจากนักวิชาการแล้วมีประมาณ 3000 คา ในจานวนนี้ ที่นกวิชาการทั้งหลาย
           ั                                                        ั
แปลความหมายตรงกันมีกว่า 1000 คา นอกนั้น มีที่แปลความหมาย ไม่ออกบ้าง และที่
นักวิชาการทั้งหลายแปลความหมายขัดแย้งกันอย่างมากบ้าง แต่อย่างไรก็ตาม จากอักษรกว่า
1000 คานี้ ผูคนก็สามารถรับรู้สภาพทางการเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และด้านอื่น ๆ ของสมัย
               ้
ราชวงศ์ซางได้โดยสังเขปแล้ว

     นายหลิวเอ้อเป็ นนักวิชาการคนแรกของจีนที่ศึกษาวิจยอักษรบนกระดองเต่า เคย เขียน
                                                             ั
วิทยานิพนธ์เล่มหนึ่งเกี่ยวกับอักษรบนกระดองเต่าเมื่อปี 1913 นายกัวโมะโระ นักประวัติศาสตร์
และนักเขียนที่มีชื่อดังของจีนเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญอีกคนหนึ่งเกี่ยวกับอักษรบนกระดองเต่า เคยเขียน
วิทยานิพนธ์เรื่ องการวิจยศึกษาอักษรบนกระดองเต่าเมื่อปี 1929 ปัจจุบน ฉิ วซี กุยศาสตราจารย์
                           ั                                       ั
ของมหาวิทยาลัยปักกิ่งและหลี่เสฉิ น ศาสตราจารย์ของสถาบันวิจยประวัติศาสตร์ จีนเป็ น
                                                             ั
ผูเ้ ชี่ยวชาญที่มีผชื่อถืออย่างมากในด้านวิจยศึกษาอักษรบนกระดองเต่า
                   ู้                      ั

                               ่
นอกจากนี้ ในช่วงกว่า 70 ปี ที่ผานมา ที่อินซี นักโบราณคดีจีนยังได้พบ พระราชวังและวัดวา
อารามกว่า 50 แห่ง สุสานจักรพรรดิ 12 แห่ง สุสานผูดีหลายพันแห่ง ตลอดจนเครื่ องทอง
                                                ้
สัมฤทธิ์ เครื่ องหยก เครื่ องดินเผาและเครื่ องกระดูกสัตว์จานวนมาก ซึ่ งแสดงให้เห็นภาพสังคม
สมัยโบราณของจีนอย่างรอบด้าน


                                                                                        ั
                            ตัวอักษรจีนเป็ นตัวอักษรที่มีการใช้มาเป็ นเวลานานที่สุด ใช้กนใน
                            พื้นที่กว้างขวางที่สุดและมีจานวนคนที่ใช้ก็มากที่สุดในโลก การ
                            สร้างและการใช้ตวอักษรจีนไม่เพียงแต่ได้ทาให้วฒนธรรมจีน
                                               ั                            ั
                            พัฒนาไปเท่านั้น หากยังได้ส่งอิทธิพลอย่างลึกซึ้ งต่อการพัฒนา
วัฒนธรรมโลกด้วย

   ในเขตพื้นที่โบราณที่มีประวัติยาวนานห่างจากปัจจุบนกว่าหกพันปี เช่น ซากสถานที่โบราณ
                                                      ั
ปั้นโพเป็ นต้น ก็ได้คนพบเครื่ องหมายขีดเขียนมาก กว่า50ชนิด และมีการเรี ยบเรี ยงอย่างเป็ น
                     ้
ระเบียบ และมีกฎเกณฑ์ที่แน่นอน เครื่ องหมายเหล่านี้มีลกษณะเป็ นตัวอักษรแบบง่ายๆ
                                                        ั
นักวิชาการเห็นว่า นี่อาจจะเป็ นรู ปแบบขั้นต้นของตัวอักษรจีน

   ตัวอักษรจีนเริ่ มกลายเป็ นตัวอักษรที่มีระบบในสมัยราชวงศ์ซาง ศตวรรษที่16ก่อนคริ สต์กาล
นักโบราณคดีได้พิสูจน์ว่า ระยะต้นของราชวงศ์ซาง อารยธรรมจีนได้พฒนาไปถึงระดับที่
                                                                  ั
ค่อนข้างสูงแล้ว ลักษณะพิเศษที่สาคัญประการหนึ่ งก็คือ การปรากฎตัวอักษรเจี่ยกู่เหวิน
ตัวอักษรแบบเจี่ยกู่เหวินเป็ นตัวอักษรโบราณชนิดหนึ่งที่แกะสลักบนกระดองเต่าและกระดูก
สัตว์ ในสมัยราชวงศ์ซาง กษัตริ ยตองทาพิธีเสี่ ยงทายก่อนจะทรง
                                  ์ ้
ทาพระราชภารกิจใดๆ กระดองเต่าและกระดูกสัตว์ก็คือ
อุปกรณ์การเสี่ ยงทายในสมัยนั้น
ก่อนจะนาไปใช้ กระดองเต่าและกระดูกสัตว์ตองเอาไปแปรสภาพ ก่อนอื่น ต้อง ขูดล้างเลือด
                                                   ้
                     ่
และเนื้อที่เหลืออยูบนกระดองเต่าและกระดูกสัตว์ให้สะอาด แล้วเลื่อยและขัดให้เรี ยบ
ต่อจากนั้นใช้มีดหรื ออุปกรณ์อื่นๆเจาะลึกเข้าไปด้านในของกระดองเต่าหรื อกระดูกสัตว์ รอยเว้า
เหล่านี้เรี ยงตัวอย่างมีระเบียบ คนเสี่ ยงทาย คือพ่อมดจะแกะสลักชื่อของตน วันเวลาในการเสี่ ยง
ทายและปัญหาที่ตองการถามลงบนกระดองเต่าหรื อกระดูกสัตว์ แล้วใช้ไฟเผารอยลึกบน
                       ้
กระดองหรื อกระดูก เมื่อได้รับความร้อนก็จะเกิดรอยร้าว ซึ่ งเรี ยกว่า“เจ้า” พ่อมดก็อาศัยการ
วิเคราะห์ตามรอยแตกร้าวเหล่านี้ ในการเสี่ ยงทาย พร้อมกับแกะสลักไว้บนกระดองหรื อกระดูก
ว่าผลการเสี่ ยงทายแม่นยาหรื อไม่ เมื่อการเสี่ ยงทายเกิดผลเรี ยบร้อยแล้ว กระดองหรื อกระดูกที่มี
รอยแกะสลักเหล่านี้ก็จะถูกเก็บไว้เป็ นหลักฐานทางการ

   ปัจจุบน นักโบราณคดีได้ขดพบกระดองหรื อกระดูกทั้งหมดกว่า1แสน6หมื่นชิ้น ในจานวน
         ั                     ุ
นั้น มีบางชิ้นยังมีความสมบูรณ์อยู่ บางชิ้นก็เป็ น เพียงชิ้นส่วนที่ไม่ได้บนทึกตัวอักษรใดๆ ตาม
                                                                          ั
สถิติ ตัวอักษรชนิดต่างๆบนกระดองและกระดูกเหล่านี้มีถึงสี่ พนกว่าตัว ในจานวนนั้น มี
                                                                  ั
การศึกษาวิจยและพิสูจน์จากนักวิชาการแล้วประมาณสามพันตัว ในบรรดากว่า3000ตัวนี้ มีรับ
              ั
การตีความ หมายที่เป็ นเอกภาพจากนักวิชาการแล้วนั้นมีกว่าพันตัว ที่เหลือยังไม่สามารถแปลได้
หรื อไม่นกวิชาการต่างๆก็ แปลออกมาแล้วแต่ความหมายไม่ตรง อย่างไรก็ตาม เมื่อศึกษา
           ั
ตัวอักษรพันกว่าตัวนี้ เราก็สามารถเข้าใจสภาพการณ์เกี่ยวกับด้านต่างๆของราชวงศ์ซาง เช่น
ทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม เป็ นต้น ตัวอักษรเจี่ยกู่เหวินเป็ นตัวอักษรที่คอนข้าง
                                                                                    ่
สมบูรณ์และมีระบบของตนเอง ซึ่ งได้ปพ้ืนฐานให้การพัฒนาตัวอักษรจีนในเวลาต่อมา
                                        ู
                             ่
ต่อจากนั้น ตัวอักษรจีนก็ได้ผานการเปลี่ยนแปลงเป็ นหลายรู ปแบบ เช่น จินเหวิน(แปลว่าคา
                                                                        ั
จารึ กบนเครื่ องทองเหลือง) เสี่ ยวจ้วน ลวี่ซู ข่ายซู เป็ นต้น และได้ใช้กนมาโดยตลอดจนถึง
ปัจจุบนั

     กระบวนการเปลี่ยนแปลงของตัวอักษรจีนเป็ นกระบวนการที่รูปแบบของตัวอักษรจีนเริ่ มปรับ
ให้มีระเบียบและมีความแน่นอนขึ้นเรื่ อยๆ รู ปแบบเสี่ ยวจ้วนได้กาหนดจานวนขีดของตัวอักษร
                               ็
แต่ละตัวให้ชดเจน ส่วนลวี่ซูกได้สร้างระบบรู ปแบบการเขียนตัวอักษรจีนใหม่ รู ปร่ างค่อยๆเป็ น
              ั
สี่ เหลี่ยมแบนๆ พอถึงยุคข่ายซู รู ปร่ างของตัวอักษรจีนก็ มีทรงมาตรฐานแน่นอน และได้กาหนด
ขีดพื้นฐานต่างๆขึ้น ได้แก่ ขีดแนวนอน ขีดแนวยืน ขีดเบี่ยงซ้าย ขีดแต้ม ขีดลากลงขวา ขีดตวัด
ขึ้น และขีดโค้ง รู ปร่ างของแต่ละขีดก็ได้รับการปรับปรุ งให้มาตรฐานมากยิ่งขึ้น จานวนขีดและ
ลาดับการเขียนขีดของตัวอักษรแต่ละตัวก็จะกาหนดไว้ พันกว่าปี มานี้ รู ปแบบข่ายซูเป็ นรู ปแบบ
                ที่เป็ นมาตรฐานของตัวอักษรจีนมาโดยตลอด

                     ตัวอักษรจีนเป็ นรู ปแบบตัวอักษรภาพโดยพื้นฐานแสดงความหมายโดยถือ
                 ตัวอักษรที่เขียนตามรู ปของสิ่ งของต่างๆเป็ นพื้นฐาน มีจานวนตัวอักษร
                 ทั้งหมดประมาณหนึ่งหมื่นตัว ที่ใช้บ่อยๆมีประมาณสามพันตัว ตัวอักษรกว่า
                 สามพันตัวนี้สามารถประกอบเป็ นคาและสานวนมากมาย คาและสานวน
                 ต่างๆก็จะประกอบเป็ นประโยคต่างๆ

                    ภายหลังเกิดตัวอักษรจีน ได้ส่งอิทธิพลอย่างลึกซึ้ งต่อประเทศรอบข้าง
ตัวอักษรของภาษาญี่ปุ่น เวียดนาม เกาหลีเป็ นต้นก็เกิดขึ้นจากพื้นฐานของตัวอักษรจีน
เอกสารอ้ างอิง


- ชมัยพร ตังตน "โบราณวัตถุ,อักษรบนกระดองเต่า". 4 มิถนายน 2552
           ้                                        ุ

<http://thai.cri.cn/chinaabc/chapter20/chapter200304.htm> 20 กันยายน 2554.

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียPannipa Saetan
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมโครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมchanaruk
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netพัน พัน
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 

La actualidad más candente (20)

(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
การปฏิวัติทางภูมิปัญญา
การปฏิวัติทางภูมิปัญญาการปฏิวัติทางภูมิปัญญา
การปฏิวัติทางภูมิปัญญา
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมโครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 

Similar a จารึกอักษรบนกระดองเต่า

หนังสือเล่มเล็ก ย้อนรอย อักษรจีน
หนังสือเล่มเล็ก ย้อนรอย อักษรจีนหนังสือเล่มเล็ก ย้อนรอย อักษรจีน
หนังสือเล่มเล็ก ย้อนรอย อักษรจีนAnnz Manang
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมNomoretear Cuimhne
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมNomoretear Cuimhne
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Prom Pan Pluemsati
 
อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1Ning Rommanee
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ absinthe39
 
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์ประวัติย่อของคณิตศาสตร์
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์Anchalee Dhammakhun
 
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทยบทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทยGawewat Dechaapinun
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 Noo Suthina
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1Noo Suthina
 

Similar a จารึกอักษรบนกระดองเต่า (20)

หนังสือเล่มเล็ก ย้อนรอย อักษรจีน
หนังสือเล่มเล็ก ย้อนรอย อักษรจีนหนังสือเล่มเล็ก ย้อนรอย อักษรจีน
หนังสือเล่มเล็ก ย้อนรอย อักษรจีน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ
 
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์ประวัติย่อของคณิตศาสตร์
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์
 
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทยบทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
บทที่ 6 การใช้ภาษาบาลีและการใช้คำภาษาบาลีในภาษาไทย
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
Japan
JapanJapan
Japan
 

Más de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Más de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

จารึกอักษรบนกระดองเต่า

  • 1. จารึกอักษรบนกระดองเต่ า นับตั้งแต่วิชาการโบราณคดียคปัจจุบนแพร่ จากตะวันตกเข้าสู่จีนเมื่อศตวรรษที่ 20 เป็ นต้นมา ุ ั จีนได้พบสิ่ งสาคัญทางโบราณคดีจานวนมาก ที่เมืองอันหยางมณฑลเหอหนานทางภาคกลางของจีน มีซากเมืองแห่งหนึ่งที่มี พื้นที่กว้าง ประมาณ 24 ตารางกิโลเมตร คืออินซี หรื อซากเมืองหลวงสมัยราชวงศ์ อินที่มีชื่อโด่งดัง ตารา ประวัติศาสตร์ บนทึกไว้ว่า เมื่อปี 1400 ก่อนคริ สต์ศกราช พระเจ้าฝันเกิง จักรพรรดิ ราชวงศ์ซาง ั ั ได้ยายเมืองหลวงจากเมืองฉี ฝสู่เมืองอันหยางในปัจจุบน เมื่อ ปี 1046 ก่อนคริ สต์ศกราช ราชวงศ์ ้ ู่ ั ั ซางถูกจักรพรรดิราชวงศ์โจวตะวันออกล้มล้าง เมืองหลวงแห่งนี้จึงกลายเป็ นซากไป เนื่องจาก ราชวงศ์ซางมีอีกชื่อหนึ่งว่าราชวงศ์อิน ฉนั้น ซากเมืองแห่งนี้ จึงมีชื่อว่า อินซี หรื อซากเมือง ราชวงศ์อิน
  • 2. นับตั้งแต่ได้ดาเนินการขุดค้นครั้งแรกในปี 1928 เป็ นต้นมา ที่อินซี ได้ขดพบ วัตถุโบราณ ุ จานวนมาก ซึ่ งรวมทั้งอักษรบนกระดองเต่าและเครื่ องทองสัมฤทธิ์ดวย ้ อักษรบนกระดองเต่าเป็ นอักษรเก่าแก่โบราณที่แกะสลักบนกระดองเต่าหรื อ กระดูกสัตว์ เป็ นเครื่ องมือเสี่ยงทายของจักรพรรดิสมัยราชวงศ์ซาง เวลาเสี่ยงทาย พ่อมดจะแกะสลักขื่อของตน วันเวลาในการเสี่ ยงทายและเรื่ องที่จะ เสี่ ยงทาย บนกระดองเต่า แล้วใช้ไฟเผาจนทาให้กระดองเต่าแตกก็จะรู้ผลเสี่ ยงทายตาม รอยแตก ปัจจุบนที่อินซี ได้พบกระดองเต่ารวม 160000 แผ่น อักษรชนิดต่าง ๆ รวมกว่า 4000 คา ที่ ั ผ่านการวิจยศึกษาจากนักวิชาการแล้วมีประมาณ 3000 คา ในจานวนนี้ ที่นกวิชาการทั้งหลาย ั ั แปลความหมายตรงกันมีกว่า 1000 คา นอกนั้น มีที่แปลความหมาย ไม่ออกบ้าง และที่ นักวิชาการทั้งหลายแปลความหมายขัดแย้งกันอย่างมากบ้าง แต่อย่างไรก็ตาม จากอักษรกว่า 1000 คานี้ ผูคนก็สามารถรับรู้สภาพทางการเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และด้านอื่น ๆ ของสมัย ้ ราชวงศ์ซางได้โดยสังเขปแล้ว นายหลิวเอ้อเป็ นนักวิชาการคนแรกของจีนที่ศึกษาวิจยอักษรบนกระดองเต่า เคย เขียน ั วิทยานิพนธ์เล่มหนึ่งเกี่ยวกับอักษรบนกระดองเต่าเมื่อปี 1913 นายกัวโมะโระ นักประวัติศาสตร์ และนักเขียนที่มีชื่อดังของจีนเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญอีกคนหนึ่งเกี่ยวกับอักษรบนกระดองเต่า เคยเขียน
  • 3. วิทยานิพนธ์เรื่ องการวิจยศึกษาอักษรบนกระดองเต่าเมื่อปี 1929 ปัจจุบน ฉิ วซี กุยศาสตราจารย์ ั ั ของมหาวิทยาลัยปักกิ่งและหลี่เสฉิ น ศาสตราจารย์ของสถาบันวิจยประวัติศาสตร์ จีนเป็ น ั ผูเ้ ชี่ยวชาญที่มีผชื่อถืออย่างมากในด้านวิจยศึกษาอักษรบนกระดองเต่า ู้ ั ่ นอกจากนี้ ในช่วงกว่า 70 ปี ที่ผานมา ที่อินซี นักโบราณคดีจีนยังได้พบ พระราชวังและวัดวา อารามกว่า 50 แห่ง สุสานจักรพรรดิ 12 แห่ง สุสานผูดีหลายพันแห่ง ตลอดจนเครื่ องทอง ้ สัมฤทธิ์ เครื่ องหยก เครื่ องดินเผาและเครื่ องกระดูกสัตว์จานวนมาก ซึ่ งแสดงให้เห็นภาพสังคม สมัยโบราณของจีนอย่างรอบด้าน ั ตัวอักษรจีนเป็ นตัวอักษรที่มีการใช้มาเป็ นเวลานานที่สุด ใช้กนใน พื้นที่กว้างขวางที่สุดและมีจานวนคนที่ใช้ก็มากที่สุดในโลก การ สร้างและการใช้ตวอักษรจีนไม่เพียงแต่ได้ทาให้วฒนธรรมจีน ั ั พัฒนาไปเท่านั้น หากยังได้ส่งอิทธิพลอย่างลึกซึ้ งต่อการพัฒนา วัฒนธรรมโลกด้วย ในเขตพื้นที่โบราณที่มีประวัติยาวนานห่างจากปัจจุบนกว่าหกพันปี เช่น ซากสถานที่โบราณ ั ปั้นโพเป็ นต้น ก็ได้คนพบเครื่ องหมายขีดเขียนมาก กว่า50ชนิด และมีการเรี ยบเรี ยงอย่างเป็ น ้ ระเบียบ และมีกฎเกณฑ์ที่แน่นอน เครื่ องหมายเหล่านี้มีลกษณะเป็ นตัวอักษรแบบง่ายๆ ั นักวิชาการเห็นว่า นี่อาจจะเป็ นรู ปแบบขั้นต้นของตัวอักษรจีน ตัวอักษรจีนเริ่ มกลายเป็ นตัวอักษรที่มีระบบในสมัยราชวงศ์ซาง ศตวรรษที่16ก่อนคริ สต์กาล นักโบราณคดีได้พิสูจน์ว่า ระยะต้นของราชวงศ์ซาง อารยธรรมจีนได้พฒนาไปถึงระดับที่ ั ค่อนข้างสูงแล้ว ลักษณะพิเศษที่สาคัญประการหนึ่ งก็คือ การปรากฎตัวอักษรเจี่ยกู่เหวิน ตัวอักษรแบบเจี่ยกู่เหวินเป็ นตัวอักษรโบราณชนิดหนึ่งที่แกะสลักบนกระดองเต่าและกระดูก สัตว์ ในสมัยราชวงศ์ซาง กษัตริ ยตองทาพิธีเสี่ ยงทายก่อนจะทรง ์ ้ ทาพระราชภารกิจใดๆ กระดองเต่าและกระดูกสัตว์ก็คือ อุปกรณ์การเสี่ ยงทายในสมัยนั้น
  • 4. ก่อนจะนาไปใช้ กระดองเต่าและกระดูกสัตว์ตองเอาไปแปรสภาพ ก่อนอื่น ต้อง ขูดล้างเลือด ้ ่ และเนื้อที่เหลืออยูบนกระดองเต่าและกระดูกสัตว์ให้สะอาด แล้วเลื่อยและขัดให้เรี ยบ ต่อจากนั้นใช้มีดหรื ออุปกรณ์อื่นๆเจาะลึกเข้าไปด้านในของกระดองเต่าหรื อกระดูกสัตว์ รอยเว้า เหล่านี้เรี ยงตัวอย่างมีระเบียบ คนเสี่ ยงทาย คือพ่อมดจะแกะสลักชื่อของตน วันเวลาในการเสี่ ยง ทายและปัญหาที่ตองการถามลงบนกระดองเต่าหรื อกระดูกสัตว์ แล้วใช้ไฟเผารอยลึกบน ้ กระดองหรื อกระดูก เมื่อได้รับความร้อนก็จะเกิดรอยร้าว ซึ่ งเรี ยกว่า“เจ้า” พ่อมดก็อาศัยการ วิเคราะห์ตามรอยแตกร้าวเหล่านี้ ในการเสี่ ยงทาย พร้อมกับแกะสลักไว้บนกระดองหรื อกระดูก ว่าผลการเสี่ ยงทายแม่นยาหรื อไม่ เมื่อการเสี่ ยงทายเกิดผลเรี ยบร้อยแล้ว กระดองหรื อกระดูกที่มี รอยแกะสลักเหล่านี้ก็จะถูกเก็บไว้เป็ นหลักฐานทางการ ปัจจุบน นักโบราณคดีได้ขดพบกระดองหรื อกระดูกทั้งหมดกว่า1แสน6หมื่นชิ้น ในจานวน ั ุ นั้น มีบางชิ้นยังมีความสมบูรณ์อยู่ บางชิ้นก็เป็ น เพียงชิ้นส่วนที่ไม่ได้บนทึกตัวอักษรใดๆ ตาม ั สถิติ ตัวอักษรชนิดต่างๆบนกระดองและกระดูกเหล่านี้มีถึงสี่ พนกว่าตัว ในจานวนนั้น มี ั การศึกษาวิจยและพิสูจน์จากนักวิชาการแล้วประมาณสามพันตัว ในบรรดากว่า3000ตัวนี้ มีรับ ั การตีความ หมายที่เป็ นเอกภาพจากนักวิชาการแล้วนั้นมีกว่าพันตัว ที่เหลือยังไม่สามารถแปลได้ หรื อไม่นกวิชาการต่างๆก็ แปลออกมาแล้วแต่ความหมายไม่ตรง อย่างไรก็ตาม เมื่อศึกษา ั ตัวอักษรพันกว่าตัวนี้ เราก็สามารถเข้าใจสภาพการณ์เกี่ยวกับด้านต่างๆของราชวงศ์ซาง เช่น ทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม เป็ นต้น ตัวอักษรเจี่ยกู่เหวินเป็ นตัวอักษรที่คอนข้าง ่ สมบูรณ์และมีระบบของตนเอง ซึ่ งได้ปพ้ืนฐานให้การพัฒนาตัวอักษรจีนในเวลาต่อมา ู ่ ต่อจากนั้น ตัวอักษรจีนก็ได้ผานการเปลี่ยนแปลงเป็ นหลายรู ปแบบ เช่น จินเหวิน(แปลว่าคา ั จารึ กบนเครื่ องทองเหลือง) เสี่ ยวจ้วน ลวี่ซู ข่ายซู เป็ นต้น และได้ใช้กนมาโดยตลอดจนถึง ปัจจุบนั กระบวนการเปลี่ยนแปลงของตัวอักษรจีนเป็ นกระบวนการที่รูปแบบของตัวอักษรจีนเริ่ มปรับ ให้มีระเบียบและมีความแน่นอนขึ้นเรื่ อยๆ รู ปแบบเสี่ ยวจ้วนได้กาหนดจานวนขีดของตัวอักษร ็ แต่ละตัวให้ชดเจน ส่วนลวี่ซูกได้สร้างระบบรู ปแบบการเขียนตัวอักษรจีนใหม่ รู ปร่ างค่อยๆเป็ น ั สี่ เหลี่ยมแบนๆ พอถึงยุคข่ายซู รู ปร่ างของตัวอักษรจีนก็ มีทรงมาตรฐานแน่นอน และได้กาหนด ขีดพื้นฐานต่างๆขึ้น ได้แก่ ขีดแนวนอน ขีดแนวยืน ขีดเบี่ยงซ้าย ขีดแต้ม ขีดลากลงขวา ขีดตวัด ขึ้น และขีดโค้ง รู ปร่ างของแต่ละขีดก็ได้รับการปรับปรุ งให้มาตรฐานมากยิ่งขึ้น จานวนขีดและ
  • 5. ลาดับการเขียนขีดของตัวอักษรแต่ละตัวก็จะกาหนดไว้ พันกว่าปี มานี้ รู ปแบบข่ายซูเป็ นรู ปแบบ ที่เป็ นมาตรฐานของตัวอักษรจีนมาโดยตลอด ตัวอักษรจีนเป็ นรู ปแบบตัวอักษรภาพโดยพื้นฐานแสดงความหมายโดยถือ ตัวอักษรที่เขียนตามรู ปของสิ่ งของต่างๆเป็ นพื้นฐาน มีจานวนตัวอักษร ทั้งหมดประมาณหนึ่งหมื่นตัว ที่ใช้บ่อยๆมีประมาณสามพันตัว ตัวอักษรกว่า สามพันตัวนี้สามารถประกอบเป็ นคาและสานวนมากมาย คาและสานวน ต่างๆก็จะประกอบเป็ นประโยคต่างๆ ภายหลังเกิดตัวอักษรจีน ได้ส่งอิทธิพลอย่างลึกซึ้ งต่อประเทศรอบข้าง ตัวอักษรของภาษาญี่ปุ่น เวียดนาม เกาหลีเป็ นต้นก็เกิดขึ้นจากพื้นฐานของตัวอักษรจีน
  • 6. เอกสารอ้ างอิง - ชมัยพร ตังตน "โบราณวัตถุ,อักษรบนกระดองเต่า". 4 มิถนายน 2552 ้ ุ <http://thai.cri.cn/chinaabc/chapter20/chapter200304.htm> 20 กันยายน 2554.