SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 3
Descargar para leer sin conexión
โดย…นางสาวเฉลิมพร ทองศรีอ้น รหัส 530232116

                  ความเหมือนที่แตกต่าง : ค่าประมาณ และการประมาณค่า

        ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เรื่อง การประมาณค่า ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้สอน
หลายๆ ท่าน อาจเคยพบคาถามจากนักเรียน ว่า “ค่าประมาณกับการประมาณค่า เหมือนกัน
ไหมครับ/คะ” คาสองคานี้มักมีการใช้สับสนกันอยู่บ่อยๆ แต่เป็นที่แน่ชัดว่ามีความแตกต่างกัน
แต่จะแตกต่างกันอย่างไร เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการนาไปใช้อธิบายนักเรียน รวมไปถึงเสริมสร้างความเข้าใจ
ให้กับครูคณิตศาสตร์หลายๆ ท่านที่ยังมีความเข้าใจไม่ตรงกัน จึงขอยกตัวอย่าง เพื่อเป็นแนวทางให้เห็นถึงความ
ต่างกันของค่าประมาณและการประมาณค่าดังต่อไปนี้
        มาเริ่มด้วยคาว่า ค่าประมาณ (Approximation) เป็นค่าที่ได้จากการวัดความกว้าง ความยาว พื้นที่
ปริมาตร น้าหนักของสิ่งของต่างๆ โดยอาศัยเครื่องมือวัด เช่น ตลับเมตร ไม้บรรทัด ไม้โปรแทรกเตอร์ เป็นต้น
และเครื่องมือวัดต้องมีขีดเป็นเครื่องหมายแสดงหน่วยการวัดที่ถูกต้อง สาหรับหน่วยเครื่องวัดในบางครั้งไม่
ละเอียดจึงทาให้วัดได้เพียงคร่าวๆ เท่านั้น นอกจากนี้ ยังต้องอาศัยสายตาในการอ่านค่า ค่าที่ได้จากการวัดจึง
เป็นเพียง ค่าประมาณที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริงเท่านั้น เช่น
                               การวัดโดยการประมาณเป็นจานวนเต็มที่ใกล้เคียงที่สุด




                ยางลบ       มีความยาวอยู่ระหว่าง 1 หน่วย กับ 2 หน่วย แต่ใกล้เคียง 1 หน่วย มากกว่า
                  ดังนั้น   ยางลบ จึงยาวประมาณ           1 หน่วย (  1 หน่วย)
                มีดพับ      มีความยาวอยู่ระหว่าง 3 หน่วย กับ 4 หน่วย แต่ใกล้เคียง 4 หน่วย มากกว่า
                  ดังนั้น   มีดพับ จึงยาวประมาณ          4 หน่วย (  4 หน่วย)
                ดินสอ       มีความยาวอยู่ระหว่าง 5 หน่วย กับ 6 หน่วย แต่ใกล้เคียง 5 หน่วย มากกว่า
                  ดังนั้น   มีดพับ จึงยาวประมาณ          5 หน่วย (  5 หน่วย)
การวัดค่าประมาณของทศนิยมก็เช่นเดียวกัน เช่น




จากรูป กรรไกร มีความยาวอยู่ระหว่าง 0.6 และ 0.7 หน่วย และมีความยาวไม่ถึง 0.65 หน่วย แต่ใกล้เคียง 0.6 หน่วย
               ดังนั้น กรรไกร มีความยาวประมาณเป็นทศนิยม 1 ตาแหน่ง 0.6 หน่วย (  0.6 หน่วย)
       ตะเกียบ มีความยาวอยู่ระหว่าง 0.7 และ 0.8 หน่วย และมีความยาวมากกว่า 0.75 หน่วย และใกล้เคียง 0.8
               หน่วย ดังนั้น ตะเกียบ มีความยาวประมาณเป็นทศนิยม 1 ตาแหน่ง 0.8 หน่วย (  0.8 หน่วย)
       ไม้อัด มีความยาวอยู่ระหว่าง 0.8 และ 0.9 หน่วย และมีความยาวมากกว่า 0.85 หน่วย และใกล้เคียง 0.9
               หน่วย ดังนั้น ไม้อัด มีความยาวประมาณเป็นทศนิยม 1 ตาแหน่ง 0.9 หน่วย (  0.9 หน่วย)

 ส่วนคาว่า         การประมาณค่า (Estimation) จะเป็น
วิธีการที่ช่วยในการหาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หาร
จานวนเพื่อให้ได้ผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว โดยผลลัพธ์นั้น
ใกล้เคียงกับคาตอบจริง
 ในชีวิตประจาวันของคนเรานั้น การประมาณค่า
ของสิ่งต่างๆ จะเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยเสมอ แต่ก็ไม่มีหลักเกณฑ์ที่ตายตัวแน่นอน
ว่าจะต้องประมาณอย่างไร แต่ในการคานวณโจทย์ทางคณิตศาสตร์เรามีกฎเกณฑ์ง่ายๆ เพื่อเป็นแนวปฏิบัติ
ให้ตรงกันคือ ต้องประมาณค่าจานวนที่โจทย์กาหนดให้ก่อนที่จะนาไปหาผลลัพธ์เสมอ ยกตัวอย่างเช่น
 ถ้าต้องการใช้ผ้า        19.25 เมตร ราคาเมตรละ 27.50 บาท อยากทราบว่า ฉันควรเตรียมเงินไปซื้อผ้า
ประมาณกี่บาท
วิธีทา ต้องการใช้ผ้า 19.25 เมตร ประมาณเป็นผ้า 20 เมตร
         ราคาผ้าเมตรละ 27.50 บาท ประมาณเป็นราคาผ้าเมตรละ 30 บาท
 ดังนั้น ฉันควรเตรียมเงินไปซื้อผ้าประมาณ     20 X 30 = 600 บาท               ANS
จะเห็นได้ว่า เราจะใช้การประมาณค่าในโจทย์ก่อน แล้วจึงมาหาผลลัพธ์
                    เนื่องจากต้องการใช้ผ้า 19.25 เมตร เราประมาณเป็น 20 เมตร เพราะถ้าเราประมาณ
                    น้อยกว่านี้ ผ้าจะไม่พอใช้ ในทานองเดียวกัน ถ้าเราประมาณเงินน้อยกว่า 30 บาท
เป็น 25 หรือ 28 จะทาไม่ได้เช่นกัน เพราะถ้าประมาณค่าเป็น 25 บาท เงินจะไม่พอซื้อผ้า แต่ถ้าประมาณค่า
เป็น 28 บาท การคิดคานวณจะเสียเวลา
       ข้อสังเกต จะเห็นว่า ตัวเลข 19.25 เมื่อปัดเศษค่าประมาณควรเป็น 19 หรือ 19.25  19
                 จะเห็นว่า ตัวเลข 27.50 เมื่อปัดเศษค่าประมาณควรเป็น 28 หรือ 27.50  28
 แต่โจทย์ข้อนี้ไม่สามารถนาค่าประมาณจากการปัดเศษมาใช้ได้ เพราะ
       1) ยึดหลักสภาพความเป็นจริง นั่นคือ ต้องการใช้ผ้า 19.25 เมตร เราจะซื้อผ้า 19 เมตร ย่อมไม่
เพียงพอ ดังข้อความข้างต้น
       2) คานวณยาก (19 X 28 คานวณยากกว่า 20 X 30 มาก)
 จากที่กล่าวมาข้างต้น อาจทาให้ท่านผู้อ่านได้ทาความเข้าใจให้กระจ่างชัดระหว่างคาว่า ค่าประมาณและ
การประมาณค่า
         ท้ายที่สุด ขอเสริมความรู้ในเรื่องการประมาณค่า ว่าเป็นสิ่งที่ทุกคนใช้ใน
ชีวิตประจาวัน ไม่ว่าในการไปจับจ่ายซื้อของ การเดินทาง ทาความสะอาดบ้าน การกิน
การนอน การประกอบอาชีพ ฯลฯ เรียกได้ว่า การประมาณค่า จะมีส่วนเข้ามา
เกี่ยวข้องในทุกย่างก้าวของชีวิต ดังนั้น ครูผู้สอนหรือผู้ปกครองควรปลูกฝังให้เด็กมี
ทักษะในการประมาณค่า ซึ่งจะช่วยให้ทักษะในการคิดคานวณดีขึ้น สามารถประมาณ
ค่าคาตอบได้อย่างมีเหตุผล




                                         แหล่งข้อมูลอ้างอิง
   สัญญา แก้วอรุณ (2528). จุลสารครูคณิตศาสตร์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 4 เมษายน – มิถุนายน 2528 หน้า 14-16
   จันทร์เพ็ญ ชุมคช และคณะ (2544). “คู่มือครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1”
            (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา https://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=78990
            (20 ธันวาคม 2553).
   Barbara Reys (1994). “What Parents Should Know About … Estimation”
            (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา http://www.ipst.ac.th/article/math/main-math03.html
            (20 ธันวาคม 2553).

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แก้ตัวกลางภาค
แก้ตัวกลางภาคแก้ตัวกลางภาค
แก้ตัวกลางภาคkanjana2536
 
สื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวดสื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวดmaneewaan
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
2 ข้อสอบ o net คณิตศาสตร์ (ประถม)
2  ข้อสอบ o net คณิตศาสตร์ (ประถม)2  ข้อสอบ o net คณิตศาสตร์ (ประถม)
2 ข้อสอบ o net คณิตศาสตร์ (ประถม)sodanarug
 
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นบทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นsawed kodnara
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560ครู กรุณา
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551ครู กรุณา
 
3.คณิตศาสตร์
3.คณิตศาสตร์3.คณิตศาสตร์
3.คณิตศาสตร์ink3828
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1Tangkwa Dong
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1krutew Sudarat
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.kanjana2536
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละkrookay2012
 
2.แนวข้อสอบ o net คณิตศาสตร์(ม.3)
2.แนวข้อสอบ o net คณิตศาสตร์(ม.3)2.แนวข้อสอบ o net คณิตศาสตร์(ม.3)
2.แนวข้อสอบ o net คณิตศาสตร์(ม.3)teerachon
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2Manas Panjai
 
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับคณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับTutor Ferry
 

La actualidad más candente (20)

แก้ตัวกลางภาค
แก้ตัวกลางภาคแก้ตัวกลางภาค
แก้ตัวกลางภาค
 
57 submath
57 submath57 submath
57 submath
 
สื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวดสื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวด
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
2 ข้อสอบ o net คณิตศาสตร์ (ประถม)
2  ข้อสอบ o net คณิตศาสตร์ (ประถม)2  ข้อสอบ o net คณิตศาสตร์ (ประถม)
2 ข้อสอบ o net คณิตศาสตร์ (ประถม)
 
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นบทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
 
ใบงานบทที่
ใบงานบทที่ใบงานบทที่
ใบงานบทที่
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
 
O net math3 y55
O net math3 y55O net math3 y55
O net math3 y55
 
3.คณิตศาสตร์
3.คณิตศาสตร์3.คณิตศาสตร์
3.คณิตศาสตร์
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
 
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3(2)
ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3(2)ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3(2)
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3(2)
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
 
2.แนวข้อสอบ o net คณิตศาสตร์(ม.3)
2.แนวข้อสอบ o net คณิตศาสตร์(ม.3)2.แนวข้อสอบ o net คณิตศาสตร์(ม.3)
2.แนวข้อสอบ o net คณิตศาสตร์(ม.3)
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 2
 
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับคณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 

Similar a ค่าประมาณและการประมาณค่า

ติวสอบตำรวจวุฒิม.6 ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim me
ติวสอบตำรวจวุฒิม.6  ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim meติวสอบตำรวจวุฒิม.6  ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim me
ติวสอบตำรวจวุฒิม.6 ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim meMarr Ps
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
สมุดเล่มเล็ก (ฺBooklet)
สมุดเล่มเล็ก (ฺBooklet)สมุดเล่มเล็ก (ฺBooklet)
สมุดเล่มเล็ก (ฺBooklet)Jitthana_ss
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละfern1707
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555ครู กรุณา
 
คณิตศาสตร์ ป.6 แบบทดสอบ pre o-net
คณิตศาสตร์ ป.6 แบบทดสอบ pre o-netคณิตศาสตร์ ป.6 แบบทดสอบ pre o-net
คณิตศาสตร์ ป.6 แบบทดสอบ pre o-netKhunnawang Khunnawang
 
หนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยม
หนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยมหนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยม
หนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยมสมบัติ ตันจินดารัตน์
 
หน่วย1_จำนวนนับไม่เกิน100,000 และ 0.pptx
หน่วย1_จำนวนนับไม่เกิน100,000 และ 0.pptxหน่วย1_จำนวนนับไม่เกิน100,000 และ 0.pptx
หน่วย1_จำนวนนับไม่เกิน100,000 และ 0.pptxLalida Pammpers
 
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลาหนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลาkhomAtom
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติTaew Nantawan
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1pumtuy3758
 

Similar a ค่าประมาณและการประมาณค่า (20)

ติวสอบตำรวจวุฒิม.6 ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim me
ติวสอบตำรวจวุฒิม.6  ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim meติวสอบตำรวจวุฒิม.6  ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim me
ติวสอบตำรวจวุฒิม.6 ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim me
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
 
สมุดเล่มเล็ก (ฺBooklet)
สมุดเล่มเล็ก (ฺBooklet)สมุดเล่มเล็ก (ฺBooklet)
สมุดเล่มเล็ก (ฺBooklet)
 
บทนำและเวกเตอร์
บทนำและเวกเตอร์บทนำและเวกเตอร์
บทนำและเวกเตอร์
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
 
แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1
แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1 แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1
แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1
 
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
 
คณิตศาสตร์ ป.6 แบบทดสอบ pre o-net
คณิตศาสตร์ ป.6 แบบทดสอบ pre o-netคณิตศาสตร์ ป.6 แบบทดสอบ pre o-net
คณิตศาสตร์ ป.6 แบบทดสอบ pre o-net
 
หนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยม
หนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยมหนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยม
หนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยม
 
สถิติStat
สถิติStatสถิติStat
สถิติStat
 
หน่วย1_จำนวนนับไม่เกิน100,000 และ 0.pptx
หน่วย1_จำนวนนับไม่เกิน100,000 และ 0.pptxหน่วย1_จำนวนนับไม่เกิน100,000 และ 0.pptx
หน่วย1_จำนวนนับไม่เกิน100,000 และ 0.pptx
 
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
 
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลาหนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา
 
คำชี้แจง 1
คำชี้แจง 1คำชี้แจง 1
คำชี้แจง 1
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติ
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 

Más de Jiraprapa Suwannajak

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมJiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 

Más de Jiraprapa Suwannajak (20)

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 

ค่าประมาณและการประมาณค่า

  • 1. โดย…นางสาวเฉลิมพร ทองศรีอ้น รหัส 530232116 ความเหมือนที่แตกต่าง : ค่าประมาณ และการประมาณค่า ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เรื่อง การประมาณค่า ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้สอน หลายๆ ท่าน อาจเคยพบคาถามจากนักเรียน ว่า “ค่าประมาณกับการประมาณค่า เหมือนกัน ไหมครับ/คะ” คาสองคานี้มักมีการใช้สับสนกันอยู่บ่อยๆ แต่เป็นที่แน่ชัดว่ามีความแตกต่างกัน แต่จะแตกต่างกันอย่างไร เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการนาไปใช้อธิบายนักเรียน รวมไปถึงเสริมสร้างความเข้าใจ ให้กับครูคณิตศาสตร์หลายๆ ท่านที่ยังมีความเข้าใจไม่ตรงกัน จึงขอยกตัวอย่าง เพื่อเป็นแนวทางให้เห็นถึงความ ต่างกันของค่าประมาณและการประมาณค่าดังต่อไปนี้ มาเริ่มด้วยคาว่า ค่าประมาณ (Approximation) เป็นค่าที่ได้จากการวัดความกว้าง ความยาว พื้นที่ ปริมาตร น้าหนักของสิ่งของต่างๆ โดยอาศัยเครื่องมือวัด เช่น ตลับเมตร ไม้บรรทัด ไม้โปรแทรกเตอร์ เป็นต้น และเครื่องมือวัดต้องมีขีดเป็นเครื่องหมายแสดงหน่วยการวัดที่ถูกต้อง สาหรับหน่วยเครื่องวัดในบางครั้งไม่ ละเอียดจึงทาให้วัดได้เพียงคร่าวๆ เท่านั้น นอกจากนี้ ยังต้องอาศัยสายตาในการอ่านค่า ค่าที่ได้จากการวัดจึง เป็นเพียง ค่าประมาณที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริงเท่านั้น เช่น การวัดโดยการประมาณเป็นจานวนเต็มที่ใกล้เคียงที่สุด ยางลบ มีความยาวอยู่ระหว่าง 1 หน่วย กับ 2 หน่วย แต่ใกล้เคียง 1 หน่วย มากกว่า ดังนั้น ยางลบ จึงยาวประมาณ 1 หน่วย (  1 หน่วย) มีดพับ มีความยาวอยู่ระหว่าง 3 หน่วย กับ 4 หน่วย แต่ใกล้เคียง 4 หน่วย มากกว่า ดังนั้น มีดพับ จึงยาวประมาณ 4 หน่วย (  4 หน่วย) ดินสอ มีความยาวอยู่ระหว่าง 5 หน่วย กับ 6 หน่วย แต่ใกล้เคียง 5 หน่วย มากกว่า ดังนั้น มีดพับ จึงยาวประมาณ 5 หน่วย (  5 หน่วย)
  • 2. การวัดค่าประมาณของทศนิยมก็เช่นเดียวกัน เช่น จากรูป กรรไกร มีความยาวอยู่ระหว่าง 0.6 และ 0.7 หน่วย และมีความยาวไม่ถึง 0.65 หน่วย แต่ใกล้เคียง 0.6 หน่วย ดังนั้น กรรไกร มีความยาวประมาณเป็นทศนิยม 1 ตาแหน่ง 0.6 หน่วย (  0.6 หน่วย) ตะเกียบ มีความยาวอยู่ระหว่าง 0.7 และ 0.8 หน่วย และมีความยาวมากกว่า 0.75 หน่วย และใกล้เคียง 0.8 หน่วย ดังนั้น ตะเกียบ มีความยาวประมาณเป็นทศนิยม 1 ตาแหน่ง 0.8 หน่วย (  0.8 หน่วย) ไม้อัด มีความยาวอยู่ระหว่าง 0.8 และ 0.9 หน่วย และมีความยาวมากกว่า 0.85 หน่วย และใกล้เคียง 0.9 หน่วย ดังนั้น ไม้อัด มีความยาวประมาณเป็นทศนิยม 1 ตาแหน่ง 0.9 หน่วย (  0.9 หน่วย) ส่วนคาว่า การประมาณค่า (Estimation) จะเป็น วิธีการที่ช่วยในการหาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หาร จานวนเพื่อให้ได้ผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว โดยผลลัพธ์นั้น ใกล้เคียงกับคาตอบจริง ในชีวิตประจาวันของคนเรานั้น การประมาณค่า ของสิ่งต่างๆ จะเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยเสมอ แต่ก็ไม่มีหลักเกณฑ์ที่ตายตัวแน่นอน ว่าจะต้องประมาณอย่างไร แต่ในการคานวณโจทย์ทางคณิตศาสตร์เรามีกฎเกณฑ์ง่ายๆ เพื่อเป็นแนวปฏิบัติ ให้ตรงกันคือ ต้องประมาณค่าจานวนที่โจทย์กาหนดให้ก่อนที่จะนาไปหาผลลัพธ์เสมอ ยกตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการใช้ผ้า 19.25 เมตร ราคาเมตรละ 27.50 บาท อยากทราบว่า ฉันควรเตรียมเงินไปซื้อผ้า ประมาณกี่บาท วิธีทา ต้องการใช้ผ้า 19.25 เมตร ประมาณเป็นผ้า 20 เมตร ราคาผ้าเมตรละ 27.50 บาท ประมาณเป็นราคาผ้าเมตรละ 30 บาท ดังนั้น ฉันควรเตรียมเงินไปซื้อผ้าประมาณ 20 X 30 = 600 บาท ANS
  • 3. จะเห็นได้ว่า เราจะใช้การประมาณค่าในโจทย์ก่อน แล้วจึงมาหาผลลัพธ์ เนื่องจากต้องการใช้ผ้า 19.25 เมตร เราประมาณเป็น 20 เมตร เพราะถ้าเราประมาณ น้อยกว่านี้ ผ้าจะไม่พอใช้ ในทานองเดียวกัน ถ้าเราประมาณเงินน้อยกว่า 30 บาท เป็น 25 หรือ 28 จะทาไม่ได้เช่นกัน เพราะถ้าประมาณค่าเป็น 25 บาท เงินจะไม่พอซื้อผ้า แต่ถ้าประมาณค่า เป็น 28 บาท การคิดคานวณจะเสียเวลา ข้อสังเกต จะเห็นว่า ตัวเลข 19.25 เมื่อปัดเศษค่าประมาณควรเป็น 19 หรือ 19.25  19 จะเห็นว่า ตัวเลข 27.50 เมื่อปัดเศษค่าประมาณควรเป็น 28 หรือ 27.50  28 แต่โจทย์ข้อนี้ไม่สามารถนาค่าประมาณจากการปัดเศษมาใช้ได้ เพราะ 1) ยึดหลักสภาพความเป็นจริง นั่นคือ ต้องการใช้ผ้า 19.25 เมตร เราจะซื้อผ้า 19 เมตร ย่อมไม่ เพียงพอ ดังข้อความข้างต้น 2) คานวณยาก (19 X 28 คานวณยากกว่า 20 X 30 มาก) จากที่กล่าวมาข้างต้น อาจทาให้ท่านผู้อ่านได้ทาความเข้าใจให้กระจ่างชัดระหว่างคาว่า ค่าประมาณและ การประมาณค่า ท้ายที่สุด ขอเสริมความรู้ในเรื่องการประมาณค่า ว่าเป็นสิ่งที่ทุกคนใช้ใน ชีวิตประจาวัน ไม่ว่าในการไปจับจ่ายซื้อของ การเดินทาง ทาความสะอาดบ้าน การกิน การนอน การประกอบอาชีพ ฯลฯ เรียกได้ว่า การประมาณค่า จะมีส่วนเข้ามา เกี่ยวข้องในทุกย่างก้าวของชีวิต ดังนั้น ครูผู้สอนหรือผู้ปกครองควรปลูกฝังให้เด็กมี ทักษะในการประมาณค่า ซึ่งจะช่วยให้ทักษะในการคิดคานวณดีขึ้น สามารถประมาณ ค่าคาตอบได้อย่างมีเหตุผล แหล่งข้อมูลอ้างอิง สัญญา แก้วอรุณ (2528). จุลสารครูคณิตศาสตร์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 4 เมษายน – มิถุนายน 2528 หน้า 14-16 จันทร์เพ็ญ ชุมคช และคณะ (2544). “คู่มือครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1” (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา https://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=78990 (20 ธันวาคม 2553). Barbara Reys (1994). “What Parents Should Know About … Estimation” (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา http://www.ipst.ac.th/article/math/main-math03.html (20 ธันวาคม 2553).