SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 11
Descargar para leer sin conexión
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ยึดหลักทางสายกลาง ทีชี้แนวทางการดารงอยู่
                                                     ่
  และปฏิบัติของประชาชนในทุกระดับให้ดาเนินไปในทางสายกลาง มีความ
 พอเพียง และมีความพร้อมที่จะจัดการต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ซึ่ง
   จะต้องอาศัยความรอบรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง ในการวางแผนและ
ดาเนินการทุกขั้นตอน ทั้งนี้ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นการดาเนินชีวิตอย่างสมดุล
   และยั่งยืน เพื่อให้สามารถอยู่ได้แม้ในโลกโลกาภิวัตน์ทมีการแข่งขันสูง
                                                       ี่
หลักเศรษฐกิจพอเพียง อาจประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ มีดังนี้

1.การไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย - ไม่ใช้จ่ายเงินเกินความจาเป็น ไม่ใช้
 จ่ายสิ้นเปลือง เช่น การซื้อของที่ไม่จาเป็น พวกสิ่งของที่ไร้
 ประโยชน์ หาคุณค่าไม่ได้ เมื่อเราไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยแล้ว เงินที่
 เหลือฉันก็เก็บ หยอดใส่กระปุก เพื่อเป็นการประหยัดภายใน
 ครอบครัว ไม่นาเงินไปใช้เกินวัยของตนเอง
2.การใช้นา-ไฟ อย่างประหยัด - ใช้นาให้รู้คุณค่า ไม่
 เปิดนาทิ้งไว้ หรือ ปิดนาให้สนิท นาที่เหลือจากการล้าง
 ผลไม้ อาหาร จะนาไปรดต้นไม้ และไฟ ไม่เปิดไฟนอน และ
 ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าให้สนิท ด้วยการถอดปลั๊ก และเมื่อไม่
 อยู่บ้าน สารวจว่ามีเครื่องใช้ไฟฟ้าใดบ้างที่ยังไม่ได้ปิด จะ
 ปิดให้สนิท
3.การหารายได้เข้าครอบครัว - ช่วยพ่อแม่ทางาน เพื่อ
 นาไปขาย และปลูกผักนาไปขาย เพื่อหารายได้เข้า
 ครอบครัว และเมื่อหารายได้มาแล้ว จะไม่นาเงินไปใช้จ่ายใน
 สิ่งที่สุรุ่ยสุร่าย พร้อมทั้งทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย เพื่อ
 รู้การใช้จ่ายภายในครอบครัว
การบูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับเนื้อหา
               คณิตศาสตร์เรื่องอัตราส่วนและร้อยละ
ขั้นนาเข้าสูบทเรียน เล่าเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้นักเรียนฟังและบอกว่า
            ่
    วิชาคณิตศาสตร์เรื่องอัตราส่วนและร้อยละเข่าไปมีบทบาทอย่างไร เช่นการทา
    เกษรตรทฤษฎีใหม่ การแบ่งพื้นที่ทาการเกษตรเป็น 10:30:30:30
    ถ้าครอบครัวของเรามีที่ดินเท่ากับ x จะทากิจกรรมตามการเกษตรทฤษฏี
    ใหม่ได้อย่างไร
ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้นักเรียนฝึกคานวณตามโจทย์ที่ตั้งใว้ในขั้น
    นาเน้าสู่บทเรียน ตามที่ดินจริงของตน ให้นักเรียนวาดรูปการทาเกษตร
    ทฤษฎีใหม่ของครอบครัวตนเอง และให้ออกมารายงานหรือเล่าเรื่องจาก
    ภาพวาดของตน มีการวัดผลจากทุกกิจกรรมที่จัดให้ผู้เรียน
คณิตศาสตร์กับการทานาตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวอย่างเช่น เรื่องสินค้ามือสองกับฟังก์ชั่นล็อก ในช่วงปี ๒๕๔๙ กระแสสินค้า
มือสองได้รับความนิยมมากในหมู่วัยรุ่นจึงนามาบูรณาการในการเรียนการสอน เพื่อให้
ข้อคิดกับเด็กว่า ไม่ควรซื้อสินค้ามือสองโดยไม่คานึงถึงเหตุและผล พร้อมดึงเข้าสู่
เนื้อหาเรื่องฟังก์ชั่นล็อก ซึ่งเป็นเรื่องการคิดค่าเสื่อมราคาสินค้า ด้วยการให้เด็ก
เปรียบเทียบสินค้าว่ามีอายุการใช้งานกี่ปี หากคิดค่าเสื่อมราคาและความคุ้มค่าแล้ว
ควรซื้อสินค้าหรือไม่อย่างไร เป็นเรื่องใกล้ตัวเด็กที่สามารถดึงเข้าสู่บทเรียนได้
นอกจากนี้ยังมีการนาเรื่องบัตรเติมเงินโทรศัพท์มาใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน
ด้วยเช่นกัน เพราะทุกวันนี้เด็กใช้โทรศัพท์มือถือกันจนเป็นเรื่องปกติ ห้ามก็ไม่ได้ ครูจึง
ให้เด็กเก็บบัตรเติมเงินไว้แล้วให้เลือกมาหนึ่งใบ พร้อมกับให้สร้างโจทย์คณิตศาสตร์ที่
สัมพันธ์กับบัตรเติมเงินโทรศัพท์นั้นว่า เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่ครูสอนอย่างไร
เซ็ตอินเตอร์เซ็กชั่นกับพืชผักสวนครัว คือการเรียนเรื่องเซ็ตหรือ
   การจัดกลุ่มแทนที่จะใส่ตัวเลข ก็อาจจะเปลี่ยนเป็นต้นไม้ หรือพืชสวนครัว
   ที่ปลูกในพื้นที่จากัดก็ได้ วิธีการคิดก็คือ ถ้าพืชวงที่หนึ่งเป็นวงไม้ประดับ
   แล้ววงที่สองเป็นไม้ที่กินได้ ฉะนั้นที่เราจะปลูกไม้ประดับเพื่อความสวยงาม
   หรือไม้กินได้ที่ไม่สวยงาม หากลองปลูกไม้ทั้งสองอย่างรวมกันเลือกที่
   สวยด้วย แล้วเอามากินได้ด้วย นั่นก็คือการอินเตอร์เซ็กชั่นกันในเรื่อง
   ของเซ็ต ซึ่งสิ่งที่ครูให้เด็กได้เรียนรูนอกเหนือจากวิชาคณิตศาสตร์แล้ว
                                           ้
   ยังสอนให้รู้ว่าพืชสวนครัวเป็นอาหาร ขณะเดียวกันก็โยงไปสู่สภาพบ้าน
   ของเด็กและอาชีพของผู้ปกครองด้วย
นายศุภกิตต์ จันทร์มณี เลขที่ 11
       นายสิโรตม์ ปิงแก้ว เลขที่ 14
เด็กชายอิทธิกูล สาราญพิทักษ์ เลขที่ 16
    เด็กหญิงกันติชา จิ๋วแก้ว เลขที่ 19
  เด็กหญิงปนัสยา นิพิฏฐกุล เลขที่ 26
งาน เศรษฐกิจพอเพียง

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันSiratcha Wongkom
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5Khunnawang Khunnawang
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201Thidarat Termphon
 
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560สภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกNoppadon Khongchana
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนWichai Likitponrak
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 2 Fun Show Change
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 2 Fun Show Changeคู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 2 Fun Show Change
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 2 Fun Show ChangeInfluencer TH
 
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5Puet Mp
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56docหลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56dockrupornpana55
 
แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1juckit009
 

La actualidad más candente (20)

ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษาแนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
 
การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201
 
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 2 Fun Show Change
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 2 Fun Show Changeคู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 2 Fun Show Change
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 2 Fun Show Change
 
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
 
Key bi oporn2562_kruwichaitu
Key bi oporn2562_kruwichaituKey bi oporn2562_kruwichaitu
Key bi oporn2562_kruwichaitu
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2
 
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56docหลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
 
แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1
 

Destacado

พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1Panukant Buddalao
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงthekop2528
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควนTum Meng
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงGuntima NaLove
 
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56sukanya56106930005
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงpatcharapornfilmmii
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืนWatcharin Chongkonsatit
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงChanon Mala
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงSuttipong Pratumvee
 
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ploymhud
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่THESKYsorha
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่Intrapan Suwan
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริKawow
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงPreeyaporn Wannamanee
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพRung Kru
 

Destacado (19)

พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ผลการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียง
ผลการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียงผลการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียง
ผลการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
 

Similar a งาน เศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง sapay
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงjo
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงENooilada
 
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruemas Kerdpocha
 
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธเศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธKasetsart University
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงbanlangkhao
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนAnantaya
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..Pornthip Tanamai
 
งานนำเสนอ1.2
งานนำเสนอ1.2งานนำเสนอ1.2
งานนำเสนอ1.2nukedza
 

Similar a งาน เศรษฐกิจพอเพียง (20)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ครูสังคม
ครูสังคมครูสังคม
ครูสังคม
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธเศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
ทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อ
 
จุ๊
จุ๊จุ๊
จุ๊
 
002
002002
002
 
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้มโรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
 
งานนำเสนอ1.2
งานนำเสนอ1.2งานนำเสนอ1.2
งานนำเสนอ1.2
 

Más de Jiraprapa Suwannajak

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมJiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctสื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctJiraprapa Suwannajak
 
กราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษากราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษาJiraprapa Suwannajak
 

Más de Jiraprapa Suwannajak (20)

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
 
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctสื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
 
กราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษากราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษา
 

งาน เศรษฐกิจพอเพียง

  • 1. เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ยึดหลักทางสายกลาง ทีชี้แนวทางการดารงอยู่ ่ และปฏิบัติของประชาชนในทุกระดับให้ดาเนินไปในทางสายกลาง มีความ พอเพียง และมีความพร้อมที่จะจัดการต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ซึ่ง จะต้องอาศัยความรอบรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง ในการวางแผนและ ดาเนินการทุกขั้นตอน ทั้งนี้ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นการดาเนินชีวิตอย่างสมดุล และยั่งยืน เพื่อให้สามารถอยู่ได้แม้ในโลกโลกาภิวัตน์ทมีการแข่งขันสูง ี่
  • 2.
  • 3. หลักเศรษฐกิจพอเพียง อาจประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ มีดังนี้ 1.การไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย - ไม่ใช้จ่ายเงินเกินความจาเป็น ไม่ใช้ จ่ายสิ้นเปลือง เช่น การซื้อของที่ไม่จาเป็น พวกสิ่งของที่ไร้ ประโยชน์ หาคุณค่าไม่ได้ เมื่อเราไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยแล้ว เงินที่ เหลือฉันก็เก็บ หยอดใส่กระปุก เพื่อเป็นการประหยัดภายใน ครอบครัว ไม่นาเงินไปใช้เกินวัยของตนเอง
  • 4. 2.การใช้นา-ไฟ อย่างประหยัด - ใช้นาให้รู้คุณค่า ไม่ เปิดนาทิ้งไว้ หรือ ปิดนาให้สนิท นาที่เหลือจากการล้าง ผลไม้ อาหาร จะนาไปรดต้นไม้ และไฟ ไม่เปิดไฟนอน และ ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าให้สนิท ด้วยการถอดปลั๊ก และเมื่อไม่ อยู่บ้าน สารวจว่ามีเครื่องใช้ไฟฟ้าใดบ้างที่ยังไม่ได้ปิด จะ ปิดให้สนิท
  • 5. 3.การหารายได้เข้าครอบครัว - ช่วยพ่อแม่ทางาน เพื่อ นาไปขาย และปลูกผักนาไปขาย เพื่อหารายได้เข้า ครอบครัว และเมื่อหารายได้มาแล้ว จะไม่นาเงินไปใช้จ่ายใน สิ่งที่สุรุ่ยสุร่าย พร้อมทั้งทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย เพื่อ รู้การใช้จ่ายภายในครอบครัว
  • 6. การบูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับเนื้อหา คณิตศาสตร์เรื่องอัตราส่วนและร้อยละ ขั้นนาเข้าสูบทเรียน เล่าเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้นักเรียนฟังและบอกว่า ่ วิชาคณิตศาสตร์เรื่องอัตราส่วนและร้อยละเข่าไปมีบทบาทอย่างไร เช่นการทา เกษรตรทฤษฎีใหม่ การแบ่งพื้นที่ทาการเกษตรเป็น 10:30:30:30 ถ้าครอบครัวของเรามีที่ดินเท่ากับ x จะทากิจกรรมตามการเกษตรทฤษฏี ใหม่ได้อย่างไร ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้นักเรียนฝึกคานวณตามโจทย์ที่ตั้งใว้ในขั้น นาเน้าสู่บทเรียน ตามที่ดินจริงของตน ให้นักเรียนวาดรูปการทาเกษตร ทฤษฎีใหม่ของครอบครัวตนเอง และให้ออกมารายงานหรือเล่าเรื่องจาก ภาพวาดของตน มีการวัดผลจากทุกกิจกรรมที่จัดให้ผู้เรียน
  • 7. คณิตศาสตร์กับการทานาตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ตัวอย่างเช่น เรื่องสินค้ามือสองกับฟังก์ชั่นล็อก ในช่วงปี ๒๕๔๙ กระแสสินค้า มือสองได้รับความนิยมมากในหมู่วัยรุ่นจึงนามาบูรณาการในการเรียนการสอน เพื่อให้ ข้อคิดกับเด็กว่า ไม่ควรซื้อสินค้ามือสองโดยไม่คานึงถึงเหตุและผล พร้อมดึงเข้าสู่ เนื้อหาเรื่องฟังก์ชั่นล็อก ซึ่งเป็นเรื่องการคิดค่าเสื่อมราคาสินค้า ด้วยการให้เด็ก เปรียบเทียบสินค้าว่ามีอายุการใช้งานกี่ปี หากคิดค่าเสื่อมราคาและความคุ้มค่าแล้ว ควรซื้อสินค้าหรือไม่อย่างไร เป็นเรื่องใกล้ตัวเด็กที่สามารถดึงเข้าสู่บทเรียนได้ นอกจากนี้ยังมีการนาเรื่องบัตรเติมเงินโทรศัพท์มาใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน ด้วยเช่นกัน เพราะทุกวันนี้เด็กใช้โทรศัพท์มือถือกันจนเป็นเรื่องปกติ ห้ามก็ไม่ได้ ครูจึง ให้เด็กเก็บบัตรเติมเงินไว้แล้วให้เลือกมาหนึ่งใบ พร้อมกับให้สร้างโจทย์คณิตศาสตร์ที่ สัมพันธ์กับบัตรเติมเงินโทรศัพท์นั้นว่า เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่ครูสอนอย่างไร
  • 8. เซ็ตอินเตอร์เซ็กชั่นกับพืชผักสวนครัว คือการเรียนเรื่องเซ็ตหรือ การจัดกลุ่มแทนที่จะใส่ตัวเลข ก็อาจจะเปลี่ยนเป็นต้นไม้ หรือพืชสวนครัว ที่ปลูกในพื้นที่จากัดก็ได้ วิธีการคิดก็คือ ถ้าพืชวงที่หนึ่งเป็นวงไม้ประดับ แล้ววงที่สองเป็นไม้ที่กินได้ ฉะนั้นที่เราจะปลูกไม้ประดับเพื่อความสวยงาม หรือไม้กินได้ที่ไม่สวยงาม หากลองปลูกไม้ทั้งสองอย่างรวมกันเลือกที่ สวยด้วย แล้วเอามากินได้ด้วย นั่นก็คือการอินเตอร์เซ็กชั่นกันในเรื่อง ของเซ็ต ซึ่งสิ่งที่ครูให้เด็กได้เรียนรูนอกเหนือจากวิชาคณิตศาสตร์แล้ว ้ ยังสอนให้รู้ว่าพืชสวนครัวเป็นอาหาร ขณะเดียวกันก็โยงไปสู่สภาพบ้าน ของเด็กและอาชีพของผู้ปกครองด้วย
  • 9.
  • 10. นายศุภกิตต์ จันทร์มณี เลขที่ 11 นายสิโรตม์ ปิงแก้ว เลขที่ 14 เด็กชายอิทธิกูล สาราญพิทักษ์ เลขที่ 16 เด็กหญิงกันติชา จิ๋วแก้ว เลขที่ 19 เด็กหญิงปนัสยา นิพิฏฐกุล เลขที่ 26