SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 23
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้น
เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
แนวคิด
คอมพิวเตอร์กราฟิก คือ การใช้คอมพิวเตอร์สร้างภาพและจัดการเกี่ยวกับ
รูปภาพ เพื่อใช้สื่อความหมายของข้อมูลต่างๆ ให้น่าสนใจยิ่งขึ้น เช่น การใช้
กราฟนาเสนอข้อมูลยอดขายสินค้าในแต่ละปี การใช้ภาพกราฟิก
ประกอบการโฆษณาสินค้าต่างๆ เป็นต้น ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ มี 2
แบบ คือแบบ Raster และแบบ Vector จะเกิดภาพจากจุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ
หลายๆ จุดมารวมกัน ส่วนแบบ Vector เกิดจากการอ้างอิงความสัมพันธ์
ทางคณิตศาสตร์ หรือการคานวณ ซึ่งภาพกราฟิกแต่ละนามสกุลจะมีแฟ้ม
รูปภาพและลักษณะที่แตกต่างกัน
สาระสาคัญ
1. บทนา
2. ความหมายของกราฟิก
3. ความหมายของคอมพิวเตอร์กราฟิก
4. หลักการทางานและการแสดงผลของภาพคอมพิวเตอร์กราฟิก
5. หลักการของกราฟิกแบบ Raster
6. หลักการของกราฟิกแบบ Vector
7. ความแตกต่างของกราฟิกแบบ 2 มิติ
8. หลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์
9. แฟ้มภาพกราฟิกแบบ Raster และคุณลักษณะของแฟ้มภาพกราฟิก
10. แฟ้มภาพกราฟิกแบบ Vector และคุณลักษณะของแฟ้มภาพกราฟิก
11. คอมพิวเตอร์กราฟิกกับการประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ
ความหมายของกราฟิก
กราฟิก มักเขียนผิดเป็น กราฟฟิกส์ กราฟฟิกส์ กราฟิก คา
ว่า “กราฟิก” มาจากภาษา กรีก ซึ่งหมายถึง การวาดเขียน และการเขียน
ต่อมามีผู้ให้ความหมายของคาว่า กราฟิก ไว้หลายประการซึ่งสรุปได้ดังนี้
กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้สื่อความหมายด้วย
เส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตุน ฯลฯ เพื่อให้
สามารถสื่อความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ
ความหมายของคอมพิวเตอร์กราฟิก
คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง การสร้าง การตกแต่งแก้ไข หรือการจัดการเกี่ยวกับรูปภาพโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ใน
การจัดการ
ภาพกราฟิกแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ
2. ภาพกราฟิกแบบ 3 มิติ
หลักการทางานและการแสดงผลของภาพคอมพิวเตอร์กราฟิก
ภาพที่เกิดบนจอคอมพิวเตอร์ เกิดจากการทางานของโหมดสี RGB
ซึ่งประกอบด้วย สีแดง (Red) สีเขียว (Green) และสีน้าเงิน (Blue) โดยใช้
หลักยิงประจุไฟฟ้าให้เกิดการเปล่งแสงของสีทั้ง 3 สีมาผสมกัน ทาให้เกิด
เป็นจุดสีสี่เหลี่ยมเล็กๆ ที่เรียกว่า พิกเซล (Pixel) ซึ่งมาจากคาว่า Picture
กับ Element โดยพิกเซลจะมีหลากหลายสี เมื่อนามาวางต่อกันจะเกิดเป็น
รูปภาพ ซึ่งภาพที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์มี2 ประเภท คือ แบบ Raster
กับ Vector
หลักการของกราฟิกแบบ Raster
หลักการของภาพกราฟิกแบบ Raster หรือแบบ Bitmap เป็น
ภาพกราฟิกที่เกิดจากการเรียงตัวกันของจุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ หลากหลายสี ซึ่งเรียก
จุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ นี้ว่าพิกเซล (Pixel) ในการสร้างภาพกราฟิกแบบ Raster
จะต้องกาหนดจานวนของพิกเซลให้กับภาพที่ต้องการสร้าง ถ้ากาหนดจานวน
พิกเซลน้อย เมื่อขยายภาพให้มีขนาดใหญ่ขึ้นจะทาให้มองเห็นภาพเป็นจุดสี่เหลี่ยม
เล็กๆ หรือถ้ากาหนดจานวนพิกเซลมากก็จะทาให้แฟ้มภาพมีขนาดใหญ่ ดังนั้น
การกาหนดพิกเซลจึงควรกาหนดจานวนพิกเซลให้เหมาะกับงานที่สร้าง คือ ถ้า
ต้องการใช้งานทั่วไป จะกาหนดจานวนพิกเซลประมาณ 100-150 ppi
(Pixel/inch) “จานวนพิกเซลต่อ 1 ตารางนิ้ว” ถ้าเป็นงานที่ต้องการความละเอียด
น้อยและแฟ้มภาพมีขนาดเล็ก เช่น ภาพสาหรับใช้กับเว็บไซต์จะกาหนดจานวน
พิกเซลประมาณ 72 ppi และถ้าเป็นงานพิมพ์ เช่น นิตยสาร โปสเตอร์ขนาดใหญ่
จะกาหนดจานวนพิกเซลประมาณ 300-350 ppi เป็นต้น
หลักการของกราฟิกแบบ Raster
หลักการของกราฟิกแบบ Vector
หลักการของกราฟิกแบบ Vector เป็นภาพกราฟิกที่เกิดจากการอ้างอิง
ความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ หรือการคานวณซึ่งภาพจะมีความเป็นอิสระต่อกัน
โดยแยกชิ้นส่วนของภาพทั้งหมดออกเป็นเส้นตรง เส้นโค้ง รูปทรง เมื่อมีการขยาย
ภาพความละเอียดของภาพจะไม่ลดลง แฟ้มจะมีขนาดเล็กกว่าแบบ Raster
ภาพกราฟิกแบบ Vector นิยมใช้เพื่องานสถาปัตย์ตกแต่งภายใน และการ
ออกแบบต่างๆ เช่น การออกแบบอาคาร การออกแบบรถยนต์ การสร้างโลโก้ การ
สร้างการ์ตูน เป็นต้น
หลักการของกราฟิกแบบ Vector
ความแตกต่างของกราฟิกแบบ 2 มิติภาพกราฟิกแบบ Raster ภาพกราฟิกแบบ Vector
1. ภาพกราฟิกเกิดจากจุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ
หลากหลายสี (Pixel) มาเรียงต่อกันจน
กลายเป็นรูปภาพ
1. ภาพเกิดจากการอ้างอิงความสัมพันธ์ทาง
คณิตศาสตร์หรือการคานวณ โดย
องค์ประกอบของภาพมีอิสระต่อกัน
2. การขยายภาพกราฟิกให้มีขนาดใหญ่ขึ้นจะทา
ให้ความละเอียดของภาพลดลง ทาให้
มองเห็นภาพเป็นจุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ
2. การขยายภาพกราฟิกให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ภาพ
ยังคงความละเอียดคมชัดเหมือนเดิม
3. การตกแต่งและแก้ไขภาพ สามารถทาได้ง่าย
และสวยงาม เช่น การ Retouching ภาพคนแก่
ให้หนุ่มขึ้น การปรับสีผิวกายให้ขาวเนียนขึ้น
เป็นต้น
3. เหมาะกับงานออกแบบต่างๆ เช่น งานสถาปัตย์
ออกแบบโลโก เป็นต้น
4. การประมวลผลภาพสามารถทาได้รวดเร็ว 4. การประมวลผลภาพจะใช้เวลานานเนื่องจากใช้
คาสั่งในการทางานมาก
หลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์
สีที่ใช้ในงานด้านกราฟิกทั่วไปมี 4 ระบบ คือ
1. RGB
2. CMYK
3. HSB
4. LAB
RGB
เป็นระบบสีที่ประกอบด้วยแม่สี 3 สีคือ แดง (Red),เขียว (Green) และสีน้าเงิน (Blue) เมื่อนามาผสมกัน
ทาให้เกิดสีต่างๆ บนจอคอมพิวเตอร์มากถึง 16.7 ล้านสี ซึ่งใกล้เคียงกับสีที่ตาเรามองเห็นปกติ สีที่ได้จาก
การผสมสีขึ้นอยู่กับความเข้มของสี โดยถ้าสีมีความเข้มข้นมาก เมื่อนามาผสมกันจะทาให้เกิดเป็นสีขาว จึง
เรียกระบบสีนี้ว่า แบบ Additive หรือการผสมสีแบบบวก
หลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์
RGB
CMYK
เป็นระบบสีที่ใช้กับเครื่องพิมพ์ที่พิมพ์ออกทางกระดาษหรือวัสดุผิวเรียกอื่นๆ ซึ่ง
ประกอบด้วยสีหลัก 4 สีคือ สีฟ้า (Cyan), สีม่วงแดง (Magenta), สีเหลือง (Yellow), และสี
ดา (Black) เมื่อนามาผสมกันจะเกิดสีเป็นสีดาแต่จะไม่ดาสนิทเนื่องจากหมึกพิมพ์มีความ
ไม่บริสุทธิ์ จึงเป็นการผสมสีแบบลบ (Subtractive) หลักการเกิดสีของระบบนี้คือ หมึกสี
หนึ่งจะดูดกลืนแสงจากสีหนึ่งแล้วสะท้อนกลับออกมาเป็นสีต่างๆเช่น สีฟ้าดูดกลืนแสง
ของสีม่วงแล้วสะท้อนออกมาเป็นสีน้าเงินซึ่งจะสังเกตได้ว่าสีที่สะท้อนออกมาจะเป็นสี
หลักของระบบ RGB การเกิดสีนี้ในระบบนี้จึงตรงข้ามกับการเกิดสีในระบบ RGB
HSB
เป็นระบบสีแบบการมองเห็นของสายตามนุษย์ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
Hue คือสีต่างๆ ที่สะท้อนออกมาจากวัตถุแล้วเข้าสู่สายตาของเรา ซึ่งมักเรียกสีตามชื่อ
สี เช่น สีเขียว สีแดง สีเหลือง เป็นต้น
Saturation คือความสดของสี โดยค่าความสดของสีจะเริ่มที่ 0 ถึง 100 ถ้ากาหนด
Saturation ที่ 0 สีจะมีความสดน้อย แต่ถ้ากาหนดที่ 100 สีจะมีความสดมาก
Brightness คือระดับความสว่างของสี โดยค่าความสว่างของสีจะเริ่มที่ 0 ถึง 100 ถ้า
กาหนดที่ 0 ความสว่างจะน้อยซึ่งจะเป็นสีดา แต่ถ้ากาหนดที่ 100 สีจะมีความสว่าง
มากที่สุด
LAB
เป็นระบบสีที่ไม่ขึ้นกับอุปกรณ์ใด ๆ (Device Independent)โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
“L” หรือ Luminance เป็นการกาหนดความสว่างซึ่งมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 100 ถ้ากาหนดที่ 0 จะกลายเป็นสี
ดา แต่ถ้ากาหนดที่ 100 จะกลายเป็นสีขาว
“A” เป็นค่าของสีที่ไล่จากสีเขียวไปสีแดง
“B” เป็นค่าของสีที่ไล่จากสีน้าเงินไปสีเหลือง
แฟ้มภาพกราฟิก Raster และคุณลักษณะของแฟ้มภาพกราฟิก
นามสกุลที่ใช้เก็บแฟ้มภาพกราฟิกแบบ Raster มีหลายนามสกุล เช่น .BMP
.DIB .JPG .JPEG .GIF .TIFF .TIF ,PCX .MSP ,PCD .PCT .FPX .IMG .MAC
.MSP และ .TGA เป็นต้น ซึ่งลักษณะของแฟ้มภาพจะแตกต่างกันออกไป
.JPG, .JPEG, .GIF
- ใช้สาหรับรูปภาพทั่วไป งานเว็บเพจ และงานที่มีความจากัดด้านพื้นที่
- โปรแกรมที่ใช้สร้างคือ Photoshop, PaintShopPro, Illustrator เป็นต้น
.TIF, .TIFF
- เหมาะสาหรับงานด้านนิตยสาร เพราะมีความละเอียดของภาพสูง
- โปรแกรมที่ใช้สร้างคือ Photoshop เป็นต้น
.BMP, .DIB
- เป็นไฟล์มาตรฐานของระบบปฏิบัติการวินโดวส์
- โปรแกรมที่ใช้สร้างคือ PaintShopPro, Paint
.PCX
- เป็นไฟล์ดั้งเดิมของโปรแกรมแก้ไขภาพแบบบิตแมป ไม่มีโมเดลเกรย์สเกล
ใช้กับภาพทั่วไป
- โปรแกรมที่ใช้สร้างคือ CorelDraw, Paintbrush, Illustrator เป็นต้น
แฟ้มภาพกราฟิก Raster และคุณลักษณะของแฟ้มภาพกราฟิก
แฟ้มภาพกราฟิกแบบ Vector และคุณลักษณะของแฟ้มภาพกราฟิก
นามสกุลที่ใช้เก็บแฟ้มภาพกราฟิกแบบ Vector มีหลายนามสกุล เช่น .EPS .WMF .CDR
.AI .CGM .DRW .PLT ,DXF .PIC และ .PGL เป็นต้น ซึ่งลักษณะของแฟ้มภาพจะ
แตกต่างกันออกไป
AI,.EP
S
- ใช้สาหรับงานที่ต้องการความละเอียดของภาพมาก
เช่น การสร้างการ์ตูน การสร้างโลโก้ เป็นต้น
- โปรแกรมที่ใช้สร้าง Illustrator
.WMF
- เป็นไฟล์มาตรฐานของโปรแกรม Microsoft Office
- โปรแกรมที่ใช้สร้างคือ CorelDraw
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกในงานด้านต่างๆ
1. การออกแบบ (CAD)
คอมพิวเตอร์กราฟิกได้ถูกนามาใช้ในการออกแบบมาเป็นเวลานาน ซึ่ง CAD
(Computer-Aided Design) เป็นโปรแกรมสาหรับช่วยในการออกแบบทาง
วิศวกรรม ซึ่งจะช่วยให้ผู้ออกแบบหรือวิศวกรออกแบบงานต่างๆได้สะดวก
ขึ้น คือ ผู้ออกแบบสามารถเขียนเป็นแบบลายเส้นแล้วลงสี แสงเงา เพื่อให้ดู
คล้ายกับของจริงได้นอกจากนี้แล้วเมื่อผู้ออกแบบกาหนดขนาดของวัตถุลงใน
ระบบ CAD แล้ว ผู้ออกแบบยังสามารถย่อหรือขยายภาพนั้นหรือต้องการ
หมุนภาพไปในมุมต่างๆได้ด้วย การแก้ไขแบบก็ทาได้ง่ายและสะดวกกว่าการ
ออกแบบบนกระดาษ
2. กราฟและแผนภาพ (Graph)
คอมพิวเตอร์กราฟิกถูกนามาใช้ในการแสดงภาพกราฟและแผนภาพของข้อมูลได้เป็น
อย่างดี โปรแกรมทางกราฟิกทั่วไปในท้องตลาดจะเป็นโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างภาพ
กราฟและแผนภาพ โปรแกรมเหล่านี้ยังสามารถสร้างกราฟได้หลายแบบ เช่น กราฟ
เส้น กราฟแท่ง และกราฟววงกลม นอกจากนี้ยังสามารถแสดงภาพกราฟได้ทั้งใน
รูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ทาให้ภสพที่ได้ดูดีและน่าสนใจ กราฟและแผนภาพทางธุรกิจ
เช่น กราฟหรือแผนภาพแสดงการเงิน สถิติ และข้อมูลทางเศรษฐกิจ จะเป็นประโยชน์
ต่อผู้บริหารหรือผู้จัดการกิจการมาก เนื่องจากสามารถทาความเข้าใจกับข้อมูลได้ง่าย
และรวดเร็วกว่าเดิม ในงานวิจัยต่างๆ เช่น การศึกษาทางฟิสิกส์ กราฟและแผนภาพมี
ส่งนช่วยให้นักวิจัยทาความเข้าใจกับข้อมูลได้ง่ายขึ้น เมื่อข้อมูลที่ต้องวิเคราะห์มีจานวน
มาก หรือ แม้แต่การแสดงโครงสร้างของอวัยวะของร่างกายในการศึกษาในวงการ
แพทย์ก็มีส่วนสาคัญในการวิเคราะห์วสาเหตุของการเจ็บป่วย
3. ภาพศิลป์ (Art)
การวาดภาพในปัจจุบันนี้ใครๆก็สามารถวาดได้แล้วโดยไม่ต้องใช้พู่กันกับจานสี แต่จะ
ใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกแทน ภาพที่วาดในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกนี้ เราสามารถ
กาหนดสี แสงเงา รูปแบบลายเส้นที่ต้องการได้โดยง่าย ภาพโฆษณาทางโทรทัศน์
หลายชิ้นก็เป็นงานจากการใช้คอมพิวเตอร์กราฟิก ข้อดีของการใช้คอมพิวเตอร์วาด
ภาพก็คือ เราสามารถแก้ไขเพิ่มเติมส่วนที่ต้องการได้ง่าย นอกจากนี้เรายังสามารถนา
ภาพต่างๆเก็บในระบบคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้เครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) แล้วนาภาพ
นั้นมาแก้ไข
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
peter dontoom
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
Nomjeab Nook
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1
krumolticha
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ดีโด้ ดีโด้
 
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Kanda Runapongsa Saikaew
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
sukanya5729
 
การคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็มการคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็ม
Jiraprapa Suwannajak
 
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
Hikaru Sai
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 

La actualidad más candente (20)

ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
 
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
ใบงานส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน 1.2 คำศัพท์เกี่ยวกับอุุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ใบงาน 1.2 คำศัพท์เกี่ยวกับอุุปกรณ์คอมพิวเตอร์ใบงาน 1.2 คำศัพท์เกี่ยวกับอุุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ใบงาน 1.2 คำศัพท์เกี่ยวกับอุุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์
 
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
 
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
การคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็มการคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็ม
 
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

Destacado

Type of graphic
Type of graphicType of graphic
Type of graphic
school
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
mathawee wattana
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
mathawee wattana
 
การสร้างApps
การสร้างAppsการสร้างApps
การสร้างApps
vorravan
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
jumjim2012
 
หลัการเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมVB6.0
หลัการเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมVB6.0หลัการเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมVB6.0
หลัการเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมVB6.0
sup11
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
vorravan
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
เทวัญ ภูพานทอง
 
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
พงศธร ภักดี
 

Destacado (20)

หน่วยที่ 3 การตกแต่งภาพด้วย layer
หน่วยที่ 3  การตกแต่งภาพด้วย layerหน่วยที่ 3  การตกแต่งภาพด้วย layer
หน่วยที่ 3 การตกแต่งภาพด้วย layer
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
คู่มือการประเมินและรับรองคุณภาพสถานศึกษา ด้านการอาชีวศึกษา ระดับภาคพื้นเอเชีย...
คู่มือการประเมินและรับรองคุณภาพสถานศึกษา ด้านการอาชีวศึกษา ระดับภาคพื้นเอเชีย...คู่มือการประเมินและรับรองคุณภาพสถานศึกษา ด้านการอาชีวศึกษา ระดับภาคพื้นเอเชีย...
คู่มือการประเมินและรับรองคุณภาพสถานศึกษา ด้านการอาชีวศึกษา ระดับภาคพื้นเอเชีย...
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
08+heap4+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 6 ประถม 4 6
08+heap4+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 6 ประถม 4 608+heap4+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 6 ประถม 4 6
08+heap4+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 6 ประถม 4 6
 
Type of graphic
Type of graphicType of graphic
Type of graphic
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_1
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_2
 
การสร้างApps
การสร้างAppsการสร้างApps
การสร้างApps
 
แบบทดสอบที่ 1 ชนิดของข้อมูล
แบบทดสอบที่ 1 ชนิดของข้อมูลแบบทดสอบที่ 1 ชนิดของข้อมูล
แบบทดสอบที่ 1 ชนิดของข้อมูล
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
หลัการเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมVB6.0
หลัการเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมVB6.0หลัการเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมVB6.0
หลัการเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมVB6.0
 
Multimedia 1
Multimedia 1Multimedia 1
Multimedia 1
 
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic 6.0
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมVisual Basic 6.0พื้นฐานการเขียนโปรแกรมVisual Basic 6.0
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic 6.0
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
 

Similar a บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก

Still image
Still imageStill image
Still image
jibbie23
 
คอมพิวเตอร์กราฟิก2
คอมพิวเตอร์กราฟิก2คอมพิวเตอร์กราฟิก2
คอมพิวเตอร์กราฟิก2
kroopoom ponritti
 
ประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิคประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิค
wattikorn_080
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
school
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
วาสนา ใจสุยะ
 
สื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิกสื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิก
vorravan
 
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
wichuda hokaew
 

Similar a บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก (20)

Still image
Still imageStill image
Still image
 
Graphic
GraphicGraphic
Graphic
 
1.1
1.11.1
1.1
 
Photoshop cs3
Photoshop cs3Photoshop cs3
Photoshop cs3
 
Photoshop
PhotoshopPhotoshop
Photoshop
 
คอมพิวเตอร์กราฟิก2
คอมพิวเตอร์กราฟิก2คอมพิวเตอร์กราฟิก2
คอมพิวเตอร์กราฟิก2
 
Graphic
GraphicGraphic
Graphic
 
1.6
1.61.6
1.6
 
ประเภท
ประเภทประเภท
ประเภท
 
ประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิคประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิค
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสี
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสีพื้นฐานการเลือกสีและรหัสสี
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสี
 
Rgb
RgbRgb
Rgb
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
 
EbookPictureFormat
EbookPictureFormatEbookPictureFormat
EbookPictureFormat
 
สื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิกสื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิก
 
1.3
1.31.3
1.3
 
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
 

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก

  • 2. แนวคิด คอมพิวเตอร์กราฟิก คือ การใช้คอมพิวเตอร์สร้างภาพและจัดการเกี่ยวกับ รูปภาพ เพื่อใช้สื่อความหมายของข้อมูลต่างๆ ให้น่าสนใจยิ่งขึ้น เช่น การใช้ กราฟนาเสนอข้อมูลยอดขายสินค้าในแต่ละปี การใช้ภาพกราฟิก ประกอบการโฆษณาสินค้าต่างๆ เป็นต้น ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ มี 2 แบบ คือแบบ Raster และแบบ Vector จะเกิดภาพจากจุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ หลายๆ จุดมารวมกัน ส่วนแบบ Vector เกิดจากการอ้างอิงความสัมพันธ์ ทางคณิตศาสตร์ หรือการคานวณ ซึ่งภาพกราฟิกแต่ละนามสกุลจะมีแฟ้ม รูปภาพและลักษณะที่แตกต่างกัน
  • 3. สาระสาคัญ 1. บทนา 2. ความหมายของกราฟิก 3. ความหมายของคอมพิวเตอร์กราฟิก 4. หลักการทางานและการแสดงผลของภาพคอมพิวเตอร์กราฟิก 5. หลักการของกราฟิกแบบ Raster 6. หลักการของกราฟิกแบบ Vector 7. ความแตกต่างของกราฟิกแบบ 2 มิติ 8. หลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์ 9. แฟ้มภาพกราฟิกแบบ Raster และคุณลักษณะของแฟ้มภาพกราฟิก 10. แฟ้มภาพกราฟิกแบบ Vector และคุณลักษณะของแฟ้มภาพกราฟิก 11. คอมพิวเตอร์กราฟิกกับการประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ
  • 4. ความหมายของกราฟิก กราฟิก มักเขียนผิดเป็น กราฟฟิกส์ กราฟฟิกส์ กราฟิก คา ว่า “กราฟิก” มาจากภาษา กรีก ซึ่งหมายถึง การวาดเขียน และการเขียน ต่อมามีผู้ให้ความหมายของคาว่า กราฟิก ไว้หลายประการซึ่งสรุปได้ดังนี้ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้สื่อความหมายด้วย เส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตุน ฯลฯ เพื่อให้ สามารถสื่อความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ
  • 5. ความหมายของคอมพิวเตอร์กราฟิก คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง การสร้าง การตกแต่งแก้ไข หรือการจัดการเกี่ยวกับรูปภาพโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ใน การจัดการ ภาพกราฟิกแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ 2. ภาพกราฟิกแบบ 3 มิติ
  • 6. หลักการทางานและการแสดงผลของภาพคอมพิวเตอร์กราฟิก ภาพที่เกิดบนจอคอมพิวเตอร์ เกิดจากการทางานของโหมดสี RGB ซึ่งประกอบด้วย สีแดง (Red) สีเขียว (Green) และสีน้าเงิน (Blue) โดยใช้ หลักยิงประจุไฟฟ้าให้เกิดการเปล่งแสงของสีทั้ง 3 สีมาผสมกัน ทาให้เกิด เป็นจุดสีสี่เหลี่ยมเล็กๆ ที่เรียกว่า พิกเซล (Pixel) ซึ่งมาจากคาว่า Picture กับ Element โดยพิกเซลจะมีหลากหลายสี เมื่อนามาวางต่อกันจะเกิดเป็น รูปภาพ ซึ่งภาพที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์มี2 ประเภท คือ แบบ Raster กับ Vector
  • 7. หลักการของกราฟิกแบบ Raster หลักการของภาพกราฟิกแบบ Raster หรือแบบ Bitmap เป็น ภาพกราฟิกที่เกิดจากการเรียงตัวกันของจุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ หลากหลายสี ซึ่งเรียก จุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ นี้ว่าพิกเซล (Pixel) ในการสร้างภาพกราฟิกแบบ Raster จะต้องกาหนดจานวนของพิกเซลให้กับภาพที่ต้องการสร้าง ถ้ากาหนดจานวน พิกเซลน้อย เมื่อขยายภาพให้มีขนาดใหญ่ขึ้นจะทาให้มองเห็นภาพเป็นจุดสี่เหลี่ยม เล็กๆ หรือถ้ากาหนดจานวนพิกเซลมากก็จะทาให้แฟ้มภาพมีขนาดใหญ่ ดังนั้น การกาหนดพิกเซลจึงควรกาหนดจานวนพิกเซลให้เหมาะกับงานที่สร้าง คือ ถ้า ต้องการใช้งานทั่วไป จะกาหนดจานวนพิกเซลประมาณ 100-150 ppi (Pixel/inch) “จานวนพิกเซลต่อ 1 ตารางนิ้ว” ถ้าเป็นงานที่ต้องการความละเอียด น้อยและแฟ้มภาพมีขนาดเล็ก เช่น ภาพสาหรับใช้กับเว็บไซต์จะกาหนดจานวน พิกเซลประมาณ 72 ppi และถ้าเป็นงานพิมพ์ เช่น นิตยสาร โปสเตอร์ขนาดใหญ่ จะกาหนดจานวนพิกเซลประมาณ 300-350 ppi เป็นต้น
  • 9. หลักการของกราฟิกแบบ Vector หลักการของกราฟิกแบบ Vector เป็นภาพกราฟิกที่เกิดจากการอ้างอิง ความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ หรือการคานวณซึ่งภาพจะมีความเป็นอิสระต่อกัน โดยแยกชิ้นส่วนของภาพทั้งหมดออกเป็นเส้นตรง เส้นโค้ง รูปทรง เมื่อมีการขยาย ภาพความละเอียดของภาพจะไม่ลดลง แฟ้มจะมีขนาดเล็กกว่าแบบ Raster ภาพกราฟิกแบบ Vector นิยมใช้เพื่องานสถาปัตย์ตกแต่งภายใน และการ ออกแบบต่างๆ เช่น การออกแบบอาคาร การออกแบบรถยนต์ การสร้างโลโก้ การ สร้างการ์ตูน เป็นต้น
  • 11. ความแตกต่างของกราฟิกแบบ 2 มิติภาพกราฟิกแบบ Raster ภาพกราฟิกแบบ Vector 1. ภาพกราฟิกเกิดจากจุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ หลากหลายสี (Pixel) มาเรียงต่อกันจน กลายเป็นรูปภาพ 1. ภาพเกิดจากการอ้างอิงความสัมพันธ์ทาง คณิตศาสตร์หรือการคานวณ โดย องค์ประกอบของภาพมีอิสระต่อกัน 2. การขยายภาพกราฟิกให้มีขนาดใหญ่ขึ้นจะทา ให้ความละเอียดของภาพลดลง ทาให้ มองเห็นภาพเป็นจุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ 2. การขยายภาพกราฟิกให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ภาพ ยังคงความละเอียดคมชัดเหมือนเดิม 3. การตกแต่งและแก้ไขภาพ สามารถทาได้ง่าย และสวยงาม เช่น การ Retouching ภาพคนแก่ ให้หนุ่มขึ้น การปรับสีผิวกายให้ขาวเนียนขึ้น เป็นต้น 3. เหมาะกับงานออกแบบต่างๆ เช่น งานสถาปัตย์ ออกแบบโลโก เป็นต้น 4. การประมวลผลภาพสามารถทาได้รวดเร็ว 4. การประมวลผลภาพจะใช้เวลานานเนื่องจากใช้ คาสั่งในการทางานมาก
  • 12. หลักการใช้สีและแสงในคอมพิวเตอร์ สีที่ใช้ในงานด้านกราฟิกทั่วไปมี 4 ระบบ คือ 1. RGB 2. CMYK 3. HSB 4. LAB RGB เป็นระบบสีที่ประกอบด้วยแม่สี 3 สีคือ แดง (Red),เขียว (Green) และสีน้าเงิน (Blue) เมื่อนามาผสมกัน ทาให้เกิดสีต่างๆ บนจอคอมพิวเตอร์มากถึง 16.7 ล้านสี ซึ่งใกล้เคียงกับสีที่ตาเรามองเห็นปกติ สีที่ได้จาก การผสมสีขึ้นอยู่กับความเข้มของสี โดยถ้าสีมีความเข้มข้นมาก เมื่อนามาผสมกันจะทาให้เกิดเป็นสีขาว จึง เรียกระบบสีนี้ว่า แบบ Additive หรือการผสมสีแบบบวก
  • 14. CMYK เป็นระบบสีที่ใช้กับเครื่องพิมพ์ที่พิมพ์ออกทางกระดาษหรือวัสดุผิวเรียกอื่นๆ ซึ่ง ประกอบด้วยสีหลัก 4 สีคือ สีฟ้า (Cyan), สีม่วงแดง (Magenta), สีเหลือง (Yellow), และสี ดา (Black) เมื่อนามาผสมกันจะเกิดสีเป็นสีดาแต่จะไม่ดาสนิทเนื่องจากหมึกพิมพ์มีความ ไม่บริสุทธิ์ จึงเป็นการผสมสีแบบลบ (Subtractive) หลักการเกิดสีของระบบนี้คือ หมึกสี หนึ่งจะดูดกลืนแสงจากสีหนึ่งแล้วสะท้อนกลับออกมาเป็นสีต่างๆเช่น สีฟ้าดูดกลืนแสง ของสีม่วงแล้วสะท้อนออกมาเป็นสีน้าเงินซึ่งจะสังเกตได้ว่าสีที่สะท้อนออกมาจะเป็นสี หลักของระบบ RGB การเกิดสีนี้ในระบบนี้จึงตรงข้ามกับการเกิดสีในระบบ RGB
  • 15. HSB เป็นระบบสีแบบการมองเห็นของสายตามนุษย์ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ Hue คือสีต่างๆ ที่สะท้อนออกมาจากวัตถุแล้วเข้าสู่สายตาของเรา ซึ่งมักเรียกสีตามชื่อ สี เช่น สีเขียว สีแดง สีเหลือง เป็นต้น Saturation คือความสดของสี โดยค่าความสดของสีจะเริ่มที่ 0 ถึง 100 ถ้ากาหนด Saturation ที่ 0 สีจะมีความสดน้อย แต่ถ้ากาหนดที่ 100 สีจะมีความสดมาก Brightness คือระดับความสว่างของสี โดยค่าความสว่างของสีจะเริ่มที่ 0 ถึง 100 ถ้า กาหนดที่ 0 ความสว่างจะน้อยซึ่งจะเป็นสีดา แต่ถ้ากาหนดที่ 100 สีจะมีความสว่าง มากที่สุด
  • 16. LAB เป็นระบบสีที่ไม่ขึ้นกับอุปกรณ์ใด ๆ (Device Independent)โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ “L” หรือ Luminance เป็นการกาหนดความสว่างซึ่งมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 100 ถ้ากาหนดที่ 0 จะกลายเป็นสี ดา แต่ถ้ากาหนดที่ 100 จะกลายเป็นสีขาว “A” เป็นค่าของสีที่ไล่จากสีเขียวไปสีแดง “B” เป็นค่าของสีที่ไล่จากสีน้าเงินไปสีเหลือง
  • 17. แฟ้มภาพกราฟิก Raster และคุณลักษณะของแฟ้มภาพกราฟิก นามสกุลที่ใช้เก็บแฟ้มภาพกราฟิกแบบ Raster มีหลายนามสกุล เช่น .BMP .DIB .JPG .JPEG .GIF .TIFF .TIF ,PCX .MSP ,PCD .PCT .FPX .IMG .MAC .MSP และ .TGA เป็นต้น ซึ่งลักษณะของแฟ้มภาพจะแตกต่างกันออกไป
  • 18. .JPG, .JPEG, .GIF - ใช้สาหรับรูปภาพทั่วไป งานเว็บเพจ และงานที่มีความจากัดด้านพื้นที่ - โปรแกรมที่ใช้สร้างคือ Photoshop, PaintShopPro, Illustrator เป็นต้น .TIF, .TIFF - เหมาะสาหรับงานด้านนิตยสาร เพราะมีความละเอียดของภาพสูง - โปรแกรมที่ใช้สร้างคือ Photoshop เป็นต้น .BMP, .DIB - เป็นไฟล์มาตรฐานของระบบปฏิบัติการวินโดวส์ - โปรแกรมที่ใช้สร้างคือ PaintShopPro, Paint .PCX - เป็นไฟล์ดั้งเดิมของโปรแกรมแก้ไขภาพแบบบิตแมป ไม่มีโมเดลเกรย์สเกล ใช้กับภาพทั่วไป - โปรแกรมที่ใช้สร้างคือ CorelDraw, Paintbrush, Illustrator เป็นต้น แฟ้มภาพกราฟิก Raster และคุณลักษณะของแฟ้มภาพกราฟิก
  • 19. แฟ้มภาพกราฟิกแบบ Vector และคุณลักษณะของแฟ้มภาพกราฟิก นามสกุลที่ใช้เก็บแฟ้มภาพกราฟิกแบบ Vector มีหลายนามสกุล เช่น .EPS .WMF .CDR .AI .CGM .DRW .PLT ,DXF .PIC และ .PGL เป็นต้น ซึ่งลักษณะของแฟ้มภาพจะ แตกต่างกันออกไป AI,.EP S - ใช้สาหรับงานที่ต้องการความละเอียดของภาพมาก เช่น การสร้างการ์ตูน การสร้างโลโก้ เป็นต้น - โปรแกรมที่ใช้สร้าง Illustrator .WMF - เป็นไฟล์มาตรฐานของโปรแกรม Microsoft Office - โปรแกรมที่ใช้สร้างคือ CorelDraw
  • 20. การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกในงานด้านต่างๆ 1. การออกแบบ (CAD) คอมพิวเตอร์กราฟิกได้ถูกนามาใช้ในการออกแบบมาเป็นเวลานาน ซึ่ง CAD (Computer-Aided Design) เป็นโปรแกรมสาหรับช่วยในการออกแบบทาง วิศวกรรม ซึ่งจะช่วยให้ผู้ออกแบบหรือวิศวกรออกแบบงานต่างๆได้สะดวก ขึ้น คือ ผู้ออกแบบสามารถเขียนเป็นแบบลายเส้นแล้วลงสี แสงเงา เพื่อให้ดู คล้ายกับของจริงได้นอกจากนี้แล้วเมื่อผู้ออกแบบกาหนดขนาดของวัตถุลงใน ระบบ CAD แล้ว ผู้ออกแบบยังสามารถย่อหรือขยายภาพนั้นหรือต้องการ หมุนภาพไปในมุมต่างๆได้ด้วย การแก้ไขแบบก็ทาได้ง่ายและสะดวกกว่าการ ออกแบบบนกระดาษ
  • 21. 2. กราฟและแผนภาพ (Graph) คอมพิวเตอร์กราฟิกถูกนามาใช้ในการแสดงภาพกราฟและแผนภาพของข้อมูลได้เป็น อย่างดี โปรแกรมทางกราฟิกทั่วไปในท้องตลาดจะเป็นโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างภาพ กราฟและแผนภาพ โปรแกรมเหล่านี้ยังสามารถสร้างกราฟได้หลายแบบ เช่น กราฟ เส้น กราฟแท่ง และกราฟววงกลม นอกจากนี้ยังสามารถแสดงภาพกราฟได้ทั้งใน รูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ทาให้ภสพที่ได้ดูดีและน่าสนใจ กราฟและแผนภาพทางธุรกิจ เช่น กราฟหรือแผนภาพแสดงการเงิน สถิติ และข้อมูลทางเศรษฐกิจ จะเป็นประโยชน์ ต่อผู้บริหารหรือผู้จัดการกิจการมาก เนื่องจากสามารถทาความเข้าใจกับข้อมูลได้ง่าย และรวดเร็วกว่าเดิม ในงานวิจัยต่างๆ เช่น การศึกษาทางฟิสิกส์ กราฟและแผนภาพมี ส่งนช่วยให้นักวิจัยทาความเข้าใจกับข้อมูลได้ง่ายขึ้น เมื่อข้อมูลที่ต้องวิเคราะห์มีจานวน มาก หรือ แม้แต่การแสดงโครงสร้างของอวัยวะของร่างกายในการศึกษาในวงการ แพทย์ก็มีส่วนสาคัญในการวิเคราะห์วสาเหตุของการเจ็บป่วย
  • 22. 3. ภาพศิลป์ (Art) การวาดภาพในปัจจุบันนี้ใครๆก็สามารถวาดได้แล้วโดยไม่ต้องใช้พู่กันกับจานสี แต่จะ ใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกแทน ภาพที่วาดในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกนี้ เราสามารถ กาหนดสี แสงเงา รูปแบบลายเส้นที่ต้องการได้โดยง่าย ภาพโฆษณาทางโทรทัศน์ หลายชิ้นก็เป็นงานจากการใช้คอมพิวเตอร์กราฟิก ข้อดีของการใช้คอมพิวเตอร์วาด ภาพก็คือ เราสามารถแก้ไขเพิ่มเติมส่วนที่ต้องการได้ง่าย นอกจากนี้เรายังสามารถนา ภาพต่างๆเก็บในระบบคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้เครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) แล้วนาภาพ นั้นมาแก้ไข