SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 14
Descargar para leer sin conexión
ข้อเสนอนโยบายข้อเสนอนโยบาย
““One Belt, One RoadOne Belt, One Road”” ของจีนของจีน
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ท่านทูตสมปอง สงวนบรรพ์
นายชัยรัตน์ พรทิพย์วรเวทย์
นาวาเอกวชิรพร วงศ์นวครสว่าง
นายนพพร เทพสิทธรา
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
1
ข้อเสนอนโยบายข้อเสนอนโยบายข้อเสนอนโยบาย “One Belt, One Road”“One Belt, One Road”“One Belt, One Road” ของจีนของจีนของจีน
บทนา
ในปัจจุบันประเทศจีนมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
ภายในประเทศอย่างต่อเนื่อง หากพิจารณาบริบทพัฒนาการด้านประวัติศาสตร์ของประเทศจีนในแต่ละยุค
สมัยของผู้นา ซึ่งการพัฒนาประเทศในแต่ละช่วงจะให้ความสาคัญที่แตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับนโยบาย
ทางการเมืองและนโยบายเศรษฐกิจ ซึ่งรูปแบบนโยบายการปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนมีลักษณะพิเศษและ
เป็นรูปแบบเฉพาะของประเทศจีนหรือเรียกว่า “โมเดลจีน” (China Model) สี จิ้นผิง ผู้นาของประเทศจีน
ในปัจจุบัน ได้นาเสนอสโลแกน “China Dream” มาเป็นศูนย์กลางในการขับเคลื่อนประชาชนและสังคม
จีนในปัจจุบันให้มุ่งไปข้างหน้าและสร้างแรงผลักดันให้มีการพัฒนาและปรับปรุงและเปลี่ยนแปลง
อย่างต่อเนื่อง ซึ่งการดาเนินนโยบายในยุคปัจจุบันเป็นการนาเอานโยบายที่โดดเด่นในแต่ละช่วงมาปรับใช้
ทั้งในการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศและสนับสนุนในประเทศจีนมีบทบาทในเวทีระดับโลกมากขึ้น
ประกอบกับเส้นทางสายไหมของจีนเป็นที่โด่งดังรับรู้กันอยู่แล้วว่าเป็นเส้นทางการค้าระหว่างประเทศ
สายสาคัญในสมัยโบราณ ปัจจุบันเส้นทางดังกล่าวกาลังถูกรื้อฟื้นขึ้นมาอีกครั้งภายใต้การขับเคลื่อนของ
รัฐบาลจีนยุคสีจิ้นผิง ภายใต้ข้อเสนอ “นโยบายOne belt, One road (หนึ่งแถบหนึ่งทาง)”
โดยแยกออกเป็น 2 เส้นทาง คือ เส้นทางสายไหมทางบกกับเส้นทางสายไหมทางทะเล
1. เส้นทางสายไหมทางบกและทางทะเลในศตวรรษที่ 21
แนวคิดเส้นทางสายไหมใหม่ “One Belt One Road” หรือ “หนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง” เป็นโครงการ
ของรัฐบาลจีนเพื่อสร้างความเชื่อมโยง (connectivity) และสร้างความร่วมมือ (cooperation) โดยเฉพาะ
ทางการค้าระหว่างจีนกับนานาประเทศในเอเชีย ตะวันออกกลาง และยุโรป เส้นทางสายไหมใหม่เป็น
เสมือนห่วงโซ่คล้องความสัมพันธ์ในทางด้านเศรษฐกิจเป็นหลักซึ่งประเทศจีนไม่ได้มีจุดมุ่งหมายที่
จะล่าอาณานิคม ทั้งนี้โครงการนี้ยังครอบคลุมถึงมิติด้านวัฒนธรรมในการยอมรับความแตกต่างของสังคม
โลก โดยประเทศจีนได้เชิญนานาประเทศเข้าร่วม รวมถึงองค์กรระหว่างประเทศองค์กรพัฒนาเอกชนและ
บริษัทข้ามชาติ โดยทางรัฐบาลจีนได้เน้นย้าว่าข้อเสนอนโยบายหนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง(One belt, One
Road) เป็นสถานการณ์ที่ทุกฝ่ายได้ประโยชน์ (win-win Situation) ไม่ได้มีลักษณะฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้
ประโยชน์ (Zero-sum game)
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวที Think Tank ครั้งที่ 8 เรื่อง “นโยบาย One Belt, One Road ของจีน ” จัดโดยโครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์
ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันพุธ ที่ 8 ก.ค. 2558 เวลา 13:00 – 17:00 น. ณ ห้องวิเทศสโมสรส่วนที่2
กระทรวงการต่างประเทศ ภายใต้การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.)
2
ข้อเสนอนโยบายหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (One Belt, One Road) ประกอบด้วยหนึ่งแถบ คือ
1) สายไหมทางบกหรือแถบเศรษฐกิจเส้นทางสายไหม (the Silk Road Economic Belt) โดย
เชื่อมโยงจีนทั้งทางทิศเหนือและทิศใต้กับเอเชียกลาง เอเชียตะวันออกลาง เอเชียใต้ และทวีปยุโรป
2)เส้นทางสายไหมทางทะเล ศตวรรษที่21 (the 21st Century Maritime Silk Road) ดัดแปลงมา
จากเส้นทางสายไหมในยุคเจิ้งเหอซึ่งเป็นเส้นทางการค้าทางทะเลของจีนในอดีตโดยให้สอดคล้องกับ
สภาพแสดล้อมในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเส้นทางสายไหมทางทะเลได้เชื่อมโยงจีนกับเอเชียตะวันออกเฉียง
ใต้ ประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และแอฟริกาเหนือ เส้นทางสายไหมทั้งทางบกและทางทะเลมี
แผนปฏิบัติการว่าด้วยแนวคิดการร่วมสร้างเศรษฐกิจบนเส้นทางสายไหมทางบกและทางทะเล
ซึ่งประเทศจีนได้มอบหมายให้กระทรวงหลักๆ 3 กระทรวงทาหน้าที่หลักในการดูแลโครงการตาม
เส้นทางสายไหมพาดผ่าน 6 เส้นทาง คือ
รูปที่1 : แสดงเส้นทางสายไหมทางบกและทางทะเลในศตวรรษที่21
ที่มา : นายชัยรัตน์ พรทิพย์วรเวทย์ ผู้อานวยการกองเอเชียตะวันออก กรมเอเชียตะวันออก กระทรวงการต่างประเทศ
 เส้นทางแรก เป็นเส้นทางเชื่อมระหว่างประเทศจีน ประเทศมองโกเลีย และประเทศรัสเซีย
 เส้นทางที่สอง เป็นเส้นทางเชื่อมระหว่างทวีปเอเชียและทวีปยุโรป
 เส้นทางที่สาม เป็นเส้นทางที่เชื่อมจากประเทศจีนกับประเทศในเอเชียกลางและประเทศใน
เอเชียตะวันออก
 เส้นทางที่สี่ เป็นเส้นทางทะเลที่เชื่อมต่อประเทศจีนกับประเทศในภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้
 เส้นทางที่ห้า เป็นเขตระเบียงเศรษฐกิจของจีน และมีแผนการการสร้างท่าเรือที่สาคัญ

โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
3
นอกจากนี้นโยบายหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (One belt, One road) แบ่งภารกิจที่เกี่ยวข้อง
เป็น 4 ระดับ
(1) Physical level : การทาเร่งสร้างพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่ต่างๆที่เส้นทางพาดผ่าน
(2) Institutional level : การเชื่อมโยง การขจัดอุปสรรคทางการค้า การอานวยความสะดวกเพื่อ
การพัฒนา การลดค่าใช้จ่ายในการทาโครงการต่างๆ
(3) Financial level: การลงมือทาด้วยการหาทุน และความร่วมมือทางการเงิน ได้แก่ ธนาคาร
เพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานในเอเชีย หรือ AIIB
(4) Mental level : สร้างความไว้วางใจในทุกระดับ และส่งเสริมการสร้างการแลกเปลี่ยนระหว่าง
วัฒนธรรม ระหว่างประชาชน
2. ภาพรวมอานาจของประเทศจีนในปัจจุบัน
ประเทศจีนมีประชากรประมาณ 1,350 ล้านคน และเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศเติบโตอย่าง
ต่อเนื่องประมาณร้อยละ 8 เป็นเวลา 2 ทศวรรษ ประกอบกับจีนเป็นมหาอานาจนิวเคลียร์ของโลกและมี
กาลังทหารประจาการ 2.3 ล้านคน ซึ่งทาให้จีนมีขนาดกองทัพใหญ่เป็นอันดับ 1 ของโลกส่งผลให้จีน
เป็นมหาอานาจของโลกในด้านต่างๆ ดังนี้
2.1 อิทธิพลทางเศรษฐกิจของจีนทางทะเล
จีนเป็นประเทศที่มีลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่มีทะเลด้านเดียว ซึ่งทาให้ทางด้านทิศตะวันตก
ของประเทศไม่มีทางออกทะเล โดยจีนมีประเทศพันธมิตรที่สาคัญคือ ประเทศไทย พม่า บังคลาเทศ และ
ปากีสถาน ซึ่งตั้งอยู่บริเวณทะเลจีนตะวันออกและทะเลจีนใต้โดยพื้นที่บริเวณดังกล่าวมีความสาคัญ
ด้านยุทธศาสตร์และเศรษฐกิจต่อประเทศจีน
นาวาเอกวิรพร วงศ์นครสว่าง ผู้อานวยการกองวิชาความมั่นคงและวิชาพิเศษ ฝ่ายวิชาการ
กรมยุทธศึกษาทหารเรือ ได้แสดงความคิดเห็นต่อลักษณะทางภูมิศาสตร์ทางทะเลของประเทศจีนซึ่งมี
ความสาคัญทางเศรษฐกิจว่า “ประเทศจีนต้องรักษาการคมนาคมทางทะเลไว้ โดยเฉพาะเส้นทางการ
เดินเรือผ่านช่องแคบที่สาคัญ ได้แก่ ช่องแคบมะละกา ช่องงแคบฮอร์มุช ช่องแคบบับเอลมันเดบ
ซึ่งเส้นทางคมนาคมทางทะเลดังกล่าวทางทหารเรือเรียกว่า Sea Lines of Communication : SLOC”
ประกอบกับประเทศจีนต้องมีเมืองท่าที่เป็นพันธมิตรที่สาคัญคือเมืองท่า Chittigong
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
4
ในประเทศบังคลาเทศเมืองท่า Hambantota ในประเทศศรีลังกา และ เมืองท่า Gwadar ในประเทศ
ปากีสถาน ซึ่งจะเป็นท่าเรือที่ยิ่งใหญ่ของโลก การที่ประเทศจีนต้องรักษาเส้นทางทะเลดังกล่าวเพราะ
เป็นเส้นทางในการลาเลียงน้ามันดิบเพื่อเข้าสู่ประเทศทางชายฝั่งตะวันออก
2.2 อิทธิพลทางการทหารของจีน
การที่ประเทศจีนจะต้องรักษาฐานทัพเรือในมหาสมุทรอินเดียและทะเลจีนใต้ โดยการใช้
ท่าเรือและสิ่งอานวยความสะดวกในประเทศพันธมิตร หากประเทศจีนถูกขัดขวางเส้นทางคมนาคม
ทางทะเล เพื่อที่จะสามารถลาเลียงยุทธปัจจัยที่สาคัญได้แก่น้ามันเข้าสู่แผ่นดินใหญ่จีนทางบก ซึ่งจีน
ได้อ้างการรักษาความมั่นคงในพื้นที่ดังกล่าว ซึ่งนักวิชาการตะวันตกเรียกว่า "ยุทธศาสตร์สร้อย
ไข่มุก" (String of Pearls) แต่อย่างไรก็ตามอิทธิพลของจีนในเขตน่านน้าในทะเลได้เกิดข้อโต้แย้ง
ประกอบกับจีนได้ประกาศอาณาเขตทางทะเลในทะเลจีนและอ้างอานาจอธิปไตยด้วยเส้นประเก้าเส้น
(China's nine dash line) ซึ่งทาให้เกิดพื้นที่ซับซ้อนระหว่าง จีน ฟิลิปปินส์ เวียดนาม บรูไน
มาเลเซีย
2.3 อิทธิพลในเวทีระดับถูมิภาคของจีน
ประเทศจีนได้ร่วมมือกับประเทศกลุ่มที่มีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูง เรียกว่า
“กลุ่มประเทศBRICS” ซึ่งเป็นกลุ่มประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว
ได้แก่ บราซิล (Brazil) รัสเซีย (Russia) อินเดีย (India) จีน(China) และแอฟริกาใต้(South Africa)
จึงทาให้จีนกลายเป็นประเทศที่บทบาทนาในด้านเศรษฐกิจในภูมิภาค ข้อเสนอOne belt, One road
แสดงให้เห็นว่าจีนใช้เป็น Soft Power (อานาจอ่อน) เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ในเชิงบวกให้กับ
ประเทศจีนในด้านเศรษฐกิจและด้านการทูต ประกอบกับอีกทั้งเห็นว่าประเทศจีนมีอานาจต่อกลุ่ม
ประเทศในอาเซียนมี โดยจะร่วมกันสร้างยุทธศาสตร์เส้นทางสายไหมทางทะเลที่ครอบคลุม
2 มหาสมุทร ทั้งทางบกและทางทะเล ตั้งแต่ภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกกลาง และยุโรป
3. โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานตามข้อเสนอนโยบาย Onebelt,Oneroad
ตามแผนการที่จีนวางไว้สาหรับการพัฒนาหรือก่อสร้างเส้นทางเชื่อมโยงจากต่างประเทศใน
บริเวณแถบและเส้นทางของโครงการโดยจะมีการร่วมกันจัดตั้งกองทุนการเงินเส้นทางสายไหมผ่าน
รูปแบบ ธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเอเชีย (AIIB) และการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานด้าน
คมนาคมผ่านโครงการรถไฟความเร็วสูง
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
3.1 ธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานในเอเชีย (Asia Infrastructure
Investment Bank: AIIB)
การจัดตั้งธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานในเอเชีย (AIIB) เป็นแนวคิดของประเทศ
จีนที่มีความต้องการให้ความช่วยเหลือประเทศสมาชิกในการลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานใน
ด้านต่างๆ อาทิ โครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงาน คมนาคม และสื่อสารโทรคมนาคม เป็นต้น โดยจะ
เป็นแหล่งเงินทุนอีกทางเลือกหนึ่งของไทยและประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียที่ยังมีความต้องการ
เงินลงทุนในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสูงมาก ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญต่อการขยายตัวและการพัฒนา
เศรษฐกิจอย่างยั่งยืน รวมทั้งจะมีส่วนสาคัญในการผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้านการค้า
และการลงทุนของภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้คือหนึ่งในเขตสาคัญของเส้นทางสายไหม
ทางทะเล ซึ่งจีนพร้อมที่จะเพิ่มความร่วมมือทางทะเลกับกลุ่มประเทศอาเซียน โดยการตั้งกองทุน
ความร่วมมือทางทะเล(China-ASEAN Maritime Cooperation Fund)
แต่อย่างไรก็ตามข้อเสนอเรื่องธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานในเอเชียมีข้อโต้แย้ง
กล่าวคือจะกลายมาเป็นธนาคารภูมิภาคแห่งใหม่เทียบเท่ากับธนาคารพัฒนาแห่งเอเชีย (Asian
Development Bank: ADB) ที่ริเริ่มโดยญี่ปุ่น โดยที่การจัดตั้ง AIIB ของจีนนั้นมีนัยสาคัญใน
ประเด็นการเมืองระหว่างประเทศ และระบบการเงินของโลก เป็นที่ทราบกันดีว่าสถาบันการเงิน
ระดับโลก อาทิ ธนาคารโลก (World Bank) และ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF)
มีประเทศตะวันตกที่เป็นประเทศพัฒนาแล้ว โดยเฉพาะสหรัฐฯ มีบทบาทและอิทธิพลสูงมากใน
สถาบันการเงินดังกล่าว หรือแม้กระทั่ง Asian Development Bank (ADB) ก็มีญี่ปุ่นเป็นประเทศที่
ริเริ่ม จะเห็นได้ว่าจีนมีความพยายามในการที่จะยกระดับสถานะและบทบาทของตนในเวทีระหว่าง
ประเทศ ทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการเงิน
5โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
6
3.2 การก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงเพื่อเชื่อต่อภูมิภาค (Asian High Speed Train Network)
รูปที่2 : แสดงแผนภาพโครงการเชื่อมต่อภูมิภาคโดยการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง
จีนมีโครงการในการเชื่อมเส้นทางรถไฟจากเมืองคุนหมิงโดยมีปลายทางคือประเทศสิงคโปร์
ซึ่งจะผ่านประเทศไทยโดยมีโครงการที่จะเข้ามาลงทุนในจังหวัดเชียงรายซึ่งจะใช้เป็นจุดเชื่อมต่อ
โดยจะแยกสายรถไฟอีกด้านหนึ่งของประเทศมาสู่แหลมฉบังและในอนาคตจะก่อสร้างจนถึงประเทศ
สิงคโปร์ ซึ่งเส้นทางรถไฟความเร็วสูงนั้นจะเชื่อมโยงกับระเบียงเศรษฐกิจของประเทศจีน คือ แนวมะ
ละแหม่ง (Mawlamyine) ที่เมืองดานัง ประเทศเวียดนาม และจะเชื่อมต่อผ่านเส้นทางถนนกับ
เมืองทวายซึ่งในด้านประเทศไทยได้มีแผนการรับรองเขตเศรษฐกิจที่สี่แยกอินโดจีน จังหวัดพิษณุโลก
เพื่อเพิ่มศักยภาพความสามารถในการขนส่งและโลจิสติกส์
4. มุมมองของนานาประเทศต่อข้อเสนอนโยบาย One belt, One Road
ประเทศจีนได้จัดการประชุมเสวนา “One Belt and One Road and a Win-Win Asia
ครั้งที่ 5” โดยมี นายสมปอง สงวนบรรพ์ คณบดีสถานบันการทูตและการต่างประเทศ
มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการประชุม ซึ่งการเสวนาในครั้งนี้เป็นความคิด
ริเริ่มจากทางรัฐบาลจีนร่วมกับสถาบัน Chinese Academy Social and Science โดยได้เชิญ
นักวิชาการจาก 13 ประเทศเข้าร่วม ประกอบด้วย รัสเซีย อิหร่าน อุซเบกิสถาน คาซัคสถาน
อินโดนีเซีย ไทย เวียดนาม พม่า เกาหลี ญี่ปุ่น อินเดีย ปากีสถาน พม่า ซึ่งประเทศดังกล่าวเป็น
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประเทศที่มีเส้นทางสายไหมพาดผ่าน โดยการประชุมได้กล่าวเน้นย้าถึงข้อเสนอของนโยบายเป็น
การเน้นเรื่องเศรษฐกิจไม่ใช่แบบฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ (zero-sum game) แต่เป็นแบบ
สถานการณ์ที่ทุกฝ่ายได้ประโยชน์ (win-win situation) ซึ่งในการประชุมตัวแทนจากประเทศต่างๆ
ได้เสนอความคิดเห็นทั้งที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศที่ได้รับและบางประเทศได้ตั้งข้อสงวนที่มีต่อ
นโยบายหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (One belt, One road) ดังต่อไปนี้
4.1 กลุ่มประเทศมหาอานาจ
นักวิชาการจากรัสเซีย มีมุมมองว่าข้อเสนอนี้เป็นนโยบายมุ่งตะวันตกของจีน ในทางด้าน
เศรษฐกิจประเทศจีนต้องการให้มีโครงสร้างพื้นฐานการขนส่งระหว่างประเทศ และการประสาน
ความร่วมมือข้อเสนอ กับ Eurasia Economic Union (รัสเซีย คาซัคสถาน เบลารุส ยูเครน)
อย่างไรก็ตามรัสเซียความกังวลเกี่ยวกับประเด็นช่องว่างของรายได้ประชาชาติระหว่างจีนกับ
รัสเซียที่มีสูงถึงในอัตรา 5 ต่อ 1 นอกจากนี้ถึงแม้ไม่มีประเด็นด้านการทหารเส้นทางที่ผ่านยูเครน
อาจมีปัญหาในข้อเสนอนี้ และเป็นข้อเสนอที่ยิ่งใหญ่มากในประวัติศาสตร์แต่เชื่อว่าในที่สุดจะต้องมี
สหรัฐฯเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
4.2 กลุ่มประเทศในเอเชียกลาง
นักวิชาการจากคาซัคสถาน ได้แสดงความเห็นในประเด็นที่ประเทศคาซัคสถานซึ่งมี
พรมแดนติดกับจีนจึงทาให้ข้อเสนอ One Belt, One Road มีความสาคัญต่อประเทศคาซัคสถาน
และชี้ให้เห็นว่าโครงการของจีนจะเป็นการช่วยสร้างเศรษฐกิจที่ไม่ใช่แค่จากทรัพยากรธรรมชาติ
แต่เป็นการสร้างความหลากหลายทางด้านอุตสาหกรรมในสาขาต่างๆ เพราะฉะนั้นเส้นทางนี้ทาให้
คาซัคสถานพัฒนาเศรษฐกิจให้เป็นไปตามเป้าหมาย
นักวิชาการจากอุซเบคกิสถาน โดย Bakhodir Pasilov จากสถาบัน Academy of Sci-
ences of Uzbekistan ได้แสดงท่าทีโดยยินดีที่จะเข้าร่วมในข้อเสนอของจีน ซึ่งทางรัฐบาลพร้อมให้
ความร่วมมือในการขยายความร่วมมือโดยเฉพาะในด้านพลังงานในการวางท่อแก๊ส และยังเชื่อมั่น
ว่าข้อเสนอของจีนจะมีส่วนช่วยสร้างเสถียรภาพในโลก
นักวิชาการจากประเทศอิหร่าน โดย Afsaneh Ahadi จากกระทรวงการต่างประเทศของ
อิหร่านได้แสดงความคิดเห็นต่อข้อเสนอนี้ว่าอิหร่านเคยมีบทบาทสาคัญในเส้นทางสายไหมในอดีต
7โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ซึ่งพร้อมที่จะมีบทบาททางและให้ความร่วมมือด้านความมั่นคง ด้านพลังงานและด้านการขนส่ง
อย่างไรก็ตามได้แสดงท่าทีกังวลในประเด็นด้านความมั่นคงเพราะทางการจีนไม่ได้หารือกับรัฐบาล
อิหร่านจึงได้เสนอแนะให้จัดทาข้อตกลงด้านความมั่นคง (security arrangements) ของทั้งสองประเทศ
4.4 กลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกและเอเชียใต้
นักวิชาการจากเกาหลีใต้ โดย In-kook PARK ประธานสถาบัน Korea Foundation for Ad-
vanced Studies (KFAS) ประเทศเกาหลีใต้ไม่ได้เข้าร่วมได้โครงการนี้ แต่เกาหลีใต้ให้ความเห็นใน
แง่บวกต่อเรื่องนี้ ซึ่งข้อเสนอหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (One Belt, One Road) ซึ่งสอดคล้องกับนโยบาย
Eurasia Initiative ของเกาหลีใต้โดยต่างมีเป้าหมายสอดคล้องในการแก้ปัญหาข้อจากัดทางโครงสร้าง
พื้นฐานในภูมิภาคและเพื่อเชื่อมโยงเศรษฐกิจในภูมิภาคโลก ข้อเสนอนี้ของจีนนาศักยภาพมาสู่ประเทศ
ต่างๆและต่อโลกอย่างยั่งยืน โดยที่โครงการที่จะมีความร่วมมือกับประเทศต่างๆที่เกี่ยวข้องจะแสดงถึง
ความต้องการแต่ละประเทศซึ่งมีบริบทต่างกันและมีบทบาทไม่เหมือนกันเพราะฉะนั้นแต่ละประเทศจึง
ต้องการโครงการเฉพาะซึ่งแล้วแต่ว่าจะออกมาในรูปแบบทวิภาคี พหุภาคี หรือภูมิภาคอนุภาคย่อย
อย่างไรก็ตามน่าเสียดายมากที่เกาหลีใต้ไม่ได้รวมอยู่ในโครงการนี้ ทั้งที่ประเทศเกาหลีใต้อยู่ในจุด
ยุทธศาสตร์ที่สาคัญที่น่าจะมีส่วนร่วมในการพัฒนาเส้นทางนี้
นักวิชาการอินเดีย โดย Srikanth Kondapalli, จากสถาบัน Center for East Asian Studies,
Jawaharlal Nehru University ซึ่งอินเดียมีข้อสงวนสาหรับเส้นทางบกของข้อเสนอนโยบายOne Belt,
One Road และมีความกังวลในประเด็นเรื่องระเบียงเศรษฐกิจของจีนกับปากีสถาน โดยอาจจะมี
ผลกระทบเรื่องอธิปไตยเหนือดินแดนของเส้นทางที่พาดผ่าน
นักวิชาการจากญี่ปุ่น โดย Tsuyoshi Ito จากมหาวิทยาลัย Meiji ประกาศชัดเจนว่าตนไม่เห็น
ด้วยและไม่สนับสนุนด้วยเหตุผลเรื่องความไม่คุ้มค่าสาหรับเส้นทางสายไหมทางบก เพราะภูมิภาคเอเชีย
กลางมีประชากรน้อยในขณะที่พื้นที่กว้างใหญ่ประกอบกับทางญี่ปุ่นไม่เชื่อว่าจีนจะสามารถพัฒนาตาม
ข้อเสนอนี้ได้ ข้อสังเกตที่น่าสนใจคือ ประเทศญี่ปุ่นมีปฏิสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจที่ดีกับจีน แต่ในทาง
การเมืองกลับตรงกันข้าม ในข้อเสนอนโยบายOne Belt, One Road ญี่ปุ่นไม่ได้เข้าร่วมและญี่ปุ่นคัดค้าน
การจัดตั้งธนาคารเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (AIIB) นอกจากนี้ยังให้ความคิดเห็นว่าประเทศ
จีนไม่ควรให้บางประเทศที่มีเศรษฐกิจอยู่ในอัตราการเติบโตที่ดีอยู่แล้วใช้ประโยชน์แบบ “ผู้ได้ประโยชน์
โดยไม่ลงทุน (free ride)”
8โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
4.3 กลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
นักวิชาการจากอินโดนีเซีย โดย Shafiah Fifi Muhibat นักวิจัยจากสถาบัน Center for
Strategic and International Studies (CSIS) ความคิดเห็นจากประเทศอินโดนีเซียต่อนโยบายหนึ่ง
แถบหนึ่งเส้นทาง (One Belt, One Road) มีความสอดคล้องกับความต้องการพัฒนาเส้นทางเดินเรือ
โดยจะทาให้ภูมิภาคนี้เป็นพื้นที่ที่อยู่ภายใต้การนาของจีนทางทะเล โดยในประเทศอินโดนีเซียมีความ
คิดเห็นที่แตกต่างกัน 3 ฝ่ายคือ
(1) โครงการของจีนจะช่วยสนับสนุนนโยบาย Global Maritime Fulcrum ของอินโดนีเซีย
(2) อีกฝ่ายเห็นว่าข้อเสนอของจีนไม่มีอะไรใหม่ เนื่องจากกรอบความร่วมมืออาเซียน-จีน
ครอบคลุมทุกแง่มุมอยู่แล้ว
(3) ฝ่ายที่สามมีท่าทีต่อต้านข้อเสนอของจีน ซึ่งมีข้อกังวลในประเด็นเรื่องอานาจอธิปไตย
ด้านความมั่นคง และดุลยภาพระหว่างสหรัฐ กับจีน
นักวิชาการจากพม่า โดย Khin Maung Nyo นักวิจัยจากสถาบัน Myanmar Develop-
ment Resource Institute ได้แสดงท่าทีในเชิงบวกซึ่งพม่าจะได้ประโยชน์มหาศาลจากข้อเสนอนี้
เพราะพม่าเพิ่งเริ่มพัฒนาประเทศ ยังขาดแคลนอีกมากในเกือบทุกด้านและจะให้การสนับสนุนใน
โครงการธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานในเอเชีย (AIIB) แต่ทางพม่าเป็นกังวลในเรื่อง
พฤติกรรมของบริษัทจีนที่จะเข้ามาลงทุน
นักวิชาการจากเวียดนาม โดย Phung Thi Hue แสดงความกังวลต่อท่าทีของประเทศจีน
ในประเด็นข้อพิพาทในทะเลจีนใต้ ซึ่งจีนควรมีคาจากัดความของโครงการนี้ที่ชัดเจนขึ้นพร้อมกับ
รายละเอียดและแผนเฉพาะกับแต่ละประเทศ ประกอบกับจีนควรศึกษาและพิจารณาจุดอ่อนและ
จุดแข็งโดยนาประเด็นทางด้านวัฒนธรรมทางและด้านเศรษฐกิจของแต่ละประเทศมาพิจารณาเพราะ
คนเวียดนามให้ความสาคัญที่จะคงไว้ซึ่งค่านิยมและขนมธรรมเนียมประเพณีของจีน
นักวิชาการจากไทย โดย นายสมปอง สงวนบรรพ์ คณบดี สถาบันการทูตและการ
ต่างประเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้แสดงความคิดเห็นว่า แนวคิดหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง(One belt,
One road) ถือได้ว่าเป็นความพยายามที่จะสกัดกั้นความต้องการของสหรัฐฯที่จะปิดล้อมและกีดกัน
จากการผงาดขึ้นมาของจีน และเป็นผลประโยชน์ของจีนที่จะกระชับความเป็นหุ้นส่วนกับประเทศ
เพื่อนบ้านและใกล้เคียง นอกจากนี้มีข้อเสนอแนะถึงความสอดคล้องของข้อเสนอกับแผนการพัฒนา
หลักของภูมิภาคอาเซียน (ASEAN Connectivity) และโครงการในอนุภูมิภาคแม่น้าโขง
9โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
แต่อย่างไรก็ตามควรคานึงถึงผลประโยชน์ของท้องถิ่นและควรศึกษาความเป็นไปได้ที่จะก่อให้เกิด
ประโยชน์ต่อประเทศไทยสูงสุด เพราะฉะนั้นจีนควรให้ความสาคัญต่อการติดต่อระหว่างประชาชนกับ
ประชาชนเป็นลาดับแรก รวมทั้งการมีปฏิสัมพันธ์กับภาคประชาสังคมในประเทศที่เป็นส่วนสาคัญ
ทางเศรษฐกิจกับจีน
5. โอกาสของประเทศไทยในการเข้าร่วมข้อเสนอนโยบายหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง
(One belt, One Road)
ข้อเสนอหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (One Belt, One Road) ที่กาลังจะเกิดขึ้นนี้ ประเทศไทยเป็น
ส่วนหนึ่งในพื้นที่การพัฒนาซึ่งจะส่งผลต่อการเจริญเติบโตของประเทศและส่งผลให้ไทยเป็น
ศูนย์กลางในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้งทางด้านการเศรษฐกิจ โครงสร้างพื้นฐาน ดังต่อไปนี้
5.1 โอกาสด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ
นายนพพร เทพสิทธา ประธานสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย ได้แสดงความ
คิดเห็นต่อโอกาสในการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและการส่งออกของประเทศไทย โดยในปัจจุบันการ
พัฒนาตามเส้นทางของไทยที่พาดผ่านตามเส้นทางสายไหมจะส่งผลโดยตรงในด้านเศรษฐกิจของ
ไทยซึ่งจะทาให้เกิดตลาดใหม่มารองรับการส่งออกทางด้านเศรษฐกิจ เพราะฉะนั้นประเทศไทยจึงควร
เข้าไปศึกษาหรือสารวจเพื่อขยายตลาดในการรองรับเศรษฐกิจที่จะเติบโตขึ้น ประกอบกับรัฐบาลต้อง
จัดทายุทธศาสตร์ในด้านการค้าให้ชัดเจนและส่งเสริมให้ภาคเอกชนหรือร่วมมือกับภาคเอกชนเพื่อ
พัฒนาตลาดที่จะเกิดขึ้น ซึ่งปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นคือภาคเอกชนของไทยไม่สามารถเข้าถึงหรือไม่มี
กาลังในการต่อรองเจราจามากพอจึงต้องให้รัฐบาลเข้ามาสนับสนุน
นอกจากนี้รัฐบาลไทยควรส่งเสริมการคมนาคมทางทะเลที่เชื่อมโยงกับการขนส่งทางบกใน
ภูมิภาคในลักษณะของการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบที่ประเทศไทยได้รับประโยชน์จากการขนส่ง
ทางทะเลที่มีปริมาณมากขึ้น ทั้งด้านความร่วมมือในกลุ่มแม่น้าอิระวดี ในลุ่มแม่น้าโขง และ
สามเหลี่ยมเศรษฐกิจ โดยมองโอกาสของจังหวัดระนองในการเติบโตทางเศรษฐกิจการขนส่งหรือเป็น
จุดศูนย์กลางในการเชื่อมต่อกับประเทศต่างๆ
1 0โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
5.2 โอกาสด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
เส้นทางรถไฟความเร็วสูง ที่รัฐบาลจีนเสนอให้มีการพัฒนาและเชื่อมต่อภูมิภาคจากจีนจนถึง
ประเทศสิงคโปร์ซึ่งจะทาให้ไทยได้ประโยชน์ในการประหยัดเวลาในการขนส่งสินค้าทางเรือไปยัง
ตลาดซึ่งอยู่ในประเทศจีนหรือในยุโรปได้โดยจะใช้เวลาเพียง 7 วัน ซึ่งทาให้สามารถลดต้นทุน
การขนส่งได้ 20-25 % ซึ่งประเทศไทยได้มีแผนการรับรองเขตเศรษฐกิจที่สี่แยกอินโดจีน
จังหวัดพิษณุโลกเพื่อรองรับการเพิ่มศักยภาพ ความสามารถในการขนส่ง
การพัฒนาท่าเรือทางฝั่งอันดามันเพื่อส่งเสริมให้มีการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจที่สอดคล้องกับ
เส้นทางสายไหมใหม่ทางด้านใต้ และส่งเสริมให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่สอดคล้องกับการ
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่เกิดขึ้นตามแนวเส้นทางสายไหมที่พาดผ่าน ซึ่งแน่นอนว่าโอกาสการค้าจะ
เจริญเติบโตขึ้นเพราะได้พิสูจน์ว่า “หากพื้นที่ใดมีการสร้างโครงสร้างพื้นฐานพื้นที่นั้นก็จะมีความ
เจริญสูงขึ้น”
บทสรุปและข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอของประเทศจีนในนโยบาย “หนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง (One belt, One road)” ได้รับ
การตอบรับอย่างดีจากนานาประเทศ และคนจีนเองก็มองเห็นโอกาสการพัฒนาใหม่ของธุรกิจจีนใน
ต่างประเทศ โดยจีนเป็นประเทศที่มีศักยภาพในการพัฒนาซึ่งขยายความร่วมมือในมหาสมุทรอินเดีย
ทางด้านทะเลจีนได้และทะเลจีนตะวันออก รวมทั้งการเข้าไปในเอเชียกลางและพยายามที่จะเชื่อมให้
ภูมิภาคเอเชียมีการเชื่อมโยงกันมากขึ้น โดยการพยายามจะสร้างแนวคิด (concept)โดยการเน้น
เฉพาะเรื่องประเด็นเศรษฐกิจ ภายใต้แนวคิด ทุกฝ่ายได้ผลประโยชน์ (win-win situation) ซึ่ง
ข้อเสนอดังกล่าวนี้เรียกได้ว่าเป็น “มหาการทูตหรือมหาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ” ที่สร้าง
ยุทธศาสตร์ให้กับประเด็นนโยบายต่างประเทศ
ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ อธิการบดีวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
มีข้อแนะนาในทางปฏิบัติ โดยประเทศไทยจะได้ประโยชน์จากนโยบายหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง
(One belt, One road) สิ่งที่น่าสนใจต่อประเทศไทยคือพื้นที่ในลักษณะภูมิรัฐศาสตร์ของประเทศไทย
ซึ่งอยู่ระหว่างสองมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย เพราะฉะนั้นประเทศไทยจึงต้องใช้
1 1โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประโยชน์จาก “สมุทรานุภาพทางทะเล” ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ แต่ในปัจจุบัน
ประเทศไทยยังใช้ยุทธศาสตร์ด้านนี้น้อย ประกอบกับประเทศไทยต้องมีมุมมองในการหาประโยชน์
จากการเชื่อมโยงผ่านเส้นทางรถไฟความเร็วสูง (high speed train) ที่ผ่านไทยซึ่งเป็นจุดศูนย์กลาง
ในการเชื่อมต่อและเส้นทางรถไฟจะไปสิ้นสุดที่ประเทศสิงคโปร์
นอกจากนี้ประเด็นนโยบายต่างประเทศของประเทศไทยต้องปรับเปลี่ยนโดยเริ่มจากการ
เปลี่ยนกระบวนทัศน์ ((Paradigm) ในการพยายามก้าวขึ้นสู่ “มหาอานาจขนาดกลาง (middle
power)” ในมิติเศรษฐกิจและการเจรจาเวทีระหว่างประเทศ ในสังคมบริบทการเมืองเศรษฐกิจโลก
มหาอานาจซึ่งสลับก้าวขึ้นมาเป็นผู้นาของโลก ระหว่างจีนกับสหรัฐฯ ซึ่งแน่นอนอยู่แล้วว่าตอนนี้จีน
กาลังผลักดันข้อเสนอนโยบายหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (One belt, One road) เพื่อก้าวมาสู่การเป็น
ผู้นาโลก ประกอบกับประเทศไทยต้องคานึงถึงการรักษาสมดุลระหว่างจีนกับสหรัฐฯ
อย่างไรก็ตาม ข้อเสนอ One Belt, One Road ต้องคาถึงข้อสงวนประเด็นอานาจอธิปไตย
เหนือดินแดน ประเด็นด้านความมั่นคงของนานาประเทศที่มีความกังวล ควรพิจารณาอย่างรอบคอบ
ว่า ปัจจุบันจีนใช้นโยบายเส้นทางสายไหมใหม่เพื่อขับเคลื่อนเป้าหมายใดอย่างแท้จริง โดย
แผนพัฒนาเส้นทางสายไหมใหม่ต้องครอบคลุมหลายมิติทั้งทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และ
วัฒนธรรม ซึ่งนโยบายOne Belt, One Road อาจเป็นโครงกาสาคัญ ที่รัฐบาลจีนใช้กลยุทธ์แบบ
ทุกฝ่ายได้ผลประโยชน์ (win-win situation) เพื่อผลักดันให้จีนขึ้นเป็นหาอานาจอันดับหนึ่งของโลก
ในอนาคต
1 2โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ถอดความและเรียบเรียง: นายวีรวิชญ์ เอี่ยมแสง
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064
ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน
ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์
ท่านสมปอง สงวนบรรพ์
นายชัยรัตน์ พรทิพย์วรเวทย์
นาวาเอกวชิรพร วงศ์นวครสว่าง
นายนพพร เทพสิทธรา

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าtumetr1
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการtumetr
 
スマートシティ、ゲームエンジン、人工知能
スマートシティ、ゲームエンジン、人工知能スマートシティ、ゲームエンジン、人工知能
スマートシティ、ゲームエンジン、人工知能Youichiro Miyake
 
仕様書作成のポイント_180814
仕様書作成のポイント_180814仕様書作成のポイント_180814
仕様書作成のポイント_180814Sugimoto Chizuru
 
食欲不振 パート1 鑑別診断
食欲不振 パート1 鑑別診断食欲不振 パート1 鑑別診断
食欲不振 パート1 鑑別診断NEURALGPNETWORK
 
Traumatismo crânioencefálico em pediatria
Traumatismo crânioencefálico em pediatriaTraumatismo crânioencefálico em pediatria
Traumatismo crânioencefálico em pediatriaCristiano Bischoff
 
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อบทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
Ativo, passivo e patrimônio liquido
Ativo, passivo e patrimônio liquidoAtivo, passivo e patrimônio liquido
Ativo, passivo e patrimônio liquidoHome Office Oxe!
 
2019/2/7 EC-CUBE東京UG勉強会-PurchaseFlowの使い方-
2019/2/7 EC-CUBE東京UG勉強会-PurchaseFlowの使い方-2019/2/7 EC-CUBE東京UG勉強会-PurchaseFlowの使い方-
2019/2/7 EC-CUBE東京UG勉強会-PurchaseFlowの使い方-Chihiro Adachi
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการtumetr
 
嘔気嘔吐 問診診断 パート2
嘔気嘔吐 問診診断 パート2嘔気嘔吐 問診診断 パート2
嘔気嘔吐 問診診断 パート2NEURALGPNETWORK
 
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
[DL輪読会]TossingBot: Learning to Throw Arbitrary Objects with Residual Physics
[DL輪読会]TossingBot: Learning to Throw Arbitrary Objects with Residual Physics[DL輪読会]TossingBot: Learning to Throw Arbitrary Objects with Residual Physics
[DL輪読会]TossingBot: Learning to Throw Arbitrary Objects with Residual PhysicsDeep Learning JP
 
Apostila Mercado financeiro
Apostila Mercado financeiro Apostila Mercado financeiro
Apostila Mercado financeiro Oswaldo Neto
 
Valor Presente Líquido (Parte I)
Valor Presente Líquido (Parte I)Valor Presente Líquido (Parte I)
Valor Presente Líquido (Parte I)Felipe Pontes
 
2023年から眺めたシンギュラリティ
2023年から眺めたシンギュラリティ2023年から眺めたシンギュラリティ
2023年から眺めたシンギュラリティKoji Fukuoka
 

La actualidad más candente (20)

การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
 
スマートシティ、ゲームエンジン、人工知能
スマートシティ、ゲームエンジン、人工知能スマートシティ、ゲームエンジン、人工知能
スマートシティ、ゲームエンジン、人工知能
 
仕様書作成のポイント_180814
仕様書作成のポイント_180814仕様書作成のポイント_180814
仕様書作成のポイント_180814
 
食欲不振 パート1 鑑別診断
食欲不振 パート1 鑑別診断食欲不振 パート1 鑑別診断
食欲不振 パート1 鑑別診断
 
Traumatismo crânioencefálico em pediatria
Traumatismo crânioencefálico em pediatriaTraumatismo crânioencefálico em pediatria
Traumatismo crânioencefálico em pediatria
 
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อบทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
 
Astrocitomas
AstrocitomasAstrocitomas
Astrocitomas
 
Ativo, passivo e patrimônio liquido
Ativo, passivo e patrimônio liquidoAtivo, passivo e patrimônio liquido
Ativo, passivo e patrimônio liquido
 
2019/2/7 EC-CUBE東京UG勉強会-PurchaseFlowの使い方-
2019/2/7 EC-CUBE東京UG勉強会-PurchaseFlowの使い方-2019/2/7 EC-CUBE東京UG勉強会-PurchaseFlowの使い方-
2019/2/7 EC-CUBE東京UG勉強会-PurchaseFlowの使い方-
 
4. 4 ps
4. 4 ps4. 4 ps
4. 4 ps
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
 
嘔気嘔吐 問診診断 パート2
嘔気嘔吐 問診診断 パート2嘔気嘔吐 問診診断 パート2
嘔気嘔吐 問診診断 パート2
 
Neuroliga ave clínico
Neuroliga ave clínicoNeuroliga ave clínico
Neuroliga ave clínico
 
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
 
心不全の所見
心不全の所見心不全の所見
心不全の所見
 
[DL輪読会]TossingBot: Learning to Throw Arbitrary Objects with Residual Physics
[DL輪読会]TossingBot: Learning to Throw Arbitrary Objects with Residual Physics[DL輪読会]TossingBot: Learning to Throw Arbitrary Objects with Residual Physics
[DL輪読会]TossingBot: Learning to Throw Arbitrary Objects with Residual Physics
 
Apostila Mercado financeiro
Apostila Mercado financeiro Apostila Mercado financeiro
Apostila Mercado financeiro
 
Valor Presente Líquido (Parte I)
Valor Presente Líquido (Parte I)Valor Presente Líquido (Parte I)
Valor Presente Líquido (Parte I)
 
2023年から眺めたシンギュラリティ
2023年から眺めたシンギュラリティ2023年から眺めたシンギュラリティ
2023年から眺めたシンギュラリティ
 

Destacado

อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี Klangpanya
 
OBOR Monitor I สิงหาคม 2559
OBOR Monitor I สิงหาคม 2559OBOR Monitor I สิงหาคม 2559
OBOR Monitor I สิงหาคม 2559Klangpanya
 
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559Klangpanya
 
CASS เยือนสถาบันคลังปัญญาฯ
CASS เยือนสถาบันคลังปัญญาฯ CASS เยือนสถาบันคลังปัญญาฯ
CASS เยือนสถาบันคลังปัญญาฯ Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่ายุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่าKlangpanya
 
OBOR Monitor I ตุลาคม 2559
OBOR Monitor I ตุลาคม 2559OBOR Monitor I ตุลาคม 2559
OBOR Monitor I ตุลาคม 2559Klangpanya
 
OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559Klangpanya
 
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลกKlangpanya
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559Klangpanya
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560Klangpanya
 
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตKlangpanya
 
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกบทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกKlangpanya
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกTaraya Srivilas
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์Taraya Srivilas
 
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจกสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจกTaraya Srivilas
 
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียนธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียนTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558Taraya Srivilas
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมTaraya Srivilas
 

Destacado (20)

อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
 
OBOR Monitor I สิงหาคม 2559
OBOR Monitor I สิงหาคม 2559OBOR Monitor I สิงหาคม 2559
OBOR Monitor I สิงหาคม 2559
 
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
 
CASS เยือนสถาบันคลังปัญญาฯ
CASS เยือนสถาบันคลังปัญญาฯ CASS เยือนสถาบันคลังปัญญาฯ
CASS เยือนสถาบันคลังปัญญาฯ
 
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่ายุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
 
OBOR Monitor I ตุลาคม 2559
OBOR Monitor I ตุลาคม 2559OBOR Monitor I ตุลาคม 2559
OBOR Monitor I ตุลาคม 2559
 
OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559
 
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
 
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
 
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกบทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
 
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจกสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
 
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียนธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
 

Similar a ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน

ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...Klangpanya
 
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยน
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยนความร่วมมือจีนอาเซี่ยน
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยนTaraya Srivilas
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนTeeranan
 
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...Klangpanya
 
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ... ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...Klangpanya
 
Future humanresourcemanagement
Future humanresourcemanagementFuture humanresourcemanagement
Future humanresourcemanagementaumhuman
 
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยน
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยนความร่วมมือจีนอาเซี่ยน
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยนTaraya Srivilas
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and aseanTeeranan
 
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561Klangpanya
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53Link Standalone
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanvorravan
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗นายจักราวุธ คำทวี
 
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์Kruthai Kidsdee
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 

Similar a ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน (20)

ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
 
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยน
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยนความร่วมมือจีนอาเซี่ยน
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยน
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
 
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
 
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ... ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 
Future humanresourcemanagement
Future humanresourcemanagementFuture humanresourcemanagement
Future humanresourcemanagement
 
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยน
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยนความร่วมมือจีนอาเซี่ยน
ความร่วมมือจีนอาเซี่ยน
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and asean
 
ประเทศจีน
ประเทศจีน ประเทศจีน
ประเทศจีน
 
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
 
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
 
183356
183356183356
183356
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 

Más de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKlangpanya
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfKlangpanya
 

Más de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdf
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
 

ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน

  • 1. ข้อเสนอนโยบายข้อเสนอนโยบาย ““One Belt, One RoadOne Belt, One Road”” ของจีนของจีน ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ท่านทูตสมปอง สงวนบรรพ์ นายชัยรัตน์ พรทิพย์วรเวทย์ นาวาเอกวชิรพร วงศ์นวครสว่าง นายนพพร เทพสิทธรา วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 2. 1 ข้อเสนอนโยบายข้อเสนอนโยบายข้อเสนอนโยบาย “One Belt, One Road”“One Belt, One Road”“One Belt, One Road” ของจีนของจีนของจีน บทนา ในปัจจุบันประเทศจีนมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ภายในประเทศอย่างต่อเนื่อง หากพิจารณาบริบทพัฒนาการด้านประวัติศาสตร์ของประเทศจีนในแต่ละยุค สมัยของผู้นา ซึ่งการพัฒนาประเทศในแต่ละช่วงจะให้ความสาคัญที่แตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับนโยบาย ทางการเมืองและนโยบายเศรษฐกิจ ซึ่งรูปแบบนโยบายการปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนมีลักษณะพิเศษและ เป็นรูปแบบเฉพาะของประเทศจีนหรือเรียกว่า “โมเดลจีน” (China Model) สี จิ้นผิง ผู้นาของประเทศจีน ในปัจจุบัน ได้นาเสนอสโลแกน “China Dream” มาเป็นศูนย์กลางในการขับเคลื่อนประชาชนและสังคม จีนในปัจจุบันให้มุ่งไปข้างหน้าและสร้างแรงผลักดันให้มีการพัฒนาและปรับปรุงและเปลี่ยนแปลง อย่างต่อเนื่อง ซึ่งการดาเนินนโยบายในยุคปัจจุบันเป็นการนาเอานโยบายที่โดดเด่นในแต่ละช่วงมาปรับใช้ ทั้งในการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศและสนับสนุนในประเทศจีนมีบทบาทในเวทีระดับโลกมากขึ้น ประกอบกับเส้นทางสายไหมของจีนเป็นที่โด่งดังรับรู้กันอยู่แล้วว่าเป็นเส้นทางการค้าระหว่างประเทศ สายสาคัญในสมัยโบราณ ปัจจุบันเส้นทางดังกล่าวกาลังถูกรื้อฟื้นขึ้นมาอีกครั้งภายใต้การขับเคลื่อนของ รัฐบาลจีนยุคสีจิ้นผิง ภายใต้ข้อเสนอ “นโยบายOne belt, One road (หนึ่งแถบหนึ่งทาง)” โดยแยกออกเป็น 2 เส้นทาง คือ เส้นทางสายไหมทางบกกับเส้นทางสายไหมทางทะเล 1. เส้นทางสายไหมทางบกและทางทะเลในศตวรรษที่ 21 แนวคิดเส้นทางสายไหมใหม่ “One Belt One Road” หรือ “หนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง” เป็นโครงการ ของรัฐบาลจีนเพื่อสร้างความเชื่อมโยง (connectivity) และสร้างความร่วมมือ (cooperation) โดยเฉพาะ ทางการค้าระหว่างจีนกับนานาประเทศในเอเชีย ตะวันออกกลาง และยุโรป เส้นทางสายไหมใหม่เป็น เสมือนห่วงโซ่คล้องความสัมพันธ์ในทางด้านเศรษฐกิจเป็นหลักซึ่งประเทศจีนไม่ได้มีจุดมุ่งหมายที่ จะล่าอาณานิคม ทั้งนี้โครงการนี้ยังครอบคลุมถึงมิติด้านวัฒนธรรมในการยอมรับความแตกต่างของสังคม โลก โดยประเทศจีนได้เชิญนานาประเทศเข้าร่วม รวมถึงองค์กรระหว่างประเทศองค์กรพัฒนาเอกชนและ บริษัทข้ามชาติ โดยทางรัฐบาลจีนได้เน้นย้าว่าข้อเสนอนโยบายหนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง(One belt, One Road) เป็นสถานการณ์ที่ทุกฝ่ายได้ประโยชน์ (win-win Situation) ไม่ได้มีลักษณะฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้ ประโยชน์ (Zero-sum game) โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวที Think Tank ครั้งที่ 8 เรื่อง “นโยบาย One Belt, One Road ของจีน ” จัดโดยโครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันพุธ ที่ 8 ก.ค. 2558 เวลา 13:00 – 17:00 น. ณ ห้องวิเทศสโมสรส่วนที่2 กระทรวงการต่างประเทศ ภายใต้การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.)
  • 3. 2 ข้อเสนอนโยบายหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (One Belt, One Road) ประกอบด้วยหนึ่งแถบ คือ 1) สายไหมทางบกหรือแถบเศรษฐกิจเส้นทางสายไหม (the Silk Road Economic Belt) โดย เชื่อมโยงจีนทั้งทางทิศเหนือและทิศใต้กับเอเชียกลาง เอเชียตะวันออกลาง เอเชียใต้ และทวีปยุโรป 2)เส้นทางสายไหมทางทะเล ศตวรรษที่21 (the 21st Century Maritime Silk Road) ดัดแปลงมา จากเส้นทางสายไหมในยุคเจิ้งเหอซึ่งเป็นเส้นทางการค้าทางทะเลของจีนในอดีตโดยให้สอดคล้องกับ สภาพแสดล้อมในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเส้นทางสายไหมทางทะเลได้เชื่อมโยงจีนกับเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ ประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และแอฟริกาเหนือ เส้นทางสายไหมทั้งทางบกและทางทะเลมี แผนปฏิบัติการว่าด้วยแนวคิดการร่วมสร้างเศรษฐกิจบนเส้นทางสายไหมทางบกและทางทะเล ซึ่งประเทศจีนได้มอบหมายให้กระทรวงหลักๆ 3 กระทรวงทาหน้าที่หลักในการดูแลโครงการตาม เส้นทางสายไหมพาดผ่าน 6 เส้นทาง คือ รูปที่1 : แสดงเส้นทางสายไหมทางบกและทางทะเลในศตวรรษที่21 ที่มา : นายชัยรัตน์ พรทิพย์วรเวทย์ ผู้อานวยการกองเอเชียตะวันออก กรมเอเชียตะวันออก กระทรวงการต่างประเทศ  เส้นทางแรก เป็นเส้นทางเชื่อมระหว่างประเทศจีน ประเทศมองโกเลีย และประเทศรัสเซีย  เส้นทางที่สอง เป็นเส้นทางเชื่อมระหว่างทวีปเอเชียและทวีปยุโรป  เส้นทางที่สาม เป็นเส้นทางที่เชื่อมจากประเทศจีนกับประเทศในเอเชียกลางและประเทศใน เอเชียตะวันออก  เส้นทางที่สี่ เป็นเส้นทางทะเลที่เชื่อมต่อประเทศจีนกับประเทศในภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้  เส้นทางที่ห้า เป็นเขตระเบียงเศรษฐกิจของจีน และมีแผนการการสร้างท่าเรือที่สาคัญ  โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 4. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3 นอกจากนี้นโยบายหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (One belt, One road) แบ่งภารกิจที่เกี่ยวข้อง เป็น 4 ระดับ (1) Physical level : การทาเร่งสร้างพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่ต่างๆที่เส้นทางพาดผ่าน (2) Institutional level : การเชื่อมโยง การขจัดอุปสรรคทางการค้า การอานวยความสะดวกเพื่อ การพัฒนา การลดค่าใช้จ่ายในการทาโครงการต่างๆ (3) Financial level: การลงมือทาด้วยการหาทุน และความร่วมมือทางการเงิน ได้แก่ ธนาคาร เพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานในเอเชีย หรือ AIIB (4) Mental level : สร้างความไว้วางใจในทุกระดับ และส่งเสริมการสร้างการแลกเปลี่ยนระหว่าง วัฒนธรรม ระหว่างประชาชน 2. ภาพรวมอานาจของประเทศจีนในปัจจุบัน ประเทศจีนมีประชากรประมาณ 1,350 ล้านคน และเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศเติบโตอย่าง ต่อเนื่องประมาณร้อยละ 8 เป็นเวลา 2 ทศวรรษ ประกอบกับจีนเป็นมหาอานาจนิวเคลียร์ของโลกและมี กาลังทหารประจาการ 2.3 ล้านคน ซึ่งทาให้จีนมีขนาดกองทัพใหญ่เป็นอันดับ 1 ของโลกส่งผลให้จีน เป็นมหาอานาจของโลกในด้านต่างๆ ดังนี้ 2.1 อิทธิพลทางเศรษฐกิจของจีนทางทะเล จีนเป็นประเทศที่มีลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่มีทะเลด้านเดียว ซึ่งทาให้ทางด้านทิศตะวันตก ของประเทศไม่มีทางออกทะเล โดยจีนมีประเทศพันธมิตรที่สาคัญคือ ประเทศไทย พม่า บังคลาเทศ และ ปากีสถาน ซึ่งตั้งอยู่บริเวณทะเลจีนตะวันออกและทะเลจีนใต้โดยพื้นที่บริเวณดังกล่าวมีความสาคัญ ด้านยุทธศาสตร์และเศรษฐกิจต่อประเทศจีน นาวาเอกวิรพร วงศ์นครสว่าง ผู้อานวยการกองวิชาความมั่นคงและวิชาพิเศษ ฝ่ายวิชาการ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ ได้แสดงความคิดเห็นต่อลักษณะทางภูมิศาสตร์ทางทะเลของประเทศจีนซึ่งมี ความสาคัญทางเศรษฐกิจว่า “ประเทศจีนต้องรักษาการคมนาคมทางทะเลไว้ โดยเฉพาะเส้นทางการ เดินเรือผ่านช่องแคบที่สาคัญ ได้แก่ ช่องแคบมะละกา ช่องงแคบฮอร์มุช ช่องแคบบับเอลมันเดบ ซึ่งเส้นทางคมนาคมทางทะเลดังกล่าวทางทหารเรือเรียกว่า Sea Lines of Communication : SLOC” ประกอบกับประเทศจีนต้องมีเมืองท่าที่เป็นพันธมิตรที่สาคัญคือเมืองท่า Chittigong โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 5. 4 ในประเทศบังคลาเทศเมืองท่า Hambantota ในประเทศศรีลังกา และ เมืองท่า Gwadar ในประเทศ ปากีสถาน ซึ่งจะเป็นท่าเรือที่ยิ่งใหญ่ของโลก การที่ประเทศจีนต้องรักษาเส้นทางทะเลดังกล่าวเพราะ เป็นเส้นทางในการลาเลียงน้ามันดิบเพื่อเข้าสู่ประเทศทางชายฝั่งตะวันออก 2.2 อิทธิพลทางการทหารของจีน การที่ประเทศจีนจะต้องรักษาฐานทัพเรือในมหาสมุทรอินเดียและทะเลจีนใต้ โดยการใช้ ท่าเรือและสิ่งอานวยความสะดวกในประเทศพันธมิตร หากประเทศจีนถูกขัดขวางเส้นทางคมนาคม ทางทะเล เพื่อที่จะสามารถลาเลียงยุทธปัจจัยที่สาคัญได้แก่น้ามันเข้าสู่แผ่นดินใหญ่จีนทางบก ซึ่งจีน ได้อ้างการรักษาความมั่นคงในพื้นที่ดังกล่าว ซึ่งนักวิชาการตะวันตกเรียกว่า "ยุทธศาสตร์สร้อย ไข่มุก" (String of Pearls) แต่อย่างไรก็ตามอิทธิพลของจีนในเขตน่านน้าในทะเลได้เกิดข้อโต้แย้ง ประกอบกับจีนได้ประกาศอาณาเขตทางทะเลในทะเลจีนและอ้างอานาจอธิปไตยด้วยเส้นประเก้าเส้น (China's nine dash line) ซึ่งทาให้เกิดพื้นที่ซับซ้อนระหว่าง จีน ฟิลิปปินส์ เวียดนาม บรูไน มาเลเซีย 2.3 อิทธิพลในเวทีระดับถูมิภาคของจีน ประเทศจีนได้ร่วมมือกับประเทศกลุ่มที่มีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูง เรียกว่า “กลุ่มประเทศBRICS” ซึ่งเป็นกลุ่มประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว ได้แก่ บราซิล (Brazil) รัสเซีย (Russia) อินเดีย (India) จีน(China) และแอฟริกาใต้(South Africa) จึงทาให้จีนกลายเป็นประเทศที่บทบาทนาในด้านเศรษฐกิจในภูมิภาค ข้อเสนอOne belt, One road แสดงให้เห็นว่าจีนใช้เป็น Soft Power (อานาจอ่อน) เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ในเชิงบวกให้กับ ประเทศจีนในด้านเศรษฐกิจและด้านการทูต ประกอบกับอีกทั้งเห็นว่าประเทศจีนมีอานาจต่อกลุ่ม ประเทศในอาเซียนมี โดยจะร่วมกันสร้างยุทธศาสตร์เส้นทางสายไหมทางทะเลที่ครอบคลุม 2 มหาสมุทร ทั้งทางบกและทางทะเล ตั้งแต่ภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกกลาง และยุโรป 3. โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานตามข้อเสนอนโยบาย Onebelt,Oneroad ตามแผนการที่จีนวางไว้สาหรับการพัฒนาหรือก่อสร้างเส้นทางเชื่อมโยงจากต่างประเทศใน บริเวณแถบและเส้นทางของโครงการโดยจะมีการร่วมกันจัดตั้งกองทุนการเงินเส้นทางสายไหมผ่าน รูปแบบ ธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเอเชีย (AIIB) และการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานด้าน คมนาคมผ่านโครงการรถไฟความเร็วสูง โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 6. 3.1 ธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานในเอเชีย (Asia Infrastructure Investment Bank: AIIB) การจัดตั้งธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานในเอเชีย (AIIB) เป็นแนวคิดของประเทศ จีนที่มีความต้องการให้ความช่วยเหลือประเทศสมาชิกในการลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานใน ด้านต่างๆ อาทิ โครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงาน คมนาคม และสื่อสารโทรคมนาคม เป็นต้น โดยจะ เป็นแหล่งเงินทุนอีกทางเลือกหนึ่งของไทยและประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียที่ยังมีความต้องการ เงินลงทุนในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสูงมาก ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญต่อการขยายตัวและการพัฒนา เศรษฐกิจอย่างยั่งยืน รวมทั้งจะมีส่วนสาคัญในการผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้านการค้า และการลงทุนของภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้คือหนึ่งในเขตสาคัญของเส้นทางสายไหม ทางทะเล ซึ่งจีนพร้อมที่จะเพิ่มความร่วมมือทางทะเลกับกลุ่มประเทศอาเซียน โดยการตั้งกองทุน ความร่วมมือทางทะเล(China-ASEAN Maritime Cooperation Fund) แต่อย่างไรก็ตามข้อเสนอเรื่องธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานในเอเชียมีข้อโต้แย้ง กล่าวคือจะกลายมาเป็นธนาคารภูมิภาคแห่งใหม่เทียบเท่ากับธนาคารพัฒนาแห่งเอเชีย (Asian Development Bank: ADB) ที่ริเริ่มโดยญี่ปุ่น โดยที่การจัดตั้ง AIIB ของจีนนั้นมีนัยสาคัญใน ประเด็นการเมืองระหว่างประเทศ และระบบการเงินของโลก เป็นที่ทราบกันดีว่าสถาบันการเงิน ระดับโลก อาทิ ธนาคารโลก (World Bank) และ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) มีประเทศตะวันตกที่เป็นประเทศพัฒนาแล้ว โดยเฉพาะสหรัฐฯ มีบทบาทและอิทธิพลสูงมากใน สถาบันการเงินดังกล่าว หรือแม้กระทั่ง Asian Development Bank (ADB) ก็มีญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ ริเริ่ม จะเห็นได้ว่าจีนมีความพยายามในการที่จะยกระดับสถานะและบทบาทของตนในเวทีระหว่าง ประเทศ ทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการเงิน 5โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 7. 6 3.2 การก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงเพื่อเชื่อต่อภูมิภาค (Asian High Speed Train Network) รูปที่2 : แสดงแผนภาพโครงการเชื่อมต่อภูมิภาคโดยการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง จีนมีโครงการในการเชื่อมเส้นทางรถไฟจากเมืองคุนหมิงโดยมีปลายทางคือประเทศสิงคโปร์ ซึ่งจะผ่านประเทศไทยโดยมีโครงการที่จะเข้ามาลงทุนในจังหวัดเชียงรายซึ่งจะใช้เป็นจุดเชื่อมต่อ โดยจะแยกสายรถไฟอีกด้านหนึ่งของประเทศมาสู่แหลมฉบังและในอนาคตจะก่อสร้างจนถึงประเทศ สิงคโปร์ ซึ่งเส้นทางรถไฟความเร็วสูงนั้นจะเชื่อมโยงกับระเบียงเศรษฐกิจของประเทศจีน คือ แนวมะ ละแหม่ง (Mawlamyine) ที่เมืองดานัง ประเทศเวียดนาม และจะเชื่อมต่อผ่านเส้นทางถนนกับ เมืองทวายซึ่งในด้านประเทศไทยได้มีแผนการรับรองเขตเศรษฐกิจที่สี่แยกอินโดจีน จังหวัดพิษณุโลก เพื่อเพิ่มศักยภาพความสามารถในการขนส่งและโลจิสติกส์ 4. มุมมองของนานาประเทศต่อข้อเสนอนโยบาย One belt, One Road ประเทศจีนได้จัดการประชุมเสวนา “One Belt and One Road and a Win-Win Asia ครั้งที่ 5” โดยมี นายสมปอง สงวนบรรพ์ คณบดีสถานบันการทูตและการต่างประเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการประชุม ซึ่งการเสวนาในครั้งนี้เป็นความคิด ริเริ่มจากทางรัฐบาลจีนร่วมกับสถาบัน Chinese Academy Social and Science โดยได้เชิญ นักวิชาการจาก 13 ประเทศเข้าร่วม ประกอบด้วย รัสเซีย อิหร่าน อุซเบกิสถาน คาซัคสถาน อินโดนีเซีย ไทย เวียดนาม พม่า เกาหลี ญี่ปุ่น อินเดีย ปากีสถาน พม่า ซึ่งประเทศดังกล่าวเป็น โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 8. ประเทศที่มีเส้นทางสายไหมพาดผ่าน โดยการประชุมได้กล่าวเน้นย้าถึงข้อเสนอของนโยบายเป็น การเน้นเรื่องเศรษฐกิจไม่ใช่แบบฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ (zero-sum game) แต่เป็นแบบ สถานการณ์ที่ทุกฝ่ายได้ประโยชน์ (win-win situation) ซึ่งในการประชุมตัวแทนจากประเทศต่างๆ ได้เสนอความคิดเห็นทั้งที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศที่ได้รับและบางประเทศได้ตั้งข้อสงวนที่มีต่อ นโยบายหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (One belt, One road) ดังต่อไปนี้ 4.1 กลุ่มประเทศมหาอานาจ นักวิชาการจากรัสเซีย มีมุมมองว่าข้อเสนอนี้เป็นนโยบายมุ่งตะวันตกของจีน ในทางด้าน เศรษฐกิจประเทศจีนต้องการให้มีโครงสร้างพื้นฐานการขนส่งระหว่างประเทศ และการประสาน ความร่วมมือข้อเสนอ กับ Eurasia Economic Union (รัสเซีย คาซัคสถาน เบลารุส ยูเครน) อย่างไรก็ตามรัสเซียความกังวลเกี่ยวกับประเด็นช่องว่างของรายได้ประชาชาติระหว่างจีนกับ รัสเซียที่มีสูงถึงในอัตรา 5 ต่อ 1 นอกจากนี้ถึงแม้ไม่มีประเด็นด้านการทหารเส้นทางที่ผ่านยูเครน อาจมีปัญหาในข้อเสนอนี้ และเป็นข้อเสนอที่ยิ่งใหญ่มากในประวัติศาสตร์แต่เชื่อว่าในที่สุดจะต้องมี สหรัฐฯเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย 4.2 กลุ่มประเทศในเอเชียกลาง นักวิชาการจากคาซัคสถาน ได้แสดงความเห็นในประเด็นที่ประเทศคาซัคสถานซึ่งมี พรมแดนติดกับจีนจึงทาให้ข้อเสนอ One Belt, One Road มีความสาคัญต่อประเทศคาซัคสถาน และชี้ให้เห็นว่าโครงการของจีนจะเป็นการช่วยสร้างเศรษฐกิจที่ไม่ใช่แค่จากทรัพยากรธรรมชาติ แต่เป็นการสร้างความหลากหลายทางด้านอุตสาหกรรมในสาขาต่างๆ เพราะฉะนั้นเส้นทางนี้ทาให้ คาซัคสถานพัฒนาเศรษฐกิจให้เป็นไปตามเป้าหมาย นักวิชาการจากอุซเบคกิสถาน โดย Bakhodir Pasilov จากสถาบัน Academy of Sci- ences of Uzbekistan ได้แสดงท่าทีโดยยินดีที่จะเข้าร่วมในข้อเสนอของจีน ซึ่งทางรัฐบาลพร้อมให้ ความร่วมมือในการขยายความร่วมมือโดยเฉพาะในด้านพลังงานในการวางท่อแก๊ส และยังเชื่อมั่น ว่าข้อเสนอของจีนจะมีส่วนช่วยสร้างเสถียรภาพในโลก นักวิชาการจากประเทศอิหร่าน โดย Afsaneh Ahadi จากกระทรวงการต่างประเทศของ อิหร่านได้แสดงความคิดเห็นต่อข้อเสนอนี้ว่าอิหร่านเคยมีบทบาทสาคัญในเส้นทางสายไหมในอดีต 7โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 9. ซึ่งพร้อมที่จะมีบทบาททางและให้ความร่วมมือด้านความมั่นคง ด้านพลังงานและด้านการขนส่ง อย่างไรก็ตามได้แสดงท่าทีกังวลในประเด็นด้านความมั่นคงเพราะทางการจีนไม่ได้หารือกับรัฐบาล อิหร่านจึงได้เสนอแนะให้จัดทาข้อตกลงด้านความมั่นคง (security arrangements) ของทั้งสองประเทศ 4.4 กลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกและเอเชียใต้ นักวิชาการจากเกาหลีใต้ โดย In-kook PARK ประธานสถาบัน Korea Foundation for Ad- vanced Studies (KFAS) ประเทศเกาหลีใต้ไม่ได้เข้าร่วมได้โครงการนี้ แต่เกาหลีใต้ให้ความเห็นใน แง่บวกต่อเรื่องนี้ ซึ่งข้อเสนอหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (One Belt, One Road) ซึ่งสอดคล้องกับนโยบาย Eurasia Initiative ของเกาหลีใต้โดยต่างมีเป้าหมายสอดคล้องในการแก้ปัญหาข้อจากัดทางโครงสร้าง พื้นฐานในภูมิภาคและเพื่อเชื่อมโยงเศรษฐกิจในภูมิภาคโลก ข้อเสนอนี้ของจีนนาศักยภาพมาสู่ประเทศ ต่างๆและต่อโลกอย่างยั่งยืน โดยที่โครงการที่จะมีความร่วมมือกับประเทศต่างๆที่เกี่ยวข้องจะแสดงถึง ความต้องการแต่ละประเทศซึ่งมีบริบทต่างกันและมีบทบาทไม่เหมือนกันเพราะฉะนั้นแต่ละประเทศจึง ต้องการโครงการเฉพาะซึ่งแล้วแต่ว่าจะออกมาในรูปแบบทวิภาคี พหุภาคี หรือภูมิภาคอนุภาคย่อย อย่างไรก็ตามน่าเสียดายมากที่เกาหลีใต้ไม่ได้รวมอยู่ในโครงการนี้ ทั้งที่ประเทศเกาหลีใต้อยู่ในจุด ยุทธศาสตร์ที่สาคัญที่น่าจะมีส่วนร่วมในการพัฒนาเส้นทางนี้ นักวิชาการอินเดีย โดย Srikanth Kondapalli, จากสถาบัน Center for East Asian Studies, Jawaharlal Nehru University ซึ่งอินเดียมีข้อสงวนสาหรับเส้นทางบกของข้อเสนอนโยบายOne Belt, One Road และมีความกังวลในประเด็นเรื่องระเบียงเศรษฐกิจของจีนกับปากีสถาน โดยอาจจะมี ผลกระทบเรื่องอธิปไตยเหนือดินแดนของเส้นทางที่พาดผ่าน นักวิชาการจากญี่ปุ่น โดย Tsuyoshi Ito จากมหาวิทยาลัย Meiji ประกาศชัดเจนว่าตนไม่เห็น ด้วยและไม่สนับสนุนด้วยเหตุผลเรื่องความไม่คุ้มค่าสาหรับเส้นทางสายไหมทางบก เพราะภูมิภาคเอเชีย กลางมีประชากรน้อยในขณะที่พื้นที่กว้างใหญ่ประกอบกับทางญี่ปุ่นไม่เชื่อว่าจีนจะสามารถพัฒนาตาม ข้อเสนอนี้ได้ ข้อสังเกตที่น่าสนใจคือ ประเทศญี่ปุ่นมีปฏิสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจที่ดีกับจีน แต่ในทาง การเมืองกลับตรงกันข้าม ในข้อเสนอนโยบายOne Belt, One Road ญี่ปุ่นไม่ได้เข้าร่วมและญี่ปุ่นคัดค้าน การจัดตั้งธนาคารเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (AIIB) นอกจากนี้ยังให้ความคิดเห็นว่าประเทศ จีนไม่ควรให้บางประเทศที่มีเศรษฐกิจอยู่ในอัตราการเติบโตที่ดีอยู่แล้วใช้ประโยชน์แบบ “ผู้ได้ประโยชน์ โดยไม่ลงทุน (free ride)” 8โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 10. 4.3 กลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นักวิชาการจากอินโดนีเซีย โดย Shafiah Fifi Muhibat นักวิจัยจากสถาบัน Center for Strategic and International Studies (CSIS) ความคิดเห็นจากประเทศอินโดนีเซียต่อนโยบายหนึ่ง แถบหนึ่งเส้นทาง (One Belt, One Road) มีความสอดคล้องกับความต้องการพัฒนาเส้นทางเดินเรือ โดยจะทาให้ภูมิภาคนี้เป็นพื้นที่ที่อยู่ภายใต้การนาของจีนทางทะเล โดยในประเทศอินโดนีเซียมีความ คิดเห็นที่แตกต่างกัน 3 ฝ่ายคือ (1) โครงการของจีนจะช่วยสนับสนุนนโยบาย Global Maritime Fulcrum ของอินโดนีเซีย (2) อีกฝ่ายเห็นว่าข้อเสนอของจีนไม่มีอะไรใหม่ เนื่องจากกรอบความร่วมมืออาเซียน-จีน ครอบคลุมทุกแง่มุมอยู่แล้ว (3) ฝ่ายที่สามมีท่าทีต่อต้านข้อเสนอของจีน ซึ่งมีข้อกังวลในประเด็นเรื่องอานาจอธิปไตย ด้านความมั่นคง และดุลยภาพระหว่างสหรัฐ กับจีน นักวิชาการจากพม่า โดย Khin Maung Nyo นักวิจัยจากสถาบัน Myanmar Develop- ment Resource Institute ได้แสดงท่าทีในเชิงบวกซึ่งพม่าจะได้ประโยชน์มหาศาลจากข้อเสนอนี้ เพราะพม่าเพิ่งเริ่มพัฒนาประเทศ ยังขาดแคลนอีกมากในเกือบทุกด้านและจะให้การสนับสนุนใน โครงการธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานในเอเชีย (AIIB) แต่ทางพม่าเป็นกังวลในเรื่อง พฤติกรรมของบริษัทจีนที่จะเข้ามาลงทุน นักวิชาการจากเวียดนาม โดย Phung Thi Hue แสดงความกังวลต่อท่าทีของประเทศจีน ในประเด็นข้อพิพาทในทะเลจีนใต้ ซึ่งจีนควรมีคาจากัดความของโครงการนี้ที่ชัดเจนขึ้นพร้อมกับ รายละเอียดและแผนเฉพาะกับแต่ละประเทศ ประกอบกับจีนควรศึกษาและพิจารณาจุดอ่อนและ จุดแข็งโดยนาประเด็นทางด้านวัฒนธรรมทางและด้านเศรษฐกิจของแต่ละประเทศมาพิจารณาเพราะ คนเวียดนามให้ความสาคัญที่จะคงไว้ซึ่งค่านิยมและขนมธรรมเนียมประเพณีของจีน นักวิชาการจากไทย โดย นายสมปอง สงวนบรรพ์ คณบดี สถาบันการทูตและการ ต่างประเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้แสดงความคิดเห็นว่า แนวคิดหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง(One belt, One road) ถือได้ว่าเป็นความพยายามที่จะสกัดกั้นความต้องการของสหรัฐฯที่จะปิดล้อมและกีดกัน จากการผงาดขึ้นมาของจีน และเป็นผลประโยชน์ของจีนที่จะกระชับความเป็นหุ้นส่วนกับประเทศ เพื่อนบ้านและใกล้เคียง นอกจากนี้มีข้อเสนอแนะถึงความสอดคล้องของข้อเสนอกับแผนการพัฒนา หลักของภูมิภาคอาเซียน (ASEAN Connectivity) และโครงการในอนุภูมิภาคแม่น้าโขง 9โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 11. แต่อย่างไรก็ตามควรคานึงถึงผลประโยชน์ของท้องถิ่นและควรศึกษาความเป็นไปได้ที่จะก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อประเทศไทยสูงสุด เพราะฉะนั้นจีนควรให้ความสาคัญต่อการติดต่อระหว่างประชาชนกับ ประชาชนเป็นลาดับแรก รวมทั้งการมีปฏิสัมพันธ์กับภาคประชาสังคมในประเทศที่เป็นส่วนสาคัญ ทางเศรษฐกิจกับจีน 5. โอกาสของประเทศไทยในการเข้าร่วมข้อเสนอนโยบายหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (One belt, One Road) ข้อเสนอหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (One Belt, One Road) ที่กาลังจะเกิดขึ้นนี้ ประเทศไทยเป็น ส่วนหนึ่งในพื้นที่การพัฒนาซึ่งจะส่งผลต่อการเจริญเติบโตของประเทศและส่งผลให้ไทยเป็น ศูนย์กลางในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้งทางด้านการเศรษฐกิจ โครงสร้างพื้นฐาน ดังต่อไปนี้ 5.1 โอกาสด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ นายนพพร เทพสิทธา ประธานสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย ได้แสดงความ คิดเห็นต่อโอกาสในการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและการส่งออกของประเทศไทย โดยในปัจจุบันการ พัฒนาตามเส้นทางของไทยที่พาดผ่านตามเส้นทางสายไหมจะส่งผลโดยตรงในด้านเศรษฐกิจของ ไทยซึ่งจะทาให้เกิดตลาดใหม่มารองรับการส่งออกทางด้านเศรษฐกิจ เพราะฉะนั้นประเทศไทยจึงควร เข้าไปศึกษาหรือสารวจเพื่อขยายตลาดในการรองรับเศรษฐกิจที่จะเติบโตขึ้น ประกอบกับรัฐบาลต้อง จัดทายุทธศาสตร์ในด้านการค้าให้ชัดเจนและส่งเสริมให้ภาคเอกชนหรือร่วมมือกับภาคเอกชนเพื่อ พัฒนาตลาดที่จะเกิดขึ้น ซึ่งปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นคือภาคเอกชนของไทยไม่สามารถเข้าถึงหรือไม่มี กาลังในการต่อรองเจราจามากพอจึงต้องให้รัฐบาลเข้ามาสนับสนุน นอกจากนี้รัฐบาลไทยควรส่งเสริมการคมนาคมทางทะเลที่เชื่อมโยงกับการขนส่งทางบกใน ภูมิภาคในลักษณะของการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบที่ประเทศไทยได้รับประโยชน์จากการขนส่ง ทางทะเลที่มีปริมาณมากขึ้น ทั้งด้านความร่วมมือในกลุ่มแม่น้าอิระวดี ในลุ่มแม่น้าโขง และ สามเหลี่ยมเศรษฐกิจ โดยมองโอกาสของจังหวัดระนองในการเติบโตทางเศรษฐกิจการขนส่งหรือเป็น จุดศูนย์กลางในการเชื่อมต่อกับประเทศต่างๆ 1 0โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 12. 5.2 โอกาสด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เส้นทางรถไฟความเร็วสูง ที่รัฐบาลจีนเสนอให้มีการพัฒนาและเชื่อมต่อภูมิภาคจากจีนจนถึง ประเทศสิงคโปร์ซึ่งจะทาให้ไทยได้ประโยชน์ในการประหยัดเวลาในการขนส่งสินค้าทางเรือไปยัง ตลาดซึ่งอยู่ในประเทศจีนหรือในยุโรปได้โดยจะใช้เวลาเพียง 7 วัน ซึ่งทาให้สามารถลดต้นทุน การขนส่งได้ 20-25 % ซึ่งประเทศไทยได้มีแผนการรับรองเขตเศรษฐกิจที่สี่แยกอินโดจีน จังหวัดพิษณุโลกเพื่อรองรับการเพิ่มศักยภาพ ความสามารถในการขนส่ง การพัฒนาท่าเรือทางฝั่งอันดามันเพื่อส่งเสริมให้มีการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจที่สอดคล้องกับ เส้นทางสายไหมใหม่ทางด้านใต้ และส่งเสริมให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่สอดคล้องกับการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่เกิดขึ้นตามแนวเส้นทางสายไหมที่พาดผ่าน ซึ่งแน่นอนว่าโอกาสการค้าจะ เจริญเติบโตขึ้นเพราะได้พิสูจน์ว่า “หากพื้นที่ใดมีการสร้างโครงสร้างพื้นฐานพื้นที่นั้นก็จะมีความ เจริญสูงขึ้น” บทสรุปและข้อเสนอแนะ ข้อเสนอของประเทศจีนในนโยบาย “หนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง (One belt, One road)” ได้รับ การตอบรับอย่างดีจากนานาประเทศ และคนจีนเองก็มองเห็นโอกาสการพัฒนาใหม่ของธุรกิจจีนใน ต่างประเทศ โดยจีนเป็นประเทศที่มีศักยภาพในการพัฒนาซึ่งขยายความร่วมมือในมหาสมุทรอินเดีย ทางด้านทะเลจีนได้และทะเลจีนตะวันออก รวมทั้งการเข้าไปในเอเชียกลางและพยายามที่จะเชื่อมให้ ภูมิภาคเอเชียมีการเชื่อมโยงกันมากขึ้น โดยการพยายามจะสร้างแนวคิด (concept)โดยการเน้น เฉพาะเรื่องประเด็นเศรษฐกิจ ภายใต้แนวคิด ทุกฝ่ายได้ผลประโยชน์ (win-win situation) ซึ่ง ข้อเสนอดังกล่าวนี้เรียกได้ว่าเป็น “มหาการทูตหรือมหาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ” ที่สร้าง ยุทธศาสตร์ให้กับประเด็นนโยบายต่างประเทศ ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ อธิการบดีวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต มีข้อแนะนาในทางปฏิบัติ โดยประเทศไทยจะได้ประโยชน์จากนโยบายหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (One belt, One road) สิ่งที่น่าสนใจต่อประเทศไทยคือพื้นที่ในลักษณะภูมิรัฐศาสตร์ของประเทศไทย ซึ่งอยู่ระหว่างสองมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย เพราะฉะนั้นประเทศไทยจึงต้องใช้ 1 1โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 13. ประโยชน์จาก “สมุทรานุภาพทางทะเล” ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ แต่ในปัจจุบัน ประเทศไทยยังใช้ยุทธศาสตร์ด้านนี้น้อย ประกอบกับประเทศไทยต้องมีมุมมองในการหาประโยชน์ จากการเชื่อมโยงผ่านเส้นทางรถไฟความเร็วสูง (high speed train) ที่ผ่านไทยซึ่งเป็นจุดศูนย์กลาง ในการเชื่อมต่อและเส้นทางรถไฟจะไปสิ้นสุดที่ประเทศสิงคโปร์ นอกจากนี้ประเด็นนโยบายต่างประเทศของประเทศไทยต้องปรับเปลี่ยนโดยเริ่มจากการ เปลี่ยนกระบวนทัศน์ ((Paradigm) ในการพยายามก้าวขึ้นสู่ “มหาอานาจขนาดกลาง (middle power)” ในมิติเศรษฐกิจและการเจรจาเวทีระหว่างประเทศ ในสังคมบริบทการเมืองเศรษฐกิจโลก มหาอานาจซึ่งสลับก้าวขึ้นมาเป็นผู้นาของโลก ระหว่างจีนกับสหรัฐฯ ซึ่งแน่นอนอยู่แล้วว่าตอนนี้จีน กาลังผลักดันข้อเสนอนโยบายหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (One belt, One road) เพื่อก้าวมาสู่การเป็น ผู้นาโลก ประกอบกับประเทศไทยต้องคานึงถึงการรักษาสมดุลระหว่างจีนกับสหรัฐฯ อย่างไรก็ตาม ข้อเสนอ One Belt, One Road ต้องคาถึงข้อสงวนประเด็นอานาจอธิปไตย เหนือดินแดน ประเด็นด้านความมั่นคงของนานาประเทศที่มีความกังวล ควรพิจารณาอย่างรอบคอบ ว่า ปัจจุบันจีนใช้นโยบายเส้นทางสายไหมใหม่เพื่อขับเคลื่อนเป้าหมายใดอย่างแท้จริง โดย แผนพัฒนาเส้นทางสายไหมใหม่ต้องครอบคลุมหลายมิติทั้งทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และ วัฒนธรรม ซึ่งนโยบายOne Belt, One Road อาจเป็นโครงกาสาคัญ ที่รัฐบาลจีนใช้กลยุทธ์แบบ ทุกฝ่ายได้ผลประโยชน์ (win-win situation) เพื่อผลักดันให้จีนขึ้นเป็นหาอานาจอันดับหนึ่งของโลก ในอนาคต 1 2โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 14. เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ถอดความและเรียบเรียง: นายวีรวิชญ์ เอี่ยมแสง ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064 ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์ ท่านสมปอง สงวนบรรพ์ นายชัยรัตน์ พรทิพย์วรเวทย์ นาวาเอกวชิรพร วงศ์นวครสว่าง นายนพพร เทพสิทธรา