SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 11
Descargar para leer sin conexión
1
นำเสนอในเวทีวิชำกำรเรื่อง “นำเสนอควำมก้ำวหน้ำงำนวิจัยภำยใต้โครงกำรคลังปัญญำฯ” จัดโดยโครงกำรคลังปัญญำเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทย
ในยุคบูรพำภิวัตน์ วิทยำลัยรัฐกิจ มหำวิทยำลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิสถำบันสร้ำงสรรค์ปัญญำสำธำรณะ โดยกำรสนับสนุนของสำนักงำนกองทุน
สนับสนุนกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ (สสส.) ในวันอำทิตย์ที่ 28 ธันวำคม 2557 ณ ห้องประชุมลีลำวดี โรงแรมรำมำกำร์เด้นส์ กรุงเทพฯ
รายงานความก้าวหน้า
เรื่อง ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
(Social Capital and Thailand Reform)
รองศาสตราจารย์ สายฝน สุเอียนทรเมธี
วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
บทที่ 1
บทนา
1.1 หลักการและเหตุผล
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ได้กาหนดให้สภาปฏิรูป
แห่งชาติมีหน้าที่ศึกษาและให้ข้อเสนอแนะเพื่อให้เกิดการปฏิรูปในด้านต่าง ๆ เพื่อให้การปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมีความเหมาะสมกับสภาพสังคมไทย มีระบบการ
เลือกตั้งที่สุจริตและเป็นธรรม มีกลไกป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบที่มีประสิทธิภาพ
ขจัดความเหลื่อมล้าและสร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ทาให้
กลไกของรัฐสามารถให้บริการประชาชนได้อย่างทั่วถึง สะดวก รวดเร็ว และมีการบังคับใช้กฎหมายอย่าง
เคร่งครัด (สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรสานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2557)
สภาปฏิรูปแห่งชาติ หรือ สปช. ตั้งขึ้นตามมาตรา 27 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ให้มีสภาปฏิรูปแห่งชาติ ทาหน้าที่ศึกษาและเสนอแนะแนวทางเพื่อ
การปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ คือ (1) การเมือง (2) การบริหารราชการแผ่นดิน (3) กฎหมายและ
กระบวนการยุติธรรม (4) การปกครองท้องถิ่น (5) การศึกษา (6) เศรษฐกิจ (7) พลังงาน (8) สาธารณสุข
และสิ่งแวดล้อม (9) สื่อสารมวลชน (10) สังคม (11) อื่น ๆ พร้อมเสนอความเห็นต่อคณะกรรมาธิการ
เพื่อประโยชน์ในการจัดทาร่างรัฐธรรมนูญ สปช. ประกอบด้วย สมาชิกจานวนไม่เกิน 250 คน จะเห็นได้
ว่า ประเทศไทยยังจาเป็นต้องปฏิรูปในหลายมิติเพื่อให้การพัฒนาประเทศเป็นไปเพื่อความเท่าเทียม
ความเป็นธรรม ความเจริญก้าวหน้าทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และด้านการเมือง อีกทั้ง
ปัญหาหลายเรื่องที่จาเป็นต้องได้รับการแก้ไข อาทิ ปัญหาความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจ ปัญหายาเสพ
ติด ปัญหาคอรัปชั่น ปัญหาเยาวชน ปัญหาความแตกแยกของประชาชนอันเป็นผลมาจากผลประโยชน์
2
ทางการเมือง ปัญหาสิ่งแวดล้อม อาทิ การจัดการขยะ การจัดการน้า ฯลฯ ปัญหาการศึกษาที่มุ่งแต่การ
แข่งขันไม่สนใจความรู้และการสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ ปัญหาการมีวินัยของคนไทย ปัญหาสังคมอื่นๆ ที่
ส่งผลต่อภาพรวมของสังคมไทย จากปัญหาเหล่านี้ประจวบเหมาะกับนโยบายการปฏิรูปประเทศของ
คณะรักษาความสงบแห่งชาติเร่งให้เกิดการเสนอแนวทางการปฏิรูปประเทศเพื่อหาทางออกให้กับ
ประเทศ
ในมุมมองทางสังคมเล็งเห็นความสาคัญของการใช้ทุนทางสังคมเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย เรา
จะเห็นว่าประเทศไทยได้พยายามปฏิรูปประเทศมาหลายครั้งเมื่อเกิดปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง
โดยการแก้ไขกฎหมายรัฐธรรมนูญ หรือ พยายามแก้ไขลงไปที่กลไกทางสังคมทางด้านการเมือง เช่น
การแก้ไขถึงที่มาของของสมาชิกสภาผู้แทน สมาชิกวุฒิสภา ผู้ที่ได้รับอานาจจากการเลือกตั้งเพื่อไป
แก้ไขปัญหา และการบริหารประเทศ แต่การแก้ไขด้วยวิธีนี้ดาเนินการมาหลายทศวรรษ อาจกล่าวได้ว่า
ตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 มาด้วยซ้า ความขัดแย้งทางการเมือง การแตกแยกของ
สังคม ปัญหาความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจดูเหมือนจะทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้น เป็นการสะท้อนอย่างมีนัย
ยะว่าการแก้ไขที่กลไกทางการเมืองผ่านมาอาจจะไม่ใช่คาตอบที่แท้จริง
งานวิจัยชิ้นนี้เห็นว่า มีข้อสมมติฐานว่า ทุนทางสังคมวัฒนธรรมน่าจะเป็นกลไกทางสังคมใน
การปฏิรูปประเทศ กล่าวคือการแก้ไขปัญหาในข้างต้นควรให้ความสาคัญกับรากฐานของสังคม
วัฒนธรรมไทย อาศัยรากฐานของสังคมวัฒนธรรมไทยเพื่อปฏิรูปประเทศไทย รากฐานที่เติบโตพร้อมๆ
กับสังคมที่พัฒนาขึ้น อาทิเช่น เครือข่ายความสัมพันธ์ทางสังคมที่ดารงอยู่ในรูปแบบต่างๆ ความสัมพันธ์
เชิงเครือญาติ กลุ่มทางสังคม องค์กรทางสังคม สถาบันทางสังคม มูลนิธิ ที่ประกอบด้วยประชาชนเป็น
ส่วนใหญ่ การปฏิรูปสังคมไทยควรหันมาให้บทบาทของกลุ่ม องค์กร และเครือข่ายทางสังคมเหล่านี้มี
บทบาทในการบริหารสังคมชุมชนที่อาศัยอยู่ รากฐานของสังคมวัฒนธรรมดังกล่าวอาจจะเรียกได้ว่าคือ
ทุนทางสังคม
การศึกษาและพัฒนาแนวคิดว่าด้วยทุนทางสังคมและวัฒนธรรมในสังคมไทยมีมาเกือบสอง
ทศวรรษ โดยเฉพาะการอธิบายว่าทุนทางสังคมและวัฒนธรรมเป็นตัวแปรสาคัญในการสร้างความ
เข้มแข็งชุมชน สังคม การมีอยู่ของทุนทางสังคมและวัฒนธรรมจะเสริมสร้างการปกครองส่วนท้องถิ่นหรือ
การพัฒนาประชาธิปไตย จนกระทั่งสามารถนาเสนอเป็นสมมุติฐานได้ว่า หากสังคมใดที่มีทุนทางสังคม
และวัฒนธรรมมากจะสามารถฟื้นฟู ช่วยเหลือ และพัฒนาสังคมและชุมชนนั้นๆได้เร็วและมีประสิทธิภาพ
มากกว่าชุมชนและสังคมที่ไม่มีทุนทางสังคมและวัฒนธรรม ข้อสมมุติดังกล่าวนาไปสู่การศึกษาและ
พัฒนาทุนทางสังคมและวัฒนธรรมทั้งที่มีอยู่เดิมแล้วในชุมชนสังคมและการสร้างทุนทางสังคมและ
วัฒนธรรมขึ้นมาใหม่โดยเฉพาะในแวดวงของนักพัฒนาชุมชน นักพัฒนาสังคม นักส่งเสริมสุขภาวะ นัก
สังคมสงเคราะห์ รวมไปถึงนักรัฐศาสตร์ที่สนใจการพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่น จนกระทั่งมีความ
พยายามในการสร้างตัวชี้วัดทุนทางสังคมและวัฒนธรรมว่ามีอยู่จริงหรือไม่ในสังคมไทย และหากมีอยู่
จริงแต่มีความแตกต่างกันในแต่ละสังคมจะส่งผลต่อระดับการพัฒนาประชาธิปไตยหรือไม่ หรือ การ
ปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นๆ เข้มแข็งจริงหรือไม่ สามารถบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สามารถ
ตอบสนองความต้องการและปัญหาของประชาชนได้อย่างแท้จริงหรือไม่
3
หลังปี พ.ศ.2540 ทุนทางสังคมและวัฒนธรรมในสังคมไทยถูกนามาใช้และถูกสร้างขึ้นเพื่อแก้ไข
ปัญหาเศรษฐกิจของประเทศอันเนื่องมาจากวิกฤติเศรษฐกิจ โดยเฉพาะแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของชุมชน
มีการสนับสนุนงบประมาณให้ชุมชนให้พัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในรูปแบบต่างๆ เช่น เครือข่าย
สวัสดิการชุมชน เครือข่ายป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เครือข่ายอาชีพ เครือข่ายร่วมวัย เครือข่าย
ส่งเสริมสุขภาพชุมชน เครือข่ายรักษาสิ่งแวดล้อม เครือข่ายอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม เครือข่ายพลเมือง
เพื่อการพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่น ฯลฯ มีการนาทุนทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเป็นฐานหรือ
เป็นเครื่องมือในการพัฒนาท้องถิ่น การสร้างความร่วมมือ การสร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของ การสร้าง
อาชีพและรายได้ แม้กระทั่งเป็นเครื่องมือหนึ่งในการสร้างพลังให้กับสังคมสูงวัย
จนกระทั่งปัจจุบัน การสร้างและการใช้ทุนทางสังคมและวัฒนธรรมยังเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วย
ในแวดวงวิชาการกลุ่มหนึ่งมีความเชื่อว่า ทุนทางสังคมและวัฒนธรรมยังเป็นเงื่อนไขของสังคมไทยที่
สาคัญในการพัฒนาประเทศและสามารถแก้ไขวิกฤติทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และ
สิ่งแวดล้อม
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีโจทย์ที่สาคัญหาสองประการ ประการแรก ทุนทางสังคมและวัฒนธรรม
เดิมที่มีอยู่แล้วเราจะสามารถนามาใช้ประโยชน์ในการปฏิรูปประเทศไทยได้จริงหรือไม่ อย่างไร ประการ
ที่สอง เราจะสร้างทุนทางสังคมวัฒนธรรมในรูปแบบใดเพื่อเป็นกลไกในการปฏิรูปประเทศไทย อย่างไร
โดยเริ่มจากการสารวจโมเดลที่ดีของการใช้ทุนทางสังคมวัฒนธรรมในการแก้ไขปัญหาทั้งในและ
ต่างประเทศ และศึกษาเพื่อตอบโจทย์ดังกล่าว โดยคาดว่าข้อเสนอของโครงการวิจัยจะเป็นประโยชน์
สาหรับการปฏิรูปประเทศไทยในปัจจุบัน
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ
1) เพื่อศึกษาสารวจโมเดลที่ดีของการใช้ทุนทางสังคมวัฒนธรรมในการแก้ไขปัญหาสังคมทั้งจาก
ประสบการณ์ในและต่างประเทศ
2) เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิรูปประเทศไทยด้วยทุนทางสังคมวัฒนธรรมในด้านการปกครอง
ท้องถิ่นและด้านสังคมในระดับกลไกรัฐและระดับกลไกเสริมรัฐ
1.3 ขอบเขตโครงการ
1) ขอบเขตเนื้อหา ประกอบด้วย (1) การสารวจแนวคิด สถานะ ลักษณะรูปธรรมของทุนทาง
สังคมวัฒนธรรม (2) สารวจโมเดลที่ดีของการใช้ทุนทางสังคมวัฒนธรรมในการแก้ไขปัญหาสังคมทั้งจาก
ประสบการณ์ในและต่างประเทศ (3) เสนอแนะแนวทางในการประยุกต์ใช้ทุนทางสังคมวัฒนธรรมในการ
ปฏิรูปประเทศไทยในด้านการปกครองท้องถิ่นและด้านสังคมในระดับกลไกรัฐและระดับกลไกเสริมรัฐ
2) การรวบรวมข้อมูล การศึกษาวิจัยครั้งนี้อาศัยระเบียบวิธีเชิงคุณภาพ โดยการรวบรวมข้อมูล
ให้วิธี ดังนี้
- การศึกษาเอกสาร จากงานวิจัย หนังสือ ที่ได้เสนอแนวคิดเรื่องทุนทางสังคมวัฒนธรรมเพื่อ
สารวจสถานะของแนวคิด ทั้งเอกสารภาษาไทยและต่างประเทศ
4
- จากการสัมภาษณ์เจาะลึก นักวิชาการ นักคิด นักพัฒนา นักเคลื่อนไหวทางสังคมของ
สังคมไทยที่มีประสบการณ์การทางานกับทุนทางสังคมและมีประสบการณ์การใช้ทุนทางสังคมในการ
แก้ไขปัญหาสังคม อาทิ ศาสตราจารย์ นพ.ประเวศ วะสี, รองศาสตราจารย์ ดร.วรวุฒิ โรมรัตนพันธ์, รอง
ศาสตราจารย์ ปาริชาติ วลัยเสถียร, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมพันธ์ เตชะอธิก, อาจารย์มุกดา อินต๊ะสาร
ฯลฯ
1.4 ระยะเวลาในการดาเนินโครงการ
ระยะเวลาในการดาเนินโครงการ 6 เดือน
- เดือนที่ 1 ทบทวนและนาเสนอผลการทบทวนวรรณกรรมเบื้องต้น ภายในเดือน
ธันวาคม 2557
- เดือนที่ 1-4 ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2557 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ 2558 ศึกษาเพื่อเสนอ
รูปแบบของกลไกทุนทางสังคมในระดับโครงสร้างสังคมไทยเพื่อให้ระบุในกฎหมาย
ระดับชาติ อาทิ ด้านการปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้สอดคล้องกับระยะเวลาในการ
ปฏิรูปประเทศไทย
- เดือนที่ 4-6 ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2558 ถึง เดือนพฤษภาคม 2558 เพื่อเสนอแนว
ทางการสร้างกลไกทุนทางสังคมในการแก้ไขปัญหาสังคมและปัญหาอื่นๆ ซึ่งต้องอาศัย
การศึกษาตัวอย่างที่ดีที่ปรากฏอยู่ในภูมิภาคต่างๆของสังคม
1.5 ผลผลิต(Output)
- นาเสนอผลการทบทวนวรรณกรรมเบื้องต้น
- รายงานและนาเสนอผลการศึกษารูปแบบของกลไกทุนทางสังคมในระดับโครงสร้าง
สังคมไทยเพื่อให้ระบุในกฎหมายระดับชาติเบื้องต้น (ความยาวประมาณ 4-6 หน้า)
- รายงานและนาเสนอโครงการวิจัยเรื่อง ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย เพื่อเสนอ
แนวทางการสร้างกลไกทุนทางสังคมในการแก้ไขปัญหาสังคมและปัญหาอื่นๆ (ความยาว
ประมาณ 80-100 หน้า)
- เอกสาร Policy Brief 1 ฉบับ (ความยาว 4 หน้า)
1.6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) ทราบสถานะ ลักษณะรูปธรรม ของทุนทางสังคมวัฒนธรรม และโมเดลที่ดีของการใช้ทุนทาง
สังคมวัฒนธรรมในการแก้ไขปัญหาสังคมทั้งจากประสบการณ์ในและต่างประเทศ
2) ข้อเสนอแนะแนวทางทางการปฏิรูปประเทศไทยด้วยทุนทางสังคมวัฒนธรรมในด้านการ
ปกครองท้องถิ่นและด้านสังคมในระดับกลไกรัฐและระดับกลไกเสริมรัฐ
5
บทที่ 2
ทบทวนประสบการณ์การใช้ทุนทางสังคมในการแก้ไขปัญหาสังคมต่างประเทศ
2.1 ประสบการณ์ประเทศญี่ปุ่น
ทุนทางสังคมในประเทศญี่ปุ่น มีพัฒนาการควบคู่มากับพัฒนาการทางสังคมการเมืองการ
ปกครองของประเทศ ตั้งแต่ญี่ปุ่นมีระบอบการปกครองแบบศักดินา (โชกุน) และคลี่คลายมาถึงการ
ปกครองเป็นแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (ปฏิวัติเมจิ) กล่าวคือ พัฒนาทางสังคมการเมืองการปกครอง
ของญี่ปุ่นส่งผลต่อการก่อตัวของทุนทางสังคมและการสั่งสมทุนทางสังคม ญี่ปุ่นสั่งสมและรักษาทุนทาง
สังคมโดยกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมผ่านระบบครอบครัว ระบบการศึกษา ระบบการปกครอง
และระบบสังคม
2.1.1 การก่อตัวและการให้ความหมาย “ทุนทางสังคม” ในประเทศญี่ปุ่น
การศึกษาของอะกิฮิโร่ โอกาวา (Akihiro Ogawa : 2005) ยืนยันว่าประชาสังคมกับทุนทางสังคม
ในประเทศญี่ปุ่นเป็นเรื่องเดียวกัน โดยกล่าวว่า มันอันตรายมากหากการศึกษาประชาสังคมโดยไม่
พิจารณารากฐานของ “ธรรมเนียมปฏิบัติ ความเชื่อและระบบคุณค่า” ในบริบทของประชาสังคม
โดยเฉพาะในประเทศญี่ปุ่น ธรรมเนียมปฏิบัติ ความเชื่อและระบบคุณค่าในความหมายของโอกาวาถือ
เป็นทุนทางสังคม
ประเทศญี่ปุ่นมีการสั่งสมทุนทางสังคมในหลายลักษณะ ในขณะเดียวกันระบบแบบแผนทาง
สังคมที่เกิดขึ้นในสังคมญี่ปุ่นในแต่ละช่วงพัฒนาการมีบทบาทในการขัดเกลาทางสังคม ก่อรูปตัวตน
ความเป็นคนญี่ปุ่นที่มีลักษณะพิเศษ โดยพิจารณาผ่าน 3 ยุคสมัย คือ การจัดระเบียบทางสังคมในยุค
ศักดินา ยุคที่ต้องเผชิญกับตะวันตก และในช่วงสงครามโลกครั้งที่ ทั้งสามยุคมีการเปลี่ยนทั้งทาง
การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
จากรากฐานของสังคมในอดีตเป็นสิ่งบ่งบอกถึงที่มาของจริยธรรมของคนญี่ปุ่นในปัจจุบันหลาย
ด้าน โดยเฉพาะจริยธรรมในเรื่องความจงรักภักดีและความซื่อสัตย์ การเลี้ยงดูบุตรในบ้านให้มีความ
เคร่งครัด มีมารยาทที่เหมาะสม การมัธยัสถ์ การอดทน การสร้างวินัยให้แก่ตนเอง ซึ่งต่อมาจริยธรรม
เหล่านี้กล่อมเกลาให้คนญี่ปุ่นมีคุณสมบัติเฉพาะที่เป็นเงื่อนไขสาคัญในการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ
โดยเฉพาะบทบาทของโชกุน การจัดระเบียบสังคมญี่ปุ่นในช่วงยุคศักดินามาจากรากฐานทางจริยธรรม
ในลัทธิขงจื้อและการวางระบบการศึกษาของชนชั้นที่แตกต่างกันระหว่างไดเมียว ซามูไร พ่อค้า สามัญ
ชนทั่วไป ญี่ปุ่นก่อนที่จะเผชิญหน้ากับสังคมสมัยใหม่ โชกุน 3 คนมีบทบาทสาคัญมากต่อการรวม
ประเทศ ได้แก่ โอดะ โนบุนางะ(ค.ศ.1534-1582) โทโยโทมิ ฮิเดโยชิ (ค.ศ.1536-1601) และโทะคุงาวะ อิ
เอะยะสุ (ค.ศ.1542-1616) โดยเฉพาะกระบวนการสร้างสานึกความเป็นชาติ นอกจากนี้ในยุคศักดินายัง
ได้รับอิทธิพลจากลัทธิขงจื้อ อิทธิพลของคุณธรรมแบบขงจื้อ หลักจริยธรรมสาคัญที่เน้นในศาสนาขงจื้อ
คือ ความกตัญญู เน้นความสาคัญของศรัทธาและความจงรักภักดี (Loyalty) ซึ่งปรากฎในหนังสือคา
สอนของขงจื้อที่มีการเผยแพร่ในญี่ปุ่นตั้งแต่ปลายคริสตศตวรรษที่ 8 เด็กทุกคนที่สามารถอ่านหนังสือได้
สามารถท่องได้อย่างขึ้นใจ ในคาสอนของขงจื้อแบบฉบับญี่ปุ่นลาดับความสาคัญในเรื่องความกตัญญูกับ
6
ความจงรักภักดี เจ้านายจะต้องมาก่อนครอบครัว นั่นคือการจงรักภักดีต่อเจ้านายต้องอยู่เหนือความ
กตัญญูรู้คุณต่อบิดามารดา และอิทธิพลของวัฒนธรรมการศึกษาชนชั้นซามูไร ก็เป็นส่วนหนึ่งในการ
สั่งสมทุนทางสังคมของประเทศญี่ปุ่น เนื่องจากประเทศญี่ปุ่นเป็นเกาะเล็กและมีประชากรมาก ดังนั้น
การอยู่รวมกันจะต้องมีระเบียบวินัยเคร่งครัด ชนชั้นซามูไรต้องทาตัวเป็นแบบอย่างในเรื่องของความ
ประพฤติให้แก่ชนชั้นอื่นๆ
แม้สังคมญี่ปุ่นจะเปลี่ยนจากสังคมศักดินาเป็นสังคมแบบทุนนิยมก็ตาม แต่ด้วยรากฐานของ
สังคมศักดินาที่อาศัยแนวทางตามหลักการปฏิบัติของลัทธิขงจื้อ ยังส่งผลมายังยุคสมัยของการปฏิวัติเมจิ
โดยเฉพาะความมีระเบียบวินัย มีความเคร่งครัดรอบคอบ ระบบทหารได้ฝึกให้กับคนในระดับล่างซึ่งเป็น
คนส่วนใหญ่ของประเทศเพื่อสร้างความพร้อมในการต่อต้านต่างชาติ และมีเป้าหมายในการสร้างชาติที่
ชัดเจน
คนญี่ปุ่นรักครอบครัว ให้ความสาคัญกับครอบครัวญี่ปุ่น เกิดขึ้นในช่วงก่อนทศวรรษที่ 1980
และในช่วงทศวรรษที่ 1980 ครอบครัวญี่ปุ่นแตกสลายเพราะคนญี่ปุ่นให้ความสาคัญกับบริษัท บริษัท
สาคัญกว่าครอบครัว และหลังจากที่ต้องผิดหวังกับบริษัทหลังฟองสบู่แตกจึงหันกลับมาให้ความสาคัญ
กับครอบครัวอีกครั้ง คนก็ไม่จงรักภักดีต่อบริษัท และก็ไม่จงรักภักดีต่อประเทศชาติ แต่จงรักภักดีต่อ
ครอบครัว ต่อสมาชิกในกลุ่มตัวเองมากขึ้น อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ (2548) อธิบายความสานึกของ
ความเป็น “กลุ่ม” ว่าเกิดจากปัจจัยหลักเพียงแค่การที่ชาวบ้านญี่ปุ่นอยู่ในระบบเศรษฐกิจแบบ
เกษตรกรรมและสามารถปรับศาสนาเพื่อตอบสนองการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขเท่านั้นไม่เพียงพอ เพราะ
เงื่อนไขจากทางด้านรัฐของญี่ปุ่นก็เป็นพลังที่สาคัญมากอีกด้านหนึ่งที่ประกอบกันทาให้สานึกในความ
เป็น “กลุ่ม” ฝังลึกอยู่ในระบบอารมณ์ความรู้สึกนึกคิดของคนญี่ปุ่นแม้ในปัจจุบัน รัฐมีความสาคัญในการ
ทาให้ความสานึกในความเป็น “กลุ่ม” ของคนญี่ปุ่นมั่นคงแน่นแฟ้นโดยเฉพาะความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับ
หมู่บ้าน จากรากฐานของการดารงชีวิตด้วยระบบการผลิตเกษตรกรรมและพลังของรัฐที่ได้หล่อหลอมให้
ความสานึกของความเป็น “กลุ่ม” ทาให้สานึกนี้กลายเป็นเรื่องที่ฝังอยู่ในระบบอารมณ์ความรู้สึกนึกคิด
ของชาวญี่ปุ่นในสังคมโดยทั่วไป การสังกัด “กลุ่ม” ถูกสร้างให้เป็นหลักการของการดารงชีวิต ไม่ใช่เพียง
แค่การมีกลุ่มให้สังกัดเท่านั้น หากแต่การสังกัด “กลุ่ม” มีความหมายถึงคนคนนั้นมีพันธกิจและภารกิจ
(obligation and mission) ต่อกลุ่มไปพร้อม ๆ กัน สานึกในพันธกิจและภารกิจของคนคนหนึ่งที่มีต่อกลุ่ม
จะเรียกร้องให้คนคนนั้นเสียสละให้แก่กลุ่มเต็มตามกาลังที่ตนมีและตามที่กลุ่มเรียกร้อง สานึกเช่นนี้จะถูก
ปลูกฝังสืบต่อกันมาจนแม้ในปัจจุบัน ความสานึกนี้ฝังแน่นอยู่ในคาว่า “กิริ” และ “นินโจ” ซึ่งยังคงมีพลัง
อยู่ในระบบความรู้สึกนึกคิดของชาวญี่ปุ่นอย่างมากทีเดียว การถ่ายทอดทางสังคมซึ่งเน้นอยู่ที่ความเป็น
“กลุ่ม” ที่ดาเนินมาเป็นเวลานาน ทาให้ชาวญี่ปุ่นหมายรู้ได้เองว่าควรจะจัดวางตัวเองอย่างไรใน
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ความสานึกใน “กลุ่ม” เพื่อช่วยเหลือกัน ยังปรากฏในการรวมตัวของ NPO
ซึ่งมีอยู่จานวนมากในญี่ปุ่นปัจจุบันและมีบทบาทในการพัฒนาสังคมในหลายมิติ
จากการทบทวนในเบื้องต้นทุนทางสังคมในประเทศญี่ปุ่นอาจจะสามารถจาแนกตามการปรากฏ
ในสามลักษณะ
7
- ทุนทางสังคมในความหมายเชิงวัฒนธรรม (Cultural Perspectives) ได้แก่ การให้
ความสาคัญกับระบบคุณค่าทางสังคม อาทิ ความรับผิดชอบต่อสังคม ความมีวินัย การ
พึ่งตนเอง การสร้างวัฒนธรรมการเตรียมความพร้อม เป็นต้น
- ทุนทางสังคมในความหมายเชิงโครงสร้างทางสังคม (Social Organization) หมายถึง
องค์กรทางสังคมที่ปรากฏรูปธรรมในสังคมญี่ปุ่น อาทิ องค์กรที่ไม่แสวงหากาไร (NPOs)
สมาคมละแวกบ้าน คณะกรรมการพัฒนาชุมชน เป็นต้น
- ทุนทางสังคมในความหมายของกระบวนการ (Civil Society) หมายถึง กระบวนการ
เคลื่อนไหวทางสังคม (Social Movement) ในกรณีประเด็นสาธารณะต่างๆ เช่น เครือข่าย
สังคมปลอดภัย เป็นต้น
การศึกษาครั้งนี้ ทุนทางสังคมน่าจะจากัดขอบเขตเฉพาะความหมายในเชิงโครงสร้างทางสังคม
อาทิ กลุ่มทางสังคม องค์กรทางสังคม และเครือข่ายทางสังคม ที่มีอยู่ในสังคมญี่ปุ่นและมีบทบาททาง
สังคม การเมืองการปกครอง และการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ทั้งในระดับจังหวัด เทศบาล และหมู่บ้าน ซึ่ง
อาจจะอยู่รูปของคณะกรรมการ (Committee) สมาคม (Association) องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงหากาไร
(NPO) และ มูลนิธิ (Foundation) ฯลฯ เพื่อสะท้อนรูปธรรมโมเดลที่ดีของการใช้ทุนทางสังคมวัฒนธรรม
ในการแก้ไขปัญหาสังคม
2.1.2 ทุนทางสังคมในฐานะกลไกการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน
รัฐบาลท้องถิ่นญี่ปุ่นอาศัยสมาคมละแวกบ้าน (Neighborhood Association) เพื่อดูแลความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยภายในย่านละแวกบ้านโดยร่วมกันสร้างกฎ กติกาของชุมชนและรณรงค์ให้สมาชิกเข้า
ร่วมกิจกรรมบาเพ็ญสาธารณประโยชน์ อาทิ การทาความสะอาดชุมชน การก่อสร้างหรือการดูแลสิ่ง
อานวยความสะดวกสาธารณะ เช่น ศูนย์ชุมชน ถนนหนทาง แสงไฟตามถนน ต้นไม้ แม่น้าลาคลอง
ตลอดจนการจัดการจราจร การจัดเวรยามเพื่อเฝ้าระวังอัคคีภัยและขโมย การจัดส่งจดหมาย ข่าว รวมไป
ถึงการส่งเสริมกิจกรรมทางวัฒนธรรมท้องถิ่น อาทิ เทศกาลงานประเพณีของ ย่าน เป็นต้น รายได้ของ
สมาคมในการดาเนินกิจกรรมส่วนใหญ่มาจากค่าธรรมเนียมสมาชิก รองลงมาคืองบประมาณสนับสนุน
จากรัฐบาลท้องถิ่น อีกบทบาทสาคัญที่นอกเหนือจากการเป็นศูนย์กลางในการระดมกาลังสมาชิกให้ เข้า
ร่วมกิจกรรมพัฒนาชุมชนแล้ว คือการทางานเสมือนเป็น “สื่อกลาง” (intermediaries) ระหว่างภาครัฐ
(โดยเฉพาะรัฐบาลท้องถิ่น) กับชุมชน สมาคมละแวกบ้านมักเป็นช่องทาง หลักในการกระจายข่าวสาร
จากทางราชการสู่ชุมชน และในทิศทางกลับกันก็เป็นผู้รวบรวมความต้องการในพื้นที่และสื่อสารไปยัง
รัฐบาลท้องถิ่น แม้ว่าสมาคมจะไม่ได้มีบทบาทหน้าที่ โดยตรงในกระบวนการวางแผนของภาครัฐ แต่
บ่อยครั้งที่หน่วยงานราชการจะให้ความ สาคัญกับสาคัญกับประธานสมาคมในฐานะตัวแทนของชุมชน
รัฐบาลท้องถิ่นจึงมักใช้สมาคมละแวกบ้านและ “ต้นทุนทางสังคม” ของสมาชิกเป็นเครื่องมือในการ “เติม
เต็ม” ความต้องการของชุมชน
ตัวอย่างทุนทางสังคมในฐานะกลไกสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องถิ่น
ประเทศญี่ปุ่นในส่วนนี้นาเสนอ 3 รูปแบบ ได้แก่
8
(1) สมาคมละแวกบ้าน (Neighborhood Association)
(2) สภาพัฒนาชุมชน (Community Development Council)
(3) องค์กรไม่แสวงหากาไร (Non-Profit Organization)
ประเทศญี่ปุ่นอาศัย “สมาคมละแวกบ้าน” (Neighborhood Association) เป็นกลไกในการจัดการ
ชุมชน มีบทบทร่วมกันในการสร้างกฎกติกาของสังคมและรณรงค์ให้สมาชิกเข้าร่วมกิจกรรมบาเพ็ญ
ประโยชน์ และเป็นสื่อกลางระหว่างรัฐกับชุมชน สมาคมละแวกบ้านนี้ถือเป็นทุนทางสังคมที่มีอยู่ทุก
ชุมชนในญี่ปุ่น เมื่อเกิดภาวะวิกฤติโดยเฉพาะภัยพิบัติ สมาคมละแวกบ้านจะมีบทบาทสูงในการฟื้นฟู
ชุมชนและดูแลรักษาชีวิตผู้ประสบภัยในชุมชน บางชุมชนอาจจะมี สภาพัฒนาชุมชน (Community
Development Council) ทาหน้าที่เป็นพื้นที่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมได้แสดงความคิดเห็นและตัดสินใจใน
การวางแผนพัฒนาชุมชน แต่อย่างไรก็ตามสภาพัฒนาชุมชนนี้เกิดขึ้นตามกฎหมายผังเมือง ฉะนั้น สภา
นี้ยังมีหน้าที่ในการกาหนดผังเมือง ภูมิทัศน์ของชุมชน และนาไปหารือร่วมกับรัฐบาลท้องถิ่น นอกจากนี้
กลไกที่สนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมอีกรูปแบบในประเทศญี่ปุ่นและเห็นว่าเกิดขึ้นได้ไม่ยากลาบาก
คือ สมาคมผู้พักอาศัย (Resident Association) ซึ่งเป็นสมาคมที่มีบทบาทดูแลผู้ที่พักอาศัยด้วยกันเอง
และหากปัญหาใหญ่ขึ้นก็จะเสนอแนะแนวทางให้ท้องถิ่นดูแลแทน เช่น การสร้างพื้นที่กลางของเขตที่พัก
อาศัยเพื่อเป็นศูนย์กลางของกิจกรรมกลางของชุมชน เป็นต้น
มีงานวิจัยของผู้ศึกษาอย่างน้อยสองชิ้นที่สะท้อนบทบาททุนทางสังคมในการแก้ไขปัญหาวิกฤติ
ซึ่งในส่วนนี้ยกตัวอย่างงานศึกษาบางเล่มของผู้วิจัย อาทิ จากการศึกษาวิจัยเรื่อง “การสังเคราะห์องค์
ความรู้กระบวนการขัดเกลาทางสังคมของประเทศญี่ปุ่นที่ส่งผลต่อการเผชิญภาวะวิกฤติ” ของ สายฝน
สุเอียนทรเมธี และคณะ (2556) พบว่า ปัจจัยที่มีบทบาทต่อการบริหารจัดการภัยพิบัติของประเทศญี่ปุ่น
คือ ทุนทางกายภาพ ทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรม ทุนมนุษย์ และทุนการเงิน โดยเฉพาะกระบวนการ
ขัดเกลาทางสังคมขององค์กรทางสังคมและสถาบันทางสังคมที่ถือเป็นทุนทางสังคมของญี่ปุ่น ทาให้เกิด
วัฒนธรรมการรับมือกับภัยพิบัติ
จากการศึกษาวิจัยเรื่อง “ทุนทางสังคมกับการเสริมสร้างการปกครองท้องถิ่น การศึกษา
เปรียบเทียบประเทศไทย- ญี่ปุ่น – เกาหลีใต้” ของสายฝน สุเอียนทรเมธี และ รุ่งนภา เทพภาพ (2557)
สรุปว่า ทุนทางสังคมทางานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ ทุนทางสังคมสามารถสร้างได้และควร
ใช้ประโยชน์จากทุนทางสังคมในการเสริมสร้างการปกครองส่วนท้องถิ่น อันเนื่องจากทุนทางสังคมใน
รูปแบบองค์กรทางสังคมเป็นที่รวมของพลเมืองที่มีจิตสาธารณะ เป็นที่รวมของกลุ่มพลเมืองที่มีพลังใน
การรับผิดชอบต่อสาธารณะสูง และการใช้ทุนทางสังคมอย่างต่อเนื่องจะทาให้ทุนทางสังคมมีความ
เข้มแข็ง และส่งผลต่อความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมด้วย ส่วนการสร้างทุนทางสังคมในประเทศไทย
ที่มีสถานะเป็นกลุ่มชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรทางสังคมควรพัฒนาให้กลายเป็นนิติบุคคล ที่มีกฎหมาย
รองรับบทบาทหน้าที่ โดยการกากับดูแลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในแง่ของการกระจายอานาจใน
ประเทศไทยเห็นควรผลักดันให้เกิดความสาเร็จในการกระจายอานาจเชิงกิจการหลังจากที่ประเทศไทย
ประสบความสาเร็จในการกระจายอานาจเชิงพื้นที่มาแล้ว และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรสร้างความ
ร่วมมือในลักษณะ Matching Fund และ Matching Function กับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
9
และองค์กรที่ไม่แสวงหากาไร เพื่อพัฒนากิจการของท้องถิ่นบางภารกิจ ตลอดจนการปฏิรูปประเทศไทย
โดยใช้ทุนทางสังคมอันจะนาไปสู่สังคมที่เข้มแข็งต่อไป
2.2 ประสบการณ์ประเทศเกาหลีใต้
2.2.1 การก่อร่างสร้างตัวและพัฒนาของทุนทางสังคมในประเทศเกาหลีใต้
จากการทบทวนพัฒนาการของทุนทางสังคมในประเทศเกาหลีใต้ แทบจะแยกไม่ออกกับ
กระบวนการการต่อสู้ทางการเมืองซึ่งมีพัฒนาการมานับตั้งแต่ก่อนยุคสาธารณรัฐที่ต้องตกเป็นประเทศ
อาณานิคมของญี่ปุ่น จนกระทั่งได้รับเอกราชก่อตั้งประเทศขึ้นมา แต่แล้วก็ต้องเผชิญกับสงครามระหว่าง
คนเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์เดียวกัน ที่นาไปสู่การแบ่งแยกประเทศออกเป็นเกาหลีเหนือ และเกาหลีใต้ ตลอด
เรื่อยมาจนถึงยุคแห่งสาธารณรัฐ นับตั้งแต่มีบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญ ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491) มาตรา
117 ว่า “รัฐบาลท้องถิ่นทาหน้าที่ดูแลทุกข์สุขของประชาชนในท้องถิ่น โดยทาหน้าที่ในการจัดการด้าน
ทรัพย์สิน และการสร้างกฎระเบียบของตนเองเพื่อใช้ในการบริหารงานท้องถิ่นอย่างเป็นอิสระตามที่ระบุ
ไว้ในกฎหมายของชาติและในพระราชกฤษฎีกา” แต่บทบัญญัติดังกล่าวในรัฐธรรมนูญยังไม่ได้มีการ
ปฏิบัติที่บรรลุตามเป้าหมายอย่างจริงจัง จนกระทั่งมีการจัดให้มีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัด
นายกเทศมนตรี และสมาชิกสภาท้องถิ่นทุกระดับ โดยตรงจากประชาชนในท้องถิ่นขึ้นเป็นครั้งแรกใน ปี
1995 (พ.ศ. 2538) รัฐบาลท้องถิ่น/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงได้เปลี่ยนบทบาทจากการเป็นส่วนหนึ่ง
ของรัฐบาลกลาง หรือการบริหารราชการส่วนกลาง มาเป็นรัฐบาลท้องถิ่นที่ผู้นาถูกเลือกตั้งโดยตรงจาก
ประชาชนในพื้นที่ และเป็นภาคส่วนที่มีอานาจในการบริหารจัดการท้องถิ่นของตนเองโดยตรง และภาพ
ของการเคลื่อนไหวต่อสู้ของพลังมวลชนในรูปแบบต่างๆปรากฏอยู่อย่างชัดเจนในประวัติศาสตร์สังคม
เกาหลีใต้ พลังและการเคลื่อนไหวของมวลชนในนามของการขับเคลื่อนภาคประชาสังคมจึงเป็นทุนทาง
สังคมที่โดดเด่นในประเทศเกาหลีใต้ อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาโดยใช้กรอบของประเภทของทุนทาง
สังคมทั้ง 3 มิติ เช่นการอธิบายทุนทางสังคมในญี่ปุ่น พบว่า
- ทุนทางสังคมในความหมายเชิงวัฒนธรรม (Cultural Perspectives) ในบริบทของเกาหลี
ใต้ ทุนทางสังคมในความหมายเชิงวัฒนธรรม คือ การมีจิตสานึกทางการเมือง และการมีจิตสานึกแห่ง
การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน ทุนทางสังคมนี้เป็นรากฐานที่สาคัญที่ทาให้คนเกาหลีใต้มี
ลักษณะของการเป็นพลเมืองที่กระตือรือร้น (Active citizen)
- ทุนทางสังคมในความหมายเชิงโครงสร้างทางสังคม (Social Organization) ในบริบท
ของประวัติศาสตร์ทางการเมืองของเกาหลีใต้ พบว่า ทุนทางสังคมในเชิงกลุ่ม องค์กรทางสังคม มี
บทบาทสาคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาและการก้าวสู่สังคมประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ เป็นต้นว่า
องค์กรของนักศึกษา หรือองค์กรต่อต้านคอรัปชั่นและนักการเมืองที่ใช้อานาจไม่ชอบธรรมอย่าง People
Solidarity for Participation Democracy (PSPD) ส่วนในบริบทของการปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น ทุน
ทางสังคมที่เป็นกลุ่ม องค์กรทางสังคม ถูกสร้างและพัฒนาขึ้นเพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนงานของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น การก่อตั้งมูลนิธิสวัสดิการสังคมแห่งกรุงโซล (Seoul Welfare
10
Foundation) เพื่อเป็นกลไกการทางานด้านสวัสดิการที่เข้าถึง และสอดคล้องกับปัญหาความต้องการ
ด้านสวัสดิการสังคมที่แท้จริงของประชาชนในโซลที่ซึ่งเป็นมหานครขนาดใหญ่ลาดับต้นๆของโลก
- ทุนทางสังคมในความหมายของกระบวนการ (Civil Society) พลังมวลชนในการ
ขับเคลื่อนเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆในสังคมเกาหลีใต้ปรากฏอยู่อย่างโดดเด่น การขับเคลื่อน
ของพลังมวลชนเหล่านี้ถูกเรียกขานในนามของกระบวนการประชาสังคม ที่ประชาชนออกมาปกป้องสิทธิ
และช่วงชิงอานาจในการกาหนดชะตาชีวิตของตนเอง โดยไม่ยอมจานนให้รัฐ หรือชนชั้นนามีอานาจ
ควบคุมแต่ฝ่ายเดียว เช่น การเคลื่อนไหวของขบวนการนักศึกษาทางการเมือง, การเคลื่อนไหวของ
ขบวนการแรงงาน นอกจากนี้ในบริบทของการปกครองส่วนท้องถิ่น มิติเชิงกะบวนการที่สะท้อนความ
เป็นประชาสังคม คือ การสร้างกระบวนการที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม หรือ
การดาเนินงานของท้องถิ่น เป็นต้นว่า การสร้างการมีส่วนร่วมผ่านกลไกคณะทางาน, การสร้างเครือข่าย
การทางาน, การเปิดพื้นที่ทางกายภาพเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม
กรณีประเทศเกาหลีใต้ก็มีการสร้างมูลนิธิสวัสดิการแห่งมหานครโซล (Seoul Welfare
Foundation) ทาหน้าที่เป็นกลไกในการบริหารองค์กรปกครองของมหานครโซล ให้มูลนิธินี้เป็นสื่อกลาง
ระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับชุมชน เนื่องด้วยมหานครโซลมีพื้นที่ในเขตรับผิดชอบกว้างและ
ชุมชนสังคมมีความเป็นเมืองสูงจึงให้มูลนิธินี้ศึกษาวิจัยเพื่อทราบความต้องการและประเด็นปัญหาของ
ท้องถิ่นเพื่อให้เป็นนโยบายในการพัฒนาของมหานครโซล บทบาทหลักของมูลนิธินี้คือ การใช้
กระบวนการวิจัยเป็นตัวขับเคลื่อนนโยบายและการปฏิบัติงาน และ การพัฒนากระบวนการเสริมสร้าง
สวัสดิการที่เข้มแข็ง การดาเนินงานในลักษณะดังกล่าวช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและลด
แรงต่อต้านนโยบายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งกลไกนี้เหมาะสมกับการปกครองส่วนท้องถิ่น
ขนาดใหญ่ อาทิ มหานคร และ เทศบาลนคร
จากตัวอย่างในการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า ปรากฎการณ์การใช้ทุนทางสังคมในการแก้ไขปัญหา
ของประเทศมีให้เห็นได้ในบริบททางสังคมที่แตกต่างกัน ฉะนั้น การศึกษาครั้งนี้คาดว่า การเสนอกลไก
ทางสังคมในแต่ละระดับน่าจะมีรูปแบบที่เหมาะสมแตกต่างกัน และเป็นประโยชน์กับการปฏิรูปประเทศ
ไทยในปัจจุบัน
บรรณานุกรม
11
ทาเคโอะ โดอิ (2538). อะมะเอะ: แก่นแท้จิตใจคนญี่ปุ่น. แปลจาก Amae no Kozo. (มณฑา พิมพ์
ทอง แปลและเรียบเรียง) . กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตาราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
พรรณี ฉัตรพลรักษ์ (แปล) (2526). ญี่ปุ่น : การก่อตัวเป็นชาติสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พลายแสง เอกญาติ (แปล).( 2554). ญี่ปุ่นสมัยใหม่ : ความรู้ฉบับพกพา.กรุงเทพฯ : โอเพ่นเวิลล์ส.
สายฝน สุเอียนทรเมธี และ รุ่งนภา เทพภาพ. (2557). รายงานวิจัยเรื่อง “ทุนทางสังคมกับการเสริมสร้าง
การปกครองท้องถิ่น การศึกษาเปรียบเทียบประเทศไทย- ญี่ปุ่น – เกาหลีใต้”. เสนอ สถาบันสัญญา ธรรมศักดิ์
เพื่อประชาธิปไตย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สายฝน สุเอียนทรเมธี และคณะ. (2556). รายงานการศึกษาวิจัยเรื่อง “การสังเคราะห์องค์ความรู้
กระบวนการขัดเกลาทางสังคมของประเทศญี่ปุ่นที่ส่งผลต่อการเผชิญภาวะวิกฤติ” เสนอ ศูนย์คุณธรรม
(องค์กรมหาชน).
อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์.(2548). Japanization. กรุงเทพฯ : โอเพ่นบุ๊ค.
Akihiro Ogawa. When the NPO law sinks in : Japanese “Civil Society,” Shimin, and
neoliberalism. USJP Occasional Paper 05-10, Harvard University : 2005.
Pierre Bourdieu . (1986) .The forms of capital. In J. Richardson (Ed.) Handbook of Theory
and Research for the Sociology of Education. New York, Greenwood).
Robert Putnam (1993). Making Democracy Work: Civic Tradition in Modern
Italy. Princeton, NJ: Princeton University Place.
Sunhyuk Kim. (2007). Civil society and democratization in South Korea ใน Korean Society Civil
Society, democracy and the state. Edited by Charles K. Armstrong. Second Edition. Routledge: New
York.
Satoru OHSUGI. People and Local Government – Resident Participation in the Management
of Local Governments, Paper on the Local Government System and its Implementation in Selected
Fields in Japan No.1, from GRIPS website:
http://www3.grips.ac.jp/~coslog/activity/01/04/file/Bunyabetsu-1_en.pdf สืบค้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน
2557
Robert Pekkanen. Civil Society and its Regulators : Non Profit Organizations in Japan. Japan
Information Access Project, April 24, 2001
Kazunori Yamanoi. The Care for the Elderly in Sweden and in Japan. LUNDS UNIVERSITET.
1993. http://www.wao.or.jp/yamanoi/report/lunds/
Kiyoshi Adachi. The development of social welfare service in Japan in Susan Orpett Long.
Caring for the elderly in Japan and the US. New York: Routledge. 2000.
Hiroshi Igawa. Differences between Ideals or Objectives of Systems and Realities in Practice
in Japan. Paper on The Research Project on the Results of Decentralization Reform and
Foundations of Local Governance in Asian Countries, March 25, 2013

Más contenido relacionado

Más de Klangpanya

Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKlangpanya
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfKlangpanya
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfKlangpanya
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfKlangpanya
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....Klangpanya
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชKlangpanya
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีKlangpanya
 

Más de Klangpanya (20)

Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdf
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
 

รายงานความก้าวหน้า เรื่อง ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย

  • 1. 1 นำเสนอในเวทีวิชำกำรเรื่อง “นำเสนอควำมก้ำวหน้ำงำนวิจัยภำยใต้โครงกำรคลังปัญญำฯ” จัดโดยโครงกำรคลังปัญญำเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทย ในยุคบูรพำภิวัตน์ วิทยำลัยรัฐกิจ มหำวิทยำลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิสถำบันสร้ำงสรรค์ปัญญำสำธำรณะ โดยกำรสนับสนุนของสำนักงำนกองทุน สนับสนุนกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ (สสส.) ในวันอำทิตย์ที่ 28 ธันวำคม 2557 ณ ห้องประชุมลีลำวดี โรงแรมรำมำกำร์เด้นส์ กรุงเทพฯ รายงานความก้าวหน้า เรื่อง ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย (Social Capital and Thailand Reform) รองศาสตราจารย์ สายฝน สุเอียนทรเมธี วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บทที่ 1 บทนา 1.1 หลักการและเหตุผล รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ได้กาหนดให้สภาปฏิรูป แห่งชาติมีหน้าที่ศึกษาและให้ข้อเสนอแนะเพื่อให้เกิดการปฏิรูปในด้านต่าง ๆ เพื่อให้การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมีความเหมาะสมกับสภาพสังคมไทย มีระบบการ เลือกตั้งที่สุจริตและเป็นธรรม มีกลไกป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบที่มีประสิทธิภาพ ขจัดความเหลื่อมล้าและสร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ทาให้ กลไกของรัฐสามารถให้บริการประชาชนได้อย่างทั่วถึง สะดวก รวดเร็ว และมีการบังคับใช้กฎหมายอย่าง เคร่งครัด (สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรสานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2557) สภาปฏิรูปแห่งชาติ หรือ สปช. ตั้งขึ้นตามมาตรา 27 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ให้มีสภาปฏิรูปแห่งชาติ ทาหน้าที่ศึกษาและเสนอแนะแนวทางเพื่อ การปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ คือ (1) การเมือง (2) การบริหารราชการแผ่นดิน (3) กฎหมายและ กระบวนการยุติธรรม (4) การปกครองท้องถิ่น (5) การศึกษา (6) เศรษฐกิจ (7) พลังงาน (8) สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม (9) สื่อสารมวลชน (10) สังคม (11) อื่น ๆ พร้อมเสนอความเห็นต่อคณะกรรมาธิการ เพื่อประโยชน์ในการจัดทาร่างรัฐธรรมนูญ สปช. ประกอบด้วย สมาชิกจานวนไม่เกิน 250 คน จะเห็นได้ ว่า ประเทศไทยยังจาเป็นต้องปฏิรูปในหลายมิติเพื่อให้การพัฒนาประเทศเป็นไปเพื่อความเท่าเทียม ความเป็นธรรม ความเจริญก้าวหน้าทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และด้านการเมือง อีกทั้ง ปัญหาหลายเรื่องที่จาเป็นต้องได้รับการแก้ไข อาทิ ปัญหาความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจ ปัญหายาเสพ ติด ปัญหาคอรัปชั่น ปัญหาเยาวชน ปัญหาความแตกแยกของประชาชนอันเป็นผลมาจากผลประโยชน์
  • 2. 2 ทางการเมือง ปัญหาสิ่งแวดล้อม อาทิ การจัดการขยะ การจัดการน้า ฯลฯ ปัญหาการศึกษาที่มุ่งแต่การ แข่งขันไม่สนใจความรู้และการสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ ปัญหาการมีวินัยของคนไทย ปัญหาสังคมอื่นๆ ที่ ส่งผลต่อภาพรวมของสังคมไทย จากปัญหาเหล่านี้ประจวบเหมาะกับนโยบายการปฏิรูปประเทศของ คณะรักษาความสงบแห่งชาติเร่งให้เกิดการเสนอแนวทางการปฏิรูปประเทศเพื่อหาทางออกให้กับ ประเทศ ในมุมมองทางสังคมเล็งเห็นความสาคัญของการใช้ทุนทางสังคมเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย เรา จะเห็นว่าประเทศไทยได้พยายามปฏิรูปประเทศมาหลายครั้งเมื่อเกิดปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง โดยการแก้ไขกฎหมายรัฐธรรมนูญ หรือ พยายามแก้ไขลงไปที่กลไกทางสังคมทางด้านการเมือง เช่น การแก้ไขถึงที่มาของของสมาชิกสภาผู้แทน สมาชิกวุฒิสภา ผู้ที่ได้รับอานาจจากการเลือกตั้งเพื่อไป แก้ไขปัญหา และการบริหารประเทศ แต่การแก้ไขด้วยวิธีนี้ดาเนินการมาหลายทศวรรษ อาจกล่าวได้ว่า ตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 มาด้วยซ้า ความขัดแย้งทางการเมือง การแตกแยกของ สังคม ปัญหาความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจดูเหมือนจะทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้น เป็นการสะท้อนอย่างมีนัย ยะว่าการแก้ไขที่กลไกทางการเมืองผ่านมาอาจจะไม่ใช่คาตอบที่แท้จริง งานวิจัยชิ้นนี้เห็นว่า มีข้อสมมติฐานว่า ทุนทางสังคมวัฒนธรรมน่าจะเป็นกลไกทางสังคมใน การปฏิรูปประเทศ กล่าวคือการแก้ไขปัญหาในข้างต้นควรให้ความสาคัญกับรากฐานของสังคม วัฒนธรรมไทย อาศัยรากฐานของสังคมวัฒนธรรมไทยเพื่อปฏิรูปประเทศไทย รากฐานที่เติบโตพร้อมๆ กับสังคมที่พัฒนาขึ้น อาทิเช่น เครือข่ายความสัมพันธ์ทางสังคมที่ดารงอยู่ในรูปแบบต่างๆ ความสัมพันธ์ เชิงเครือญาติ กลุ่มทางสังคม องค์กรทางสังคม สถาบันทางสังคม มูลนิธิ ที่ประกอบด้วยประชาชนเป็น ส่วนใหญ่ การปฏิรูปสังคมไทยควรหันมาให้บทบาทของกลุ่ม องค์กร และเครือข่ายทางสังคมเหล่านี้มี บทบาทในการบริหารสังคมชุมชนที่อาศัยอยู่ รากฐานของสังคมวัฒนธรรมดังกล่าวอาจจะเรียกได้ว่าคือ ทุนทางสังคม การศึกษาและพัฒนาแนวคิดว่าด้วยทุนทางสังคมและวัฒนธรรมในสังคมไทยมีมาเกือบสอง ทศวรรษ โดยเฉพาะการอธิบายว่าทุนทางสังคมและวัฒนธรรมเป็นตัวแปรสาคัญในการสร้างความ เข้มแข็งชุมชน สังคม การมีอยู่ของทุนทางสังคมและวัฒนธรรมจะเสริมสร้างการปกครองส่วนท้องถิ่นหรือ การพัฒนาประชาธิปไตย จนกระทั่งสามารถนาเสนอเป็นสมมุติฐานได้ว่า หากสังคมใดที่มีทุนทางสังคม และวัฒนธรรมมากจะสามารถฟื้นฟู ช่วยเหลือ และพัฒนาสังคมและชุมชนนั้นๆได้เร็วและมีประสิทธิภาพ มากกว่าชุมชนและสังคมที่ไม่มีทุนทางสังคมและวัฒนธรรม ข้อสมมุติดังกล่าวนาไปสู่การศึกษาและ พัฒนาทุนทางสังคมและวัฒนธรรมทั้งที่มีอยู่เดิมแล้วในชุมชนสังคมและการสร้างทุนทางสังคมและ วัฒนธรรมขึ้นมาใหม่โดยเฉพาะในแวดวงของนักพัฒนาชุมชน นักพัฒนาสังคม นักส่งเสริมสุขภาวะ นัก สังคมสงเคราะห์ รวมไปถึงนักรัฐศาสตร์ที่สนใจการพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่น จนกระทั่งมีความ พยายามในการสร้างตัวชี้วัดทุนทางสังคมและวัฒนธรรมว่ามีอยู่จริงหรือไม่ในสังคมไทย และหากมีอยู่ จริงแต่มีความแตกต่างกันในแต่ละสังคมจะส่งผลต่อระดับการพัฒนาประชาธิปไตยหรือไม่ หรือ การ ปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นๆ เข้มแข็งจริงหรือไม่ สามารถบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สามารถ ตอบสนองความต้องการและปัญหาของประชาชนได้อย่างแท้จริงหรือไม่
  • 3. 3 หลังปี พ.ศ.2540 ทุนทางสังคมและวัฒนธรรมในสังคมไทยถูกนามาใช้และถูกสร้างขึ้นเพื่อแก้ไข ปัญหาเศรษฐกิจของประเทศอันเนื่องมาจากวิกฤติเศรษฐกิจ โดยเฉพาะแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของชุมชน มีการสนับสนุนงบประมาณให้ชุมชนให้พัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในรูปแบบต่างๆ เช่น เครือข่าย สวัสดิการชุมชน เครือข่ายป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เครือข่ายอาชีพ เครือข่ายร่วมวัย เครือข่าย ส่งเสริมสุขภาพชุมชน เครือข่ายรักษาสิ่งแวดล้อม เครือข่ายอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม เครือข่ายพลเมือง เพื่อการพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่น ฯลฯ มีการนาทุนทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเป็นฐานหรือ เป็นเครื่องมือในการพัฒนาท้องถิ่น การสร้างความร่วมมือ การสร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของ การสร้าง อาชีพและรายได้ แม้กระทั่งเป็นเครื่องมือหนึ่งในการสร้างพลังให้กับสังคมสูงวัย จนกระทั่งปัจจุบัน การสร้างและการใช้ทุนทางสังคมและวัฒนธรรมยังเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วย ในแวดวงวิชาการกลุ่มหนึ่งมีความเชื่อว่า ทุนทางสังคมและวัฒนธรรมยังเป็นเงื่อนไขของสังคมไทยที่ สาคัญในการพัฒนาประเทศและสามารถแก้ไขวิกฤติทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และ สิ่งแวดล้อม การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีโจทย์ที่สาคัญหาสองประการ ประการแรก ทุนทางสังคมและวัฒนธรรม เดิมที่มีอยู่แล้วเราจะสามารถนามาใช้ประโยชน์ในการปฏิรูปประเทศไทยได้จริงหรือไม่ อย่างไร ประการ ที่สอง เราจะสร้างทุนทางสังคมวัฒนธรรมในรูปแบบใดเพื่อเป็นกลไกในการปฏิรูปประเทศไทย อย่างไร โดยเริ่มจากการสารวจโมเดลที่ดีของการใช้ทุนทางสังคมวัฒนธรรมในการแก้ไขปัญหาทั้งในและ ต่างประเทศ และศึกษาเพื่อตอบโจทย์ดังกล่าว โดยคาดว่าข้อเสนอของโครงการวิจัยจะเป็นประโยชน์ สาหรับการปฏิรูปประเทศไทยในปัจจุบัน 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1) เพื่อศึกษาสารวจโมเดลที่ดีของการใช้ทุนทางสังคมวัฒนธรรมในการแก้ไขปัญหาสังคมทั้งจาก ประสบการณ์ในและต่างประเทศ 2) เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิรูปประเทศไทยด้วยทุนทางสังคมวัฒนธรรมในด้านการปกครอง ท้องถิ่นและด้านสังคมในระดับกลไกรัฐและระดับกลไกเสริมรัฐ 1.3 ขอบเขตโครงการ 1) ขอบเขตเนื้อหา ประกอบด้วย (1) การสารวจแนวคิด สถานะ ลักษณะรูปธรรมของทุนทาง สังคมวัฒนธรรม (2) สารวจโมเดลที่ดีของการใช้ทุนทางสังคมวัฒนธรรมในการแก้ไขปัญหาสังคมทั้งจาก ประสบการณ์ในและต่างประเทศ (3) เสนอแนะแนวทางในการประยุกต์ใช้ทุนทางสังคมวัฒนธรรมในการ ปฏิรูปประเทศไทยในด้านการปกครองท้องถิ่นและด้านสังคมในระดับกลไกรัฐและระดับกลไกเสริมรัฐ 2) การรวบรวมข้อมูล การศึกษาวิจัยครั้งนี้อาศัยระเบียบวิธีเชิงคุณภาพ โดยการรวบรวมข้อมูล ให้วิธี ดังนี้ - การศึกษาเอกสาร จากงานวิจัย หนังสือ ที่ได้เสนอแนวคิดเรื่องทุนทางสังคมวัฒนธรรมเพื่อ สารวจสถานะของแนวคิด ทั้งเอกสารภาษาไทยและต่างประเทศ
  • 4. 4 - จากการสัมภาษณ์เจาะลึก นักวิชาการ นักคิด นักพัฒนา นักเคลื่อนไหวทางสังคมของ สังคมไทยที่มีประสบการณ์การทางานกับทุนทางสังคมและมีประสบการณ์การใช้ทุนทางสังคมในการ แก้ไขปัญหาสังคม อาทิ ศาสตราจารย์ นพ.ประเวศ วะสี, รองศาสตราจารย์ ดร.วรวุฒิ โรมรัตนพันธ์, รอง ศาสตราจารย์ ปาริชาติ วลัยเสถียร, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมพันธ์ เตชะอธิก, อาจารย์มุกดา อินต๊ะสาร ฯลฯ 1.4 ระยะเวลาในการดาเนินโครงการ ระยะเวลาในการดาเนินโครงการ 6 เดือน - เดือนที่ 1 ทบทวนและนาเสนอผลการทบทวนวรรณกรรมเบื้องต้น ภายในเดือน ธันวาคม 2557 - เดือนที่ 1-4 ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2557 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ 2558 ศึกษาเพื่อเสนอ รูปแบบของกลไกทุนทางสังคมในระดับโครงสร้างสังคมไทยเพื่อให้ระบุในกฎหมาย ระดับชาติ อาทิ ด้านการปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้สอดคล้องกับระยะเวลาในการ ปฏิรูปประเทศไทย - เดือนที่ 4-6 ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2558 ถึง เดือนพฤษภาคม 2558 เพื่อเสนอแนว ทางการสร้างกลไกทุนทางสังคมในการแก้ไขปัญหาสังคมและปัญหาอื่นๆ ซึ่งต้องอาศัย การศึกษาตัวอย่างที่ดีที่ปรากฏอยู่ในภูมิภาคต่างๆของสังคม 1.5 ผลผลิต(Output) - นาเสนอผลการทบทวนวรรณกรรมเบื้องต้น - รายงานและนาเสนอผลการศึกษารูปแบบของกลไกทุนทางสังคมในระดับโครงสร้าง สังคมไทยเพื่อให้ระบุในกฎหมายระดับชาติเบื้องต้น (ความยาวประมาณ 4-6 หน้า) - รายงานและนาเสนอโครงการวิจัยเรื่อง ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย เพื่อเสนอ แนวทางการสร้างกลไกทุนทางสังคมในการแก้ไขปัญหาสังคมและปัญหาอื่นๆ (ความยาว ประมาณ 80-100 หน้า) - เอกสาร Policy Brief 1 ฉบับ (ความยาว 4 หน้า) 1.6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1) ทราบสถานะ ลักษณะรูปธรรม ของทุนทางสังคมวัฒนธรรม และโมเดลที่ดีของการใช้ทุนทาง สังคมวัฒนธรรมในการแก้ไขปัญหาสังคมทั้งจากประสบการณ์ในและต่างประเทศ 2) ข้อเสนอแนะแนวทางทางการปฏิรูปประเทศไทยด้วยทุนทางสังคมวัฒนธรรมในด้านการ ปกครองท้องถิ่นและด้านสังคมในระดับกลไกรัฐและระดับกลไกเสริมรัฐ
  • 5. 5 บทที่ 2 ทบทวนประสบการณ์การใช้ทุนทางสังคมในการแก้ไขปัญหาสังคมต่างประเทศ 2.1 ประสบการณ์ประเทศญี่ปุ่น ทุนทางสังคมในประเทศญี่ปุ่น มีพัฒนาการควบคู่มากับพัฒนาการทางสังคมการเมืองการ ปกครองของประเทศ ตั้งแต่ญี่ปุ่นมีระบอบการปกครองแบบศักดินา (โชกุน) และคลี่คลายมาถึงการ ปกครองเป็นแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (ปฏิวัติเมจิ) กล่าวคือ พัฒนาทางสังคมการเมืองการปกครอง ของญี่ปุ่นส่งผลต่อการก่อตัวของทุนทางสังคมและการสั่งสมทุนทางสังคม ญี่ปุ่นสั่งสมและรักษาทุนทาง สังคมโดยกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมผ่านระบบครอบครัว ระบบการศึกษา ระบบการปกครอง และระบบสังคม 2.1.1 การก่อตัวและการให้ความหมาย “ทุนทางสังคม” ในประเทศญี่ปุ่น การศึกษาของอะกิฮิโร่ โอกาวา (Akihiro Ogawa : 2005) ยืนยันว่าประชาสังคมกับทุนทางสังคม ในประเทศญี่ปุ่นเป็นเรื่องเดียวกัน โดยกล่าวว่า มันอันตรายมากหากการศึกษาประชาสังคมโดยไม่ พิจารณารากฐานของ “ธรรมเนียมปฏิบัติ ความเชื่อและระบบคุณค่า” ในบริบทของประชาสังคม โดยเฉพาะในประเทศญี่ปุ่น ธรรมเนียมปฏิบัติ ความเชื่อและระบบคุณค่าในความหมายของโอกาวาถือ เป็นทุนทางสังคม ประเทศญี่ปุ่นมีการสั่งสมทุนทางสังคมในหลายลักษณะ ในขณะเดียวกันระบบแบบแผนทาง สังคมที่เกิดขึ้นในสังคมญี่ปุ่นในแต่ละช่วงพัฒนาการมีบทบาทในการขัดเกลาทางสังคม ก่อรูปตัวตน ความเป็นคนญี่ปุ่นที่มีลักษณะพิเศษ โดยพิจารณาผ่าน 3 ยุคสมัย คือ การจัดระเบียบทางสังคมในยุค ศักดินา ยุคที่ต้องเผชิญกับตะวันตก และในช่วงสงครามโลกครั้งที่ ทั้งสามยุคมีการเปลี่ยนทั้งทาง การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม จากรากฐานของสังคมในอดีตเป็นสิ่งบ่งบอกถึงที่มาของจริยธรรมของคนญี่ปุ่นในปัจจุบันหลาย ด้าน โดยเฉพาะจริยธรรมในเรื่องความจงรักภักดีและความซื่อสัตย์ การเลี้ยงดูบุตรในบ้านให้มีความ เคร่งครัด มีมารยาทที่เหมาะสม การมัธยัสถ์ การอดทน การสร้างวินัยให้แก่ตนเอง ซึ่งต่อมาจริยธรรม เหล่านี้กล่อมเกลาให้คนญี่ปุ่นมีคุณสมบัติเฉพาะที่เป็นเงื่อนไขสาคัญในการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ โดยเฉพาะบทบาทของโชกุน การจัดระเบียบสังคมญี่ปุ่นในช่วงยุคศักดินามาจากรากฐานทางจริยธรรม ในลัทธิขงจื้อและการวางระบบการศึกษาของชนชั้นที่แตกต่างกันระหว่างไดเมียว ซามูไร พ่อค้า สามัญ ชนทั่วไป ญี่ปุ่นก่อนที่จะเผชิญหน้ากับสังคมสมัยใหม่ โชกุน 3 คนมีบทบาทสาคัญมากต่อการรวม ประเทศ ได้แก่ โอดะ โนบุนางะ(ค.ศ.1534-1582) โทโยโทมิ ฮิเดโยชิ (ค.ศ.1536-1601) และโทะคุงาวะ อิ เอะยะสุ (ค.ศ.1542-1616) โดยเฉพาะกระบวนการสร้างสานึกความเป็นชาติ นอกจากนี้ในยุคศักดินายัง ได้รับอิทธิพลจากลัทธิขงจื้อ อิทธิพลของคุณธรรมแบบขงจื้อ หลักจริยธรรมสาคัญที่เน้นในศาสนาขงจื้อ คือ ความกตัญญู เน้นความสาคัญของศรัทธาและความจงรักภักดี (Loyalty) ซึ่งปรากฎในหนังสือคา สอนของขงจื้อที่มีการเผยแพร่ในญี่ปุ่นตั้งแต่ปลายคริสตศตวรรษที่ 8 เด็กทุกคนที่สามารถอ่านหนังสือได้ สามารถท่องได้อย่างขึ้นใจ ในคาสอนของขงจื้อแบบฉบับญี่ปุ่นลาดับความสาคัญในเรื่องความกตัญญูกับ
  • 6. 6 ความจงรักภักดี เจ้านายจะต้องมาก่อนครอบครัว นั่นคือการจงรักภักดีต่อเจ้านายต้องอยู่เหนือความ กตัญญูรู้คุณต่อบิดามารดา และอิทธิพลของวัฒนธรรมการศึกษาชนชั้นซามูไร ก็เป็นส่วนหนึ่งในการ สั่งสมทุนทางสังคมของประเทศญี่ปุ่น เนื่องจากประเทศญี่ปุ่นเป็นเกาะเล็กและมีประชากรมาก ดังนั้น การอยู่รวมกันจะต้องมีระเบียบวินัยเคร่งครัด ชนชั้นซามูไรต้องทาตัวเป็นแบบอย่างในเรื่องของความ ประพฤติให้แก่ชนชั้นอื่นๆ แม้สังคมญี่ปุ่นจะเปลี่ยนจากสังคมศักดินาเป็นสังคมแบบทุนนิยมก็ตาม แต่ด้วยรากฐานของ สังคมศักดินาที่อาศัยแนวทางตามหลักการปฏิบัติของลัทธิขงจื้อ ยังส่งผลมายังยุคสมัยของการปฏิวัติเมจิ โดยเฉพาะความมีระเบียบวินัย มีความเคร่งครัดรอบคอบ ระบบทหารได้ฝึกให้กับคนในระดับล่างซึ่งเป็น คนส่วนใหญ่ของประเทศเพื่อสร้างความพร้อมในการต่อต้านต่างชาติ และมีเป้าหมายในการสร้างชาติที่ ชัดเจน คนญี่ปุ่นรักครอบครัว ให้ความสาคัญกับครอบครัวญี่ปุ่น เกิดขึ้นในช่วงก่อนทศวรรษที่ 1980 และในช่วงทศวรรษที่ 1980 ครอบครัวญี่ปุ่นแตกสลายเพราะคนญี่ปุ่นให้ความสาคัญกับบริษัท บริษัท สาคัญกว่าครอบครัว และหลังจากที่ต้องผิดหวังกับบริษัทหลังฟองสบู่แตกจึงหันกลับมาให้ความสาคัญ กับครอบครัวอีกครั้ง คนก็ไม่จงรักภักดีต่อบริษัท และก็ไม่จงรักภักดีต่อประเทศชาติ แต่จงรักภักดีต่อ ครอบครัว ต่อสมาชิกในกลุ่มตัวเองมากขึ้น อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ (2548) อธิบายความสานึกของ ความเป็น “กลุ่ม” ว่าเกิดจากปัจจัยหลักเพียงแค่การที่ชาวบ้านญี่ปุ่นอยู่ในระบบเศรษฐกิจแบบ เกษตรกรรมและสามารถปรับศาสนาเพื่อตอบสนองการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขเท่านั้นไม่เพียงพอ เพราะ เงื่อนไขจากทางด้านรัฐของญี่ปุ่นก็เป็นพลังที่สาคัญมากอีกด้านหนึ่งที่ประกอบกันทาให้สานึกในความ เป็น “กลุ่ม” ฝังลึกอยู่ในระบบอารมณ์ความรู้สึกนึกคิดของคนญี่ปุ่นแม้ในปัจจุบัน รัฐมีความสาคัญในการ ทาให้ความสานึกในความเป็น “กลุ่ม” ของคนญี่ปุ่นมั่นคงแน่นแฟ้นโดยเฉพาะความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับ หมู่บ้าน จากรากฐานของการดารงชีวิตด้วยระบบการผลิตเกษตรกรรมและพลังของรัฐที่ได้หล่อหลอมให้ ความสานึกของความเป็น “กลุ่ม” ทาให้สานึกนี้กลายเป็นเรื่องที่ฝังอยู่ในระบบอารมณ์ความรู้สึกนึกคิด ของชาวญี่ปุ่นในสังคมโดยทั่วไป การสังกัด “กลุ่ม” ถูกสร้างให้เป็นหลักการของการดารงชีวิต ไม่ใช่เพียง แค่การมีกลุ่มให้สังกัดเท่านั้น หากแต่การสังกัด “กลุ่ม” มีความหมายถึงคนคนนั้นมีพันธกิจและภารกิจ (obligation and mission) ต่อกลุ่มไปพร้อม ๆ กัน สานึกในพันธกิจและภารกิจของคนคนหนึ่งที่มีต่อกลุ่ม จะเรียกร้องให้คนคนนั้นเสียสละให้แก่กลุ่มเต็มตามกาลังที่ตนมีและตามที่กลุ่มเรียกร้อง สานึกเช่นนี้จะถูก ปลูกฝังสืบต่อกันมาจนแม้ในปัจจุบัน ความสานึกนี้ฝังแน่นอยู่ในคาว่า “กิริ” และ “นินโจ” ซึ่งยังคงมีพลัง อยู่ในระบบความรู้สึกนึกคิดของชาวญี่ปุ่นอย่างมากทีเดียว การถ่ายทอดทางสังคมซึ่งเน้นอยู่ที่ความเป็น “กลุ่ม” ที่ดาเนินมาเป็นเวลานาน ทาให้ชาวญี่ปุ่นหมายรู้ได้เองว่าควรจะจัดวางตัวเองอย่างไรใน ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ความสานึกใน “กลุ่ม” เพื่อช่วยเหลือกัน ยังปรากฏในการรวมตัวของ NPO ซึ่งมีอยู่จานวนมากในญี่ปุ่นปัจจุบันและมีบทบาทในการพัฒนาสังคมในหลายมิติ จากการทบทวนในเบื้องต้นทุนทางสังคมในประเทศญี่ปุ่นอาจจะสามารถจาแนกตามการปรากฏ ในสามลักษณะ
  • 7. 7 - ทุนทางสังคมในความหมายเชิงวัฒนธรรม (Cultural Perspectives) ได้แก่ การให้ ความสาคัญกับระบบคุณค่าทางสังคม อาทิ ความรับผิดชอบต่อสังคม ความมีวินัย การ พึ่งตนเอง การสร้างวัฒนธรรมการเตรียมความพร้อม เป็นต้น - ทุนทางสังคมในความหมายเชิงโครงสร้างทางสังคม (Social Organization) หมายถึง องค์กรทางสังคมที่ปรากฏรูปธรรมในสังคมญี่ปุ่น อาทิ องค์กรที่ไม่แสวงหากาไร (NPOs) สมาคมละแวกบ้าน คณะกรรมการพัฒนาชุมชน เป็นต้น - ทุนทางสังคมในความหมายของกระบวนการ (Civil Society) หมายถึง กระบวนการ เคลื่อนไหวทางสังคม (Social Movement) ในกรณีประเด็นสาธารณะต่างๆ เช่น เครือข่าย สังคมปลอดภัย เป็นต้น การศึกษาครั้งนี้ ทุนทางสังคมน่าจะจากัดขอบเขตเฉพาะความหมายในเชิงโครงสร้างทางสังคม อาทิ กลุ่มทางสังคม องค์กรทางสังคม และเครือข่ายทางสังคม ที่มีอยู่ในสังคมญี่ปุ่นและมีบทบาททาง สังคม การเมืองการปกครอง และการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ทั้งในระดับจังหวัด เทศบาล และหมู่บ้าน ซึ่ง อาจจะอยู่รูปของคณะกรรมการ (Committee) สมาคม (Association) องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงหากาไร (NPO) และ มูลนิธิ (Foundation) ฯลฯ เพื่อสะท้อนรูปธรรมโมเดลที่ดีของการใช้ทุนทางสังคมวัฒนธรรม ในการแก้ไขปัญหาสังคม 2.1.2 ทุนทางสังคมในฐานะกลไกการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน รัฐบาลท้องถิ่นญี่ปุ่นอาศัยสมาคมละแวกบ้าน (Neighborhood Association) เพื่อดูแลความเป็น ระเบียบเรียบร้อยภายในย่านละแวกบ้านโดยร่วมกันสร้างกฎ กติกาของชุมชนและรณรงค์ให้สมาชิกเข้า ร่วมกิจกรรมบาเพ็ญสาธารณประโยชน์ อาทิ การทาความสะอาดชุมชน การก่อสร้างหรือการดูแลสิ่ง อานวยความสะดวกสาธารณะ เช่น ศูนย์ชุมชน ถนนหนทาง แสงไฟตามถนน ต้นไม้ แม่น้าลาคลอง ตลอดจนการจัดการจราจร การจัดเวรยามเพื่อเฝ้าระวังอัคคีภัยและขโมย การจัดส่งจดหมาย ข่าว รวมไป ถึงการส่งเสริมกิจกรรมทางวัฒนธรรมท้องถิ่น อาทิ เทศกาลงานประเพณีของ ย่าน เป็นต้น รายได้ของ สมาคมในการดาเนินกิจกรรมส่วนใหญ่มาจากค่าธรรมเนียมสมาชิก รองลงมาคืองบประมาณสนับสนุน จากรัฐบาลท้องถิ่น อีกบทบาทสาคัญที่นอกเหนือจากการเป็นศูนย์กลางในการระดมกาลังสมาชิกให้ เข้า ร่วมกิจกรรมพัฒนาชุมชนแล้ว คือการทางานเสมือนเป็น “สื่อกลาง” (intermediaries) ระหว่างภาครัฐ (โดยเฉพาะรัฐบาลท้องถิ่น) กับชุมชน สมาคมละแวกบ้านมักเป็นช่องทาง หลักในการกระจายข่าวสาร จากทางราชการสู่ชุมชน และในทิศทางกลับกันก็เป็นผู้รวบรวมความต้องการในพื้นที่และสื่อสารไปยัง รัฐบาลท้องถิ่น แม้ว่าสมาคมจะไม่ได้มีบทบาทหน้าที่ โดยตรงในกระบวนการวางแผนของภาครัฐ แต่ บ่อยครั้งที่หน่วยงานราชการจะให้ความ สาคัญกับสาคัญกับประธานสมาคมในฐานะตัวแทนของชุมชน รัฐบาลท้องถิ่นจึงมักใช้สมาคมละแวกบ้านและ “ต้นทุนทางสังคม” ของสมาชิกเป็นเครื่องมือในการ “เติม เต็ม” ความต้องการของชุมชน ตัวอย่างทุนทางสังคมในฐานะกลไกสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องถิ่น ประเทศญี่ปุ่นในส่วนนี้นาเสนอ 3 รูปแบบ ได้แก่
  • 8. 8 (1) สมาคมละแวกบ้าน (Neighborhood Association) (2) สภาพัฒนาชุมชน (Community Development Council) (3) องค์กรไม่แสวงหากาไร (Non-Profit Organization) ประเทศญี่ปุ่นอาศัย “สมาคมละแวกบ้าน” (Neighborhood Association) เป็นกลไกในการจัดการ ชุมชน มีบทบทร่วมกันในการสร้างกฎกติกาของสังคมและรณรงค์ให้สมาชิกเข้าร่วมกิจกรรมบาเพ็ญ ประโยชน์ และเป็นสื่อกลางระหว่างรัฐกับชุมชน สมาคมละแวกบ้านนี้ถือเป็นทุนทางสังคมที่มีอยู่ทุก ชุมชนในญี่ปุ่น เมื่อเกิดภาวะวิกฤติโดยเฉพาะภัยพิบัติ สมาคมละแวกบ้านจะมีบทบาทสูงในการฟื้นฟู ชุมชนและดูแลรักษาชีวิตผู้ประสบภัยในชุมชน บางชุมชนอาจจะมี สภาพัฒนาชุมชน (Community Development Council) ทาหน้าที่เป็นพื้นที่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมได้แสดงความคิดเห็นและตัดสินใจใน การวางแผนพัฒนาชุมชน แต่อย่างไรก็ตามสภาพัฒนาชุมชนนี้เกิดขึ้นตามกฎหมายผังเมือง ฉะนั้น สภา นี้ยังมีหน้าที่ในการกาหนดผังเมือง ภูมิทัศน์ของชุมชน และนาไปหารือร่วมกับรัฐบาลท้องถิ่น นอกจากนี้ กลไกที่สนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมอีกรูปแบบในประเทศญี่ปุ่นและเห็นว่าเกิดขึ้นได้ไม่ยากลาบาก คือ สมาคมผู้พักอาศัย (Resident Association) ซึ่งเป็นสมาคมที่มีบทบาทดูแลผู้ที่พักอาศัยด้วยกันเอง และหากปัญหาใหญ่ขึ้นก็จะเสนอแนะแนวทางให้ท้องถิ่นดูแลแทน เช่น การสร้างพื้นที่กลางของเขตที่พัก อาศัยเพื่อเป็นศูนย์กลางของกิจกรรมกลางของชุมชน เป็นต้น มีงานวิจัยของผู้ศึกษาอย่างน้อยสองชิ้นที่สะท้อนบทบาททุนทางสังคมในการแก้ไขปัญหาวิกฤติ ซึ่งในส่วนนี้ยกตัวอย่างงานศึกษาบางเล่มของผู้วิจัย อาทิ จากการศึกษาวิจัยเรื่อง “การสังเคราะห์องค์ ความรู้กระบวนการขัดเกลาทางสังคมของประเทศญี่ปุ่นที่ส่งผลต่อการเผชิญภาวะวิกฤติ” ของ สายฝน สุเอียนทรเมธี และคณะ (2556) พบว่า ปัจจัยที่มีบทบาทต่อการบริหารจัดการภัยพิบัติของประเทศญี่ปุ่น คือ ทุนทางกายภาพ ทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรม ทุนมนุษย์ และทุนการเงิน โดยเฉพาะกระบวนการ ขัดเกลาทางสังคมขององค์กรทางสังคมและสถาบันทางสังคมที่ถือเป็นทุนทางสังคมของญี่ปุ่น ทาให้เกิด วัฒนธรรมการรับมือกับภัยพิบัติ จากการศึกษาวิจัยเรื่อง “ทุนทางสังคมกับการเสริมสร้างการปกครองท้องถิ่น การศึกษา เปรียบเทียบประเทศไทย- ญี่ปุ่น – เกาหลีใต้” ของสายฝน สุเอียนทรเมธี และ รุ่งนภา เทพภาพ (2557) สรุปว่า ทุนทางสังคมทางานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ ทุนทางสังคมสามารถสร้างได้และควร ใช้ประโยชน์จากทุนทางสังคมในการเสริมสร้างการปกครองส่วนท้องถิ่น อันเนื่องจากทุนทางสังคมใน รูปแบบองค์กรทางสังคมเป็นที่รวมของพลเมืองที่มีจิตสาธารณะ เป็นที่รวมของกลุ่มพลเมืองที่มีพลังใน การรับผิดชอบต่อสาธารณะสูง และการใช้ทุนทางสังคมอย่างต่อเนื่องจะทาให้ทุนทางสังคมมีความ เข้มแข็ง และส่งผลต่อความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมด้วย ส่วนการสร้างทุนทางสังคมในประเทศไทย ที่มีสถานะเป็นกลุ่มชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรทางสังคมควรพัฒนาให้กลายเป็นนิติบุคคล ที่มีกฎหมาย รองรับบทบาทหน้าที่ โดยการกากับดูแลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในแง่ของการกระจายอานาจใน ประเทศไทยเห็นควรผลักดันให้เกิดความสาเร็จในการกระจายอานาจเชิงกิจการหลังจากที่ประเทศไทย ประสบความสาเร็จในการกระจายอานาจเชิงพื้นที่มาแล้ว และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรสร้างความ ร่วมมือในลักษณะ Matching Fund และ Matching Function กับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
  • 9. 9 และองค์กรที่ไม่แสวงหากาไร เพื่อพัฒนากิจการของท้องถิ่นบางภารกิจ ตลอดจนการปฏิรูปประเทศไทย โดยใช้ทุนทางสังคมอันจะนาไปสู่สังคมที่เข้มแข็งต่อไป 2.2 ประสบการณ์ประเทศเกาหลีใต้ 2.2.1 การก่อร่างสร้างตัวและพัฒนาของทุนทางสังคมในประเทศเกาหลีใต้ จากการทบทวนพัฒนาการของทุนทางสังคมในประเทศเกาหลีใต้ แทบจะแยกไม่ออกกับ กระบวนการการต่อสู้ทางการเมืองซึ่งมีพัฒนาการมานับตั้งแต่ก่อนยุคสาธารณรัฐที่ต้องตกเป็นประเทศ อาณานิคมของญี่ปุ่น จนกระทั่งได้รับเอกราชก่อตั้งประเทศขึ้นมา แต่แล้วก็ต้องเผชิญกับสงครามระหว่าง คนเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์เดียวกัน ที่นาไปสู่การแบ่งแยกประเทศออกเป็นเกาหลีเหนือ และเกาหลีใต้ ตลอด เรื่อยมาจนถึงยุคแห่งสาธารณรัฐ นับตั้งแต่มีบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญ ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491) มาตรา 117 ว่า “รัฐบาลท้องถิ่นทาหน้าที่ดูแลทุกข์สุขของประชาชนในท้องถิ่น โดยทาหน้าที่ในการจัดการด้าน ทรัพย์สิน และการสร้างกฎระเบียบของตนเองเพื่อใช้ในการบริหารงานท้องถิ่นอย่างเป็นอิสระตามที่ระบุ ไว้ในกฎหมายของชาติและในพระราชกฤษฎีกา” แต่บทบัญญัติดังกล่าวในรัฐธรรมนูญยังไม่ได้มีการ ปฏิบัติที่บรรลุตามเป้าหมายอย่างจริงจัง จนกระทั่งมีการจัดให้มีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัด นายกเทศมนตรี และสมาชิกสภาท้องถิ่นทุกระดับ โดยตรงจากประชาชนในท้องถิ่นขึ้นเป็นครั้งแรกใน ปี 1995 (พ.ศ. 2538) รัฐบาลท้องถิ่น/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงได้เปลี่ยนบทบาทจากการเป็นส่วนหนึ่ง ของรัฐบาลกลาง หรือการบริหารราชการส่วนกลาง มาเป็นรัฐบาลท้องถิ่นที่ผู้นาถูกเลือกตั้งโดยตรงจาก ประชาชนในพื้นที่ และเป็นภาคส่วนที่มีอานาจในการบริหารจัดการท้องถิ่นของตนเองโดยตรง และภาพ ของการเคลื่อนไหวต่อสู้ของพลังมวลชนในรูปแบบต่างๆปรากฏอยู่อย่างชัดเจนในประวัติศาสตร์สังคม เกาหลีใต้ พลังและการเคลื่อนไหวของมวลชนในนามของการขับเคลื่อนภาคประชาสังคมจึงเป็นทุนทาง สังคมที่โดดเด่นในประเทศเกาหลีใต้ อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาโดยใช้กรอบของประเภทของทุนทาง สังคมทั้ง 3 มิติ เช่นการอธิบายทุนทางสังคมในญี่ปุ่น พบว่า - ทุนทางสังคมในความหมายเชิงวัฒนธรรม (Cultural Perspectives) ในบริบทของเกาหลี ใต้ ทุนทางสังคมในความหมายเชิงวัฒนธรรม คือ การมีจิตสานึกทางการเมือง และการมีจิตสานึกแห่ง การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน ทุนทางสังคมนี้เป็นรากฐานที่สาคัญที่ทาให้คนเกาหลีใต้มี ลักษณะของการเป็นพลเมืองที่กระตือรือร้น (Active citizen) - ทุนทางสังคมในความหมายเชิงโครงสร้างทางสังคม (Social Organization) ในบริบท ของประวัติศาสตร์ทางการเมืองของเกาหลีใต้ พบว่า ทุนทางสังคมในเชิงกลุ่ม องค์กรทางสังคม มี บทบาทสาคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาและการก้าวสู่สังคมประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ เป็นต้นว่า องค์กรของนักศึกษา หรือองค์กรต่อต้านคอรัปชั่นและนักการเมืองที่ใช้อานาจไม่ชอบธรรมอย่าง People Solidarity for Participation Democracy (PSPD) ส่วนในบริบทของการปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น ทุน ทางสังคมที่เป็นกลุ่ม องค์กรทางสังคม ถูกสร้างและพัฒนาขึ้นเพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนงานของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น การก่อตั้งมูลนิธิสวัสดิการสังคมแห่งกรุงโซล (Seoul Welfare
  • 10. 10 Foundation) เพื่อเป็นกลไกการทางานด้านสวัสดิการที่เข้าถึง และสอดคล้องกับปัญหาความต้องการ ด้านสวัสดิการสังคมที่แท้จริงของประชาชนในโซลที่ซึ่งเป็นมหานครขนาดใหญ่ลาดับต้นๆของโลก - ทุนทางสังคมในความหมายของกระบวนการ (Civil Society) พลังมวลชนในการ ขับเคลื่อนเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆในสังคมเกาหลีใต้ปรากฏอยู่อย่างโดดเด่น การขับเคลื่อน ของพลังมวลชนเหล่านี้ถูกเรียกขานในนามของกระบวนการประชาสังคม ที่ประชาชนออกมาปกป้องสิทธิ และช่วงชิงอานาจในการกาหนดชะตาชีวิตของตนเอง โดยไม่ยอมจานนให้รัฐ หรือชนชั้นนามีอานาจ ควบคุมแต่ฝ่ายเดียว เช่น การเคลื่อนไหวของขบวนการนักศึกษาทางการเมือง, การเคลื่อนไหวของ ขบวนการแรงงาน นอกจากนี้ในบริบทของการปกครองส่วนท้องถิ่น มิติเชิงกะบวนการที่สะท้อนความ เป็นประชาสังคม คือ การสร้างกระบวนการที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม หรือ การดาเนินงานของท้องถิ่น เป็นต้นว่า การสร้างการมีส่วนร่วมผ่านกลไกคณะทางาน, การสร้างเครือข่าย การทางาน, การเปิดพื้นที่ทางกายภาพเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม กรณีประเทศเกาหลีใต้ก็มีการสร้างมูลนิธิสวัสดิการแห่งมหานครโซล (Seoul Welfare Foundation) ทาหน้าที่เป็นกลไกในการบริหารองค์กรปกครองของมหานครโซล ให้มูลนิธินี้เป็นสื่อกลาง ระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับชุมชน เนื่องด้วยมหานครโซลมีพื้นที่ในเขตรับผิดชอบกว้างและ ชุมชนสังคมมีความเป็นเมืองสูงจึงให้มูลนิธินี้ศึกษาวิจัยเพื่อทราบความต้องการและประเด็นปัญหาของ ท้องถิ่นเพื่อให้เป็นนโยบายในการพัฒนาของมหานครโซล บทบาทหลักของมูลนิธินี้คือ การใช้ กระบวนการวิจัยเป็นตัวขับเคลื่อนนโยบายและการปฏิบัติงาน และ การพัฒนากระบวนการเสริมสร้าง สวัสดิการที่เข้มแข็ง การดาเนินงานในลักษณะดังกล่าวช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและลด แรงต่อต้านนโยบายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งกลไกนี้เหมาะสมกับการปกครองส่วนท้องถิ่น ขนาดใหญ่ อาทิ มหานคร และ เทศบาลนคร จากตัวอย่างในการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า ปรากฎการณ์การใช้ทุนทางสังคมในการแก้ไขปัญหา ของประเทศมีให้เห็นได้ในบริบททางสังคมที่แตกต่างกัน ฉะนั้น การศึกษาครั้งนี้คาดว่า การเสนอกลไก ทางสังคมในแต่ละระดับน่าจะมีรูปแบบที่เหมาะสมแตกต่างกัน และเป็นประโยชน์กับการปฏิรูปประเทศ ไทยในปัจจุบัน บรรณานุกรม
  • 11. 11 ทาเคโอะ โดอิ (2538). อะมะเอะ: แก่นแท้จิตใจคนญี่ปุ่น. แปลจาก Amae no Kozo. (มณฑา พิมพ์ ทอง แปลและเรียบเรียง) . กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตาราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. พรรณี ฉัตรพลรักษ์ (แปล) (2526). ญี่ปุ่น : การก่อตัวเป็นชาติสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. พลายแสง เอกญาติ (แปล).( 2554). ญี่ปุ่นสมัยใหม่ : ความรู้ฉบับพกพา.กรุงเทพฯ : โอเพ่นเวิลล์ส. สายฝน สุเอียนทรเมธี และ รุ่งนภา เทพภาพ. (2557). รายงานวิจัยเรื่อง “ทุนทางสังคมกับการเสริมสร้าง การปกครองท้องถิ่น การศึกษาเปรียบเทียบประเทศไทย- ญี่ปุ่น – เกาหลีใต้”. เสนอ สถาบันสัญญา ธรรมศักดิ์ เพื่อประชาธิปไตย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สายฝน สุเอียนทรเมธี และคณะ. (2556). รายงานการศึกษาวิจัยเรื่อง “การสังเคราะห์องค์ความรู้ กระบวนการขัดเกลาทางสังคมของประเทศญี่ปุ่นที่ส่งผลต่อการเผชิญภาวะวิกฤติ” เสนอ ศูนย์คุณธรรม (องค์กรมหาชน). อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์.(2548). Japanization. กรุงเทพฯ : โอเพ่นบุ๊ค. Akihiro Ogawa. When the NPO law sinks in : Japanese “Civil Society,” Shimin, and neoliberalism. USJP Occasional Paper 05-10, Harvard University : 2005. Pierre Bourdieu . (1986) .The forms of capital. In J. Richardson (Ed.) Handbook of Theory and Research for the Sociology of Education. New York, Greenwood). Robert Putnam (1993). Making Democracy Work: Civic Tradition in Modern Italy. Princeton, NJ: Princeton University Place. Sunhyuk Kim. (2007). Civil society and democratization in South Korea ใน Korean Society Civil Society, democracy and the state. Edited by Charles K. Armstrong. Second Edition. Routledge: New York. Satoru OHSUGI. People and Local Government – Resident Participation in the Management of Local Governments, Paper on the Local Government System and its Implementation in Selected Fields in Japan No.1, from GRIPS website: http://www3.grips.ac.jp/~coslog/activity/01/04/file/Bunyabetsu-1_en.pdf สืบค้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2557 Robert Pekkanen. Civil Society and its Regulators : Non Profit Organizations in Japan. Japan Information Access Project, April 24, 2001 Kazunori Yamanoi. The Care for the Elderly in Sweden and in Japan. LUNDS UNIVERSITET. 1993. http://www.wao.or.jp/yamanoi/report/lunds/ Kiyoshi Adachi. The development of social welfare service in Japan in Susan Orpett Long. Caring for the elderly in Japan and the US. New York: Routledge. 2000. Hiroshi Igawa. Differences between Ideals or Objectives of Systems and Realities in Practice in Japan. Paper on The Research Project on the Results of Decentralization Reform and Foundations of Local Governance in Asian Countries, March 25, 2013