SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 5
Descargar para leer sin conexión
ฉบับที่ 2 / 2559
Policy Brief
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทบาทตุรกีในพื้นที่สาม
จังหวัดชายแดนภาคใต้
โดย
นางสาวอัสมะ ตันหยงดาโอะ
ในช่วงนี้ ตุรกีกาลังเป็นที่สนใจไม่เฉพาะกับคนไทยแต่คนทั้งโลกกาลังจับตามองเช่นกัน เนื่องจาก
เกิดเหตุการณ์การพยายามก่อรัฐประหารในตุรกี แม้ว่าเราจะให้ความสนใจเหตุการณ์ดังกล่าว แต่คนส่วนใหญ่
ยังรู้สึกว่าไทยกับตุรกีนั้นห่างไกลกัน ไม่ค่อยมีความสัมพันธ์ใดๆ ระหว่างกันชัดเจนนัก สถาบันคลังปัญญา
ด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้มีการศึกษาวิจัยเรื่อง บทบาทของตุรกีใน
พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดย คุณอัสมะ ตันหยงดาโอะ นักวิจัยอิสระ
งานวิจัยชิ้นนี้มีมุมมองใหม่มานาเสนอ ซึ่งคนไทยส่วนใหญ่อาจไม่เคยทราบมาก่อนว่า แท้จริงแล้ว ไทย
กับตุรกีมีความสัมพันธ์กันพอสมควร ทั้งด้านการค้าการลงทุน การเยี่ยมเยือนในระดับผู้นาประเทศ และการ
สนับสนุนด้านการศึกษา โดยเฉพาะในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประเทศตุรกีได้เข้ามาดาเนินงานใน
พื้นที่กว่า 10 ปีมาแล้ว โดยให้ความช่วยเหลือทางสังคม และสนับสนุนด้านการศึกษาเป็นหลัก
สรุปจาก โครงการวิจัยบทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดย นางสาวอัสมะ ตันหยงดาโอะ
1สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ที่มาภาพ : http://cdn0.dailydot.com/uploaded/images/original/2012/10/2/turkey_youtube.jpg
ทาไมตุรกีถึงเข้ามาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ประเทศตุรกีช่วงสิบกว่าปีนับตั้งแต่การขึ้นมาบริหารประเทศของนายเออร์โดกัน จากพรรค AK นับว่ามี
เสถียรภาพมากขึ้นทั้งทางด้านทหาร เศรษฐกิจ และการเมือง (แม้จะได้ยินข่าวว่าช่วงที่ผ่านมาเศรษฐกิจแย่ลง และเกิด
เหตุการณ์การพยายามก่อรัฐประหาร) จึงได้พยายามสร้างบทบาทในเวทีโลกให้มากขึ้น โดยการดาเนินนโยบาย
ต่างประเทศแบบ 360 องศาและนโยบายเชิงรุก ในทางหนึ่ง คือการใช้ Soft Power ให้ความช่วยเหลือด้าน
มนุษยธรรมในประเทศอื่นๆ ซึ่งพื้นที่ที่ตุรกีเลือกที่จะเข้าไปให้ความช่วยเหลือมักเป็นพื้นที่ที่มีประชากรนับถือศาสนา
อิสลามและเกิดปัญหาความขัดแย้ง เช่น พื้นที่ขัดแย้งในตะวันออกกลาง และประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น
รัฐอาระกันของพม่า (มีชาวมุสลิมโรฮิงญา) และฟิลิปปินส์ใต้ บริเวณเกาะมินดาเนา รวมถึงพื้นที่สามจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ของไทย ซึ่งมีประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม และเกิดเหตุการณ์ความรุนแรงนับตั้งแต่ปี 2004
รูปแบบการให้ความช่วยเหลือ
รูปแบบการให้ความช่วยเหลือ และการให้การสนับสนุนของประเทศตุรกีต่อพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
สามารถแบ่งออกเป็น 6 รูปแบบ คือ 1)การสร้างอาคารที่พักให้เด็กกาพร้าและสร้างมัสยิด 2)การให้ความช่วยเหลือ
เรื่องการทากรุบาน 3)การให้ถุงยังชีพแก่ผู้ยากจน และการเลี้ยงละศีลอดในเดือนรอมฎอน 4)การสนับสนุน
ทุนการศึกษาในพื้นที่ และการศึกษาต่อที่ประเทศตุรกี 5)การจัดรถรับส่งเด็กกาพร้าเพื่อเดินทางไปโรงเรียน และ 6)
การให้ความช่วยเหลืองบสนับสนุนการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์จัดแสดงเรื่องราวด้านวัฒนธรรม
องค์กรของตุรกีที่เข้ามามีบทบาทในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
องค์กรของตุรกีที่เข้ามามีบทบาทในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้นั้นแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกคือ
องค์กรพัฒนาเอกชนจากตุรกี และส่วนที่สองคือความช่วยเหลือจากหน่วยงานรัฐบาลตุรกี
องค์กรพัฒนาเอกชนจากตุรกีที่เข้ามาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีหลายองค์กร ดาเนินงานในพื้นที่
สามจังหวัดชายแดนภาคใต้มาเป็นเวลานาน มีความต่อเนื่อง และทางานร่วมกับองค์กรในพื้นที่หลายแห่ง แต่มีบาง
องค์กรที่เข้ามาให้ความช่วยเหลือเพียงระยะสั้นๆ และลักษณะการให้ความช่วยเหลือของแต่ละองค์กรต่อพื้นที่ก็มี
ลักษณะที่แตกต่างกันไป เช่น มูลนิธิ iHH เข้ามาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ตั้งแต่ปี 2005 ให้การสนับสนุน
งบประมาณในการก่อสร้างอาคารที่พักให้แก่เด็กกาพร้า ค่าครองชีพในแต่ละวันและทุนการศึกษาของเด็กกาพร้า
นอกจากนี้ยังให้งบสนับสนุนซื้อวัวสาหรับทากรุบาน ให้ถุงยังชีพแก่ผู้ยากจน และเลี้ยงละศีลอดในเดือนรอมฎอน
องค์กร CARE เป็นองค์กรพัฒนาเอกชนที่ดาเนินงานในประเด็นเชิงศาสนามากที่สุด และองค์กร WEFA
(Weltweiter Einsatz für Arme) องค์กรพัฒนาเอกชนที่เข้ามาเป็นระยะเวลาสั้นๆ และมิได้ต่อเนื่อง มักเข้ามาให้
ความช่วยเหลือในเรื่องของการทากรุบาน เป็นต้น
ด้านหน่วยงานหรือองค์กรที่ให้ความช่วยเหลือภายใต้หน่วยงานของรัฐบาล ประกอบไปด้วย สถานทูต
ตุรกีประจาประเทศไทย สนับสนุนทุนการศึกษาให้เยาวชนในพื้นที่ไปศึกษาต่อ ณ ประเทศตุรกี องค์กรดียานัต
เป็นองค์กรภายใต้กระทรวงการศาสนาประเทศตุรกี สนับสนุนงบประมาณในการก่อสร้างอาคารเรียน สร้างมัสยิด การ
2สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เลี้ยงอาหารละศีลอดในเดือนรอมฎอน การให้ความช่วยเหลือเรื่องการทากรุบาน และการให้ทุนการศึกษาแก่เยาวชน
ในพื้นที่เพื่อศึกษาต่อระดับมัธยมปลายที่ประเทศตุรกี และ องค์กร TIKA ให้ความช่วยเหลือในลักษณะของการสาน
ต่องานจากองค์กรพัฒนาเอกชนของตุรกีที่ได้ดาเนินอยู่แล้วในพื้นที่ เช่น การสานต่อโครงการก่อสร้างหอพักเด็ก
กาพร้าโรงเรียนฟุรกอน อ.สุไหง-โกลก จ.นราธิวาส จากที่ก่อนหน้านั้นผู้รับผิดชอบโครงการ คือ องค์กร iHH
บทบาทการทางานขององค์กรจากประเทศตุรกีที่สาคัญและเห็นได้ชัดในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
เป็นบทบาทในการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและสนับสนุนทุนการศึกษาให้แก่เด็กกาพร้าในพื้นที่ หรือการ
ให้ความช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่บางวาระ โดยเฉพาะการสนับสนุนด้านการศึกษาที่ตุรกีจะให้ความสาคัญเป็น
พิเศษ ตัวอย่างเช่น ตุรกีได้มอบทุนรัฐบาลให้แก่นักเรียนและนักศึกษาไทยมุสลิมไปศึกษาต่อในสายสามัญและศาสนา
ปีละประมาณ 20 ทุน ตามข้อมูลเมื่อปี 2014 มีนักเรียนจากสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ไปเรียนที่ตุรกีจานวน 90 คน
และมูลนิธิ iHH ได้ให้การสนับสนุนมูลนิธิการกุศลเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้าและยากจน เพื่อก่อตั้งโรงเรียนบูรณา
การศึกษาวิทยาขึ้นในค.ศ. 2012
นอกจากนี้ องค์กรจากตุรกียังได้สนับสนุนการสร้างอาคารที่พักสาหรับเด็กกาพร้าในพื้นที่สามจังหวัด
ชายแดนใต้ เช่น สถาบันศึกษานูรุลญีนาน ปัจจุบันมีเด็กที่ได้รับความช่วยเหลือจานวน 59 คน สถานที่เลี่ยงเด็ก
กาพร้าเมอสรา ได้รับงบประมาณสาหรับก่อสร้างจานวน 3.7 ล้านบาท และหอพักเด็กกาพร้าอัซซาอาดะห์
ปัจจุบันมีเด็กกาพร้าที่อยู่ในความดูแลจานวน 52 คน
ความแตกต่างระหว่างประเทศตุรกีกับประเทศอาหรับอื่นๆ ในการให้ความช่วยเหลือ
1. รูปแบบความช่วยเหลือ ประเทศอาหรับส่วนใหญ่ที่เข้ามาในพื้นที่มักจะเข้ามาให้ความช่วยเหลือเพื่อ
สนับสนุนงานทางด้านศาสนาอิสลาม อาทิ การสร้างอาคารมัสยิดในหมู่บ้าน การสร้างสัมพันธ์อันดีกับมหาวิทยาลัยใน
พื้นที่ที่เน้นการเรียนการสอนที่ให้ความสาคัญกับศาสนา เป็นต้น ในขณะที่ประเทศตุรกีเข้ามาให้ความสนับสนุนงาน
ทางด้านสังคมเป็นหลัก อาทิ เรื่องเด็กกาพร้า หรือการมอบทุนการศึกษาให้กับเยาวชนในพื้นที่
2. ลักษณะของการดาเนินงานและการติดตามการดาเนินงาน กลุ่มประเทศอาหรับจะมอบเงินสนับสนุน
ให้กับองค์กรตัวแทนในพื้นที่และเป็นผู้บริหารจัดสรรเงินจานวนดังกล่าวโดยตรง และติดตามงานเมื่อการดาเนินงาน
แล้วเสร็จ ส่วนองค์กรจากประเทศตุรกีเป็นในลักษณะที่องค์กรพื้นที่ที่รับความช่วยเหลือต้องเขียนรายงานความ
คืบหน้าของโครงการตลอดทุก 3 เดือน อีกทั้งยังมีตัวแทนจากองค์กรจากประเทศตุรกี มาติดตามงานในพื้นที่อย่าง
ต่อเนื่องจนกว่าโครงการจะแล้วเสร็จ
3. พื้นที่การให้ความช่วยเหลือ กลุ่มประเทศอาหรับมักจะให้ความช่วยเหลือในพื้นที่มหาวิทยาลัยที่เป็น
เครือข่ายหรือมีความสัมพันธ์กับประเทศอาหรับ หรือมักมีสถานที่ตั้งและดาเนินการอยู่ในเขตเมือง ในขณะที่พื้นที่
การให้ความช่วยเหลือขององค์กรจากประเทศตุรกีกระจายอยู่ในทั้งสามจังหวัด และกระจายตัวอยู่ในอาเภอและ
ชุมชนเล็กๆ มากกว่า
3สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ความคิดเห็นของคนในพื้นที่ต่อบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ผู้วิจัยได้มีการลงพื้นที่สัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการดาเนินงานขององค์กรจากประเทศตุรกีในพื้นที่
พบว่ามีความเห็นที่หลากหลาย โดยความคิดเห็นเชิงบวกนั้น มีความเห็นว่าความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม
เป็นไปได้อย่างดี เข้าถึงประชาชน แม้ในพื้นที่ห่างไกลที่ไม่เคยได้รับความช่วยเหลือจากต่างประเทศมาก่อน และ
มีการทางานที่เป็นระบบ ติดตามการดาเนินงานอย่างสม่าเสมอ และมีความต่อเนื่องในการช่วยเหลือเด็กที่อยู่ใน
ความดูแล ส่วนข้อกังวลนั้น พบว่า มีข้อจากัดในการประสานงาน เพราะองค์กรจากตุรกีที่เข้ามาจะประสานงาน
เฉพาะกับกลุ่มที่ตนรู้จักมาก่อนแล้วเท่านั้น ทาให้องค์กรขนาดเล็กในไทยที่ไม่เคยติดต่อประสานงานด้วยไม่ได้
รับความช่วยเหลือทั้งๆ ที่มีเด็กกาพร้าในการดูแลกว่า 3,000 คน และยังมีอุปสรรคด้านภาษาที่ใช้สื่อสาร
นอกจากนี้ การให้ความช่วยเหลือยังขาดมิติทางการเมืองและเศรษฐกิจ รวมทั้งขาดการประชาสัมพันธ์การ
ดาเนินงานหรือกิจกรรมอย่างทั่วถึง
สรุป
ตุรกีเข้ามามีบทบาทเป็นผู้ให้ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นหนึ่งในประเทศ
ผู้สนับสนุนด้านการศึกษาแก่เยาวชนในสามจังหวัดของไทยมากว่าสิบปี เห็นได้จากสถิติปี 2014 มีนักเรียนจาก
สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ไปเรียนที่ตุรกีจานวน 90 คน รวมทั้งรัฐบาลตุรกีได้ให้ทุนแก่นักเรียนและนักศึกษา
ไทยมุสลิมไปศึกษาต่อในสายสามัญและศาสนาปีละประมาณ 20 ทุน โดยทางานผ่านองค์กรที่เข้ามาฝังตัวใน
พื้นที่ ทาให้คนในพื้นที่สามจังหวัด โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่มีทัศนคติที่ดีกับตุรกีมากพอสมควร และการที่ตุรกีเข้า
มาให้ความช่วยเหลือในไทยนั้น สถาบันคลังปัญญาฯ มีความเห็นว่าเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายการต่างประเทศ
เชิงรุกของรัฐบาลพรรค AK ภายใต้การนาของนายเออร์โดกัน ที่ต้องการเพิ่มบทบาทตุรกีในเวทีโลก โดยดาเนิน
นโยบาย 360 องศา ให้ความสนใจทุกภูมิภาค ซึ่งวิธีหนึ่งที่ใช้คือการใช้ Soft Power ผ่านการให้ความช่วยเหลือ
ทางสังคมและการศึกษา ทั้งในประเทศตะวันออกกลาง เช่น ซีเรีย(ตุรกีสร้างค่ายผู้อพยพตามแนวชายแดนตุรกี-
ซีเรีย) และประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น รัฐอาระกันของพม่า และฟิลิปปินส์ใต้ บริเวณเกาะ
มินดาเนา รวมถึงพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย
ดังนั้น ในขั้นต้นที่สุด คนไทยควรตระหนักถึง Soft power ของตุรกีที่ไม่ใช่เพียงเข้ามาหน้าประตูบ้านเรา
แต่ได้เข้ามาฝังและเติบโตอยู่กับคนของเราในสามจังหวัดมานานเป็นสิบปีแล้ว ซึ่งเมื่อรู้แล้วก็ไม่ใช่รู้เพื่อให้กลัว
หรือระแวง แต่เราควรศึกษาเรียนรู้แบบอย่างการใช้นโยบายต่างประเทศเชิงรุกของตุรกี แล้วนามาวิเคราะห์
สังเคราะห์ ว่าประเทศไทยจะมีนโยบายการต่างประเทศเชิงรุกบ้างได้อย่างไร
4สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
5
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: นางสาว ยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้วิจัย : นางสาวอัสมะ ตันหยงดาโอะ
เรียบเรียงและจัดรูปเล่ม : นางสาวปลายฟ้า บุนนาค
ปีที่พิมพ์: กรกฎาคม 2559
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ 52/347 พหลโยธิน 87 ตำบลหลักหก อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธำนี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสำร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต

Más contenido relacionado

Destacado

บทบาทตุรกีในประเทศไทย : มุมมองและข้อสังเกต
บทบาทตุรกีในประเทศไทย : มุมมองและข้อสังเกตบทบาทตุรกีในประเทศไทย : มุมมองและข้อสังเกต
บทบาทตุรกีในประเทศไทย : มุมมองและข้อสังเกตKlangpanya
 
โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559
World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559
World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559Klangpanya
 
รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยบทบาทตุรกีใน 3 จังหวัดชายแดนใต้
รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยบทบาทตุรกีใน 3 จังหวัดชายแดนใต้รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยบทบาทตุรกีใน 3 จังหวัดชายแดนใต้
รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยบทบาทตุรกีใน 3 จังหวัดชายแดนใต้Klangpanya
 
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมืองเบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมืองKlangpanya
 
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559Klangpanya
 
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกKlangpanya
 
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559Klangpanya
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยแนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยKlangpanya
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559Klangpanya
 
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559Klangpanya
 
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559Klangpanya
 
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทยKlangpanya
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559Klangpanya
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่Klangpanya
 

Destacado (20)

บทบาทตุรกีในประเทศไทย : มุมมองและข้อสังเกต
บทบาทตุรกีในประเทศไทย : มุมมองและข้อสังเกตบทบาทตุรกีในประเทศไทย : มุมมองและข้อสังเกต
บทบาทตุรกีในประเทศไทย : มุมมองและข้อสังเกต
 
โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
โครงการวิจัยบทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559
World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559
World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559
 
รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยบทบาทตุรกีใน 3 จังหวัดชายแดนใต้
รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยบทบาทตุรกีใน 3 จังหวัดชายแดนใต้รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยบทบาทตุรกีใน 3 จังหวัดชายแดนใต้
รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัยบทบาทตุรกีใน 3 จังหวัดชายแดนใต้
 
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมืองเบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
 
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
 
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
 
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยแนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
 
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
 
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
 
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
 
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
 
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
 
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
 

Similar a บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้

ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1Taraya Srivilas
 
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้Klangpanya
 
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเองการพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเองดำรง โยธารักษ์
 
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์Pattie Pattie
 
การคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษา
การคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษาการคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษา
การคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษาKlangpanya
 
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้Klangpanya
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างPz'Peem Kanyakamon
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานีTaraya Srivilas
 
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3Ukrit Chalermsan
 
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)Darunpob Srisombut
 
โครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปันโครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปันPawitporn Piromruk
 
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยLeoBlack1017
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docxชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docxNiran Kultanan
 

Similar a บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (20)

ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
มูลนิธิสุข แก้ว แก้วแดง
มูลนิธิสุข แก้ว แก้วแดงมูลนิธิสุข แก้ว แก้วแดง
มูลนิธิสุข แก้ว แก้วแดง
 
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเองการพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง
 
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
การศึกษาปฐมวัยของฟินแลนด์
 
การคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษา
การคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษาการคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษา
การคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษา
 
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
 
Warasanonline255
Warasanonline255Warasanonline255
Warasanonline255
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานี
 
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
 
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
 
โครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปันโครงการช่วยเหลือเจือปัน
โครงการช่วยเหลือเจือปัน
 
Japan reading policy
Japan reading policyJapan reading policy
Japan reading policy
 
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
 
History
HistoryHistory
History
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docxชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
 
Work1 pjcom
Work1 pjcomWork1 pjcom
Work1 pjcom
 

Más de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Más de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้

  • 1. ฉบับที่ 2 / 2559 Policy Brief วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต บทบาทตุรกีในพื้นที่สาม จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดย นางสาวอัสมะ ตันหยงดาโอะ ในช่วงนี้ ตุรกีกาลังเป็นที่สนใจไม่เฉพาะกับคนไทยแต่คนทั้งโลกกาลังจับตามองเช่นกัน เนื่องจาก เกิดเหตุการณ์การพยายามก่อรัฐประหารในตุรกี แม้ว่าเราจะให้ความสนใจเหตุการณ์ดังกล่าว แต่คนส่วนใหญ่ ยังรู้สึกว่าไทยกับตุรกีนั้นห่างไกลกัน ไม่ค่อยมีความสัมพันธ์ใดๆ ระหว่างกันชัดเจนนัก สถาบันคลังปัญญา ด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้มีการศึกษาวิจัยเรื่อง บทบาทของตุรกีใน พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดย คุณอัสมะ ตันหยงดาโอะ นักวิจัยอิสระ งานวิจัยชิ้นนี้มีมุมมองใหม่มานาเสนอ ซึ่งคนไทยส่วนใหญ่อาจไม่เคยทราบมาก่อนว่า แท้จริงแล้ว ไทย กับตุรกีมีความสัมพันธ์กันพอสมควร ทั้งด้านการค้าการลงทุน การเยี่ยมเยือนในระดับผู้นาประเทศ และการ สนับสนุนด้านการศึกษา โดยเฉพาะในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประเทศตุรกีได้เข้ามาดาเนินงานใน พื้นที่กว่า 10 ปีมาแล้ว โดยให้ความช่วยเหลือทางสังคม และสนับสนุนด้านการศึกษาเป็นหลัก สรุปจาก โครงการวิจัยบทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดย นางสาวอัสมะ ตันหยงดาโอะ 1สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่มาภาพ : http://cdn0.dailydot.com/uploaded/images/original/2012/10/2/turkey_youtube.jpg
  • 2. ทาไมตุรกีถึงเข้ามาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประเทศตุรกีช่วงสิบกว่าปีนับตั้งแต่การขึ้นมาบริหารประเทศของนายเออร์โดกัน จากพรรค AK นับว่ามี เสถียรภาพมากขึ้นทั้งทางด้านทหาร เศรษฐกิจ และการเมือง (แม้จะได้ยินข่าวว่าช่วงที่ผ่านมาเศรษฐกิจแย่ลง และเกิด เหตุการณ์การพยายามก่อรัฐประหาร) จึงได้พยายามสร้างบทบาทในเวทีโลกให้มากขึ้น โดยการดาเนินนโยบาย ต่างประเทศแบบ 360 องศาและนโยบายเชิงรุก ในทางหนึ่ง คือการใช้ Soft Power ให้ความช่วยเหลือด้าน มนุษยธรรมในประเทศอื่นๆ ซึ่งพื้นที่ที่ตุรกีเลือกที่จะเข้าไปให้ความช่วยเหลือมักเป็นพื้นที่ที่มีประชากรนับถือศาสนา อิสลามและเกิดปัญหาความขัดแย้ง เช่น พื้นที่ขัดแย้งในตะวันออกกลาง และประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น รัฐอาระกันของพม่า (มีชาวมุสลิมโรฮิงญา) และฟิลิปปินส์ใต้ บริเวณเกาะมินดาเนา รวมถึงพื้นที่สามจังหวัดชายแดน ภาคใต้ของไทย ซึ่งมีประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม และเกิดเหตุการณ์ความรุนแรงนับตั้งแต่ปี 2004 รูปแบบการให้ความช่วยเหลือ รูปแบบการให้ความช่วยเหลือ และการให้การสนับสนุนของประเทศตุรกีต่อพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ สามารถแบ่งออกเป็น 6 รูปแบบ คือ 1)การสร้างอาคารที่พักให้เด็กกาพร้าและสร้างมัสยิด 2)การให้ความช่วยเหลือ เรื่องการทากรุบาน 3)การให้ถุงยังชีพแก่ผู้ยากจน และการเลี้ยงละศีลอดในเดือนรอมฎอน 4)การสนับสนุน ทุนการศึกษาในพื้นที่ และการศึกษาต่อที่ประเทศตุรกี 5)การจัดรถรับส่งเด็กกาพร้าเพื่อเดินทางไปโรงเรียน และ 6) การให้ความช่วยเหลืองบสนับสนุนการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์จัดแสดงเรื่องราวด้านวัฒนธรรม องค์กรของตุรกีที่เข้ามามีบทบาทในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ องค์กรของตุรกีที่เข้ามามีบทบาทในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้นั้นแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกคือ องค์กรพัฒนาเอกชนจากตุรกี และส่วนที่สองคือความช่วยเหลือจากหน่วยงานรัฐบาลตุรกี องค์กรพัฒนาเอกชนจากตุรกีที่เข้ามาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีหลายองค์กร ดาเนินงานในพื้นที่ สามจังหวัดชายแดนภาคใต้มาเป็นเวลานาน มีความต่อเนื่อง และทางานร่วมกับองค์กรในพื้นที่หลายแห่ง แต่มีบาง องค์กรที่เข้ามาให้ความช่วยเหลือเพียงระยะสั้นๆ และลักษณะการให้ความช่วยเหลือของแต่ละองค์กรต่อพื้นที่ก็มี ลักษณะที่แตกต่างกันไป เช่น มูลนิธิ iHH เข้ามาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ตั้งแต่ปี 2005 ให้การสนับสนุน งบประมาณในการก่อสร้างอาคารที่พักให้แก่เด็กกาพร้า ค่าครองชีพในแต่ละวันและทุนการศึกษาของเด็กกาพร้า นอกจากนี้ยังให้งบสนับสนุนซื้อวัวสาหรับทากรุบาน ให้ถุงยังชีพแก่ผู้ยากจน และเลี้ยงละศีลอดในเดือนรอมฎอน องค์กร CARE เป็นองค์กรพัฒนาเอกชนที่ดาเนินงานในประเด็นเชิงศาสนามากที่สุด และองค์กร WEFA (Weltweiter Einsatz für Arme) องค์กรพัฒนาเอกชนที่เข้ามาเป็นระยะเวลาสั้นๆ และมิได้ต่อเนื่อง มักเข้ามาให้ ความช่วยเหลือในเรื่องของการทากรุบาน เป็นต้น ด้านหน่วยงานหรือองค์กรที่ให้ความช่วยเหลือภายใต้หน่วยงานของรัฐบาล ประกอบไปด้วย สถานทูต ตุรกีประจาประเทศไทย สนับสนุนทุนการศึกษาให้เยาวชนในพื้นที่ไปศึกษาต่อ ณ ประเทศตุรกี องค์กรดียานัต เป็นองค์กรภายใต้กระทรวงการศาสนาประเทศตุรกี สนับสนุนงบประมาณในการก่อสร้างอาคารเรียน สร้างมัสยิด การ 2สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 3. เลี้ยงอาหารละศีลอดในเดือนรอมฎอน การให้ความช่วยเหลือเรื่องการทากรุบาน และการให้ทุนการศึกษาแก่เยาวชน ในพื้นที่เพื่อศึกษาต่อระดับมัธยมปลายที่ประเทศตุรกี และ องค์กร TIKA ให้ความช่วยเหลือในลักษณะของการสาน ต่องานจากองค์กรพัฒนาเอกชนของตุรกีที่ได้ดาเนินอยู่แล้วในพื้นที่ เช่น การสานต่อโครงการก่อสร้างหอพักเด็ก กาพร้าโรงเรียนฟุรกอน อ.สุไหง-โกลก จ.นราธิวาส จากที่ก่อนหน้านั้นผู้รับผิดชอบโครงการ คือ องค์กร iHH บทบาทการทางานขององค์กรจากประเทศตุรกีที่สาคัญและเห็นได้ชัดในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นบทบาทในการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและสนับสนุนทุนการศึกษาให้แก่เด็กกาพร้าในพื้นที่ หรือการ ให้ความช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่บางวาระ โดยเฉพาะการสนับสนุนด้านการศึกษาที่ตุรกีจะให้ความสาคัญเป็น พิเศษ ตัวอย่างเช่น ตุรกีได้มอบทุนรัฐบาลให้แก่นักเรียนและนักศึกษาไทยมุสลิมไปศึกษาต่อในสายสามัญและศาสนา ปีละประมาณ 20 ทุน ตามข้อมูลเมื่อปี 2014 มีนักเรียนจากสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ไปเรียนที่ตุรกีจานวน 90 คน และมูลนิธิ iHH ได้ให้การสนับสนุนมูลนิธิการกุศลเพื่อช่วยเหลือเด็กกาพร้าและยากจน เพื่อก่อตั้งโรงเรียนบูรณา การศึกษาวิทยาขึ้นในค.ศ. 2012 นอกจากนี้ องค์กรจากตุรกียังได้สนับสนุนการสร้างอาคารที่พักสาหรับเด็กกาพร้าในพื้นที่สามจังหวัด ชายแดนใต้ เช่น สถาบันศึกษานูรุลญีนาน ปัจจุบันมีเด็กที่ได้รับความช่วยเหลือจานวน 59 คน สถานที่เลี่ยงเด็ก กาพร้าเมอสรา ได้รับงบประมาณสาหรับก่อสร้างจานวน 3.7 ล้านบาท และหอพักเด็กกาพร้าอัซซาอาดะห์ ปัจจุบันมีเด็กกาพร้าที่อยู่ในความดูแลจานวน 52 คน ความแตกต่างระหว่างประเทศตุรกีกับประเทศอาหรับอื่นๆ ในการให้ความช่วยเหลือ 1. รูปแบบความช่วยเหลือ ประเทศอาหรับส่วนใหญ่ที่เข้ามาในพื้นที่มักจะเข้ามาให้ความช่วยเหลือเพื่อ สนับสนุนงานทางด้านศาสนาอิสลาม อาทิ การสร้างอาคารมัสยิดในหมู่บ้าน การสร้างสัมพันธ์อันดีกับมหาวิทยาลัยใน พื้นที่ที่เน้นการเรียนการสอนที่ให้ความสาคัญกับศาสนา เป็นต้น ในขณะที่ประเทศตุรกีเข้ามาให้ความสนับสนุนงาน ทางด้านสังคมเป็นหลัก อาทิ เรื่องเด็กกาพร้า หรือการมอบทุนการศึกษาให้กับเยาวชนในพื้นที่ 2. ลักษณะของการดาเนินงานและการติดตามการดาเนินงาน กลุ่มประเทศอาหรับจะมอบเงินสนับสนุน ให้กับองค์กรตัวแทนในพื้นที่และเป็นผู้บริหารจัดสรรเงินจานวนดังกล่าวโดยตรง และติดตามงานเมื่อการดาเนินงาน แล้วเสร็จ ส่วนองค์กรจากประเทศตุรกีเป็นในลักษณะที่องค์กรพื้นที่ที่รับความช่วยเหลือต้องเขียนรายงานความ คืบหน้าของโครงการตลอดทุก 3 เดือน อีกทั้งยังมีตัวแทนจากองค์กรจากประเทศตุรกี มาติดตามงานในพื้นที่อย่าง ต่อเนื่องจนกว่าโครงการจะแล้วเสร็จ 3. พื้นที่การให้ความช่วยเหลือ กลุ่มประเทศอาหรับมักจะให้ความช่วยเหลือในพื้นที่มหาวิทยาลัยที่เป็น เครือข่ายหรือมีความสัมพันธ์กับประเทศอาหรับ หรือมักมีสถานที่ตั้งและดาเนินการอยู่ในเขตเมือง ในขณะที่พื้นที่ การให้ความช่วยเหลือขององค์กรจากประเทศตุรกีกระจายอยู่ในทั้งสามจังหวัด และกระจายตัวอยู่ในอาเภอและ ชุมชนเล็กๆ มากกว่า 3สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 4. ความคิดเห็นของคนในพื้นที่ต่อบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผู้วิจัยได้มีการลงพื้นที่สัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการดาเนินงานขององค์กรจากประเทศตุรกีในพื้นที่ พบว่ามีความเห็นที่หลากหลาย โดยความคิดเห็นเชิงบวกนั้น มีความเห็นว่าความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม เป็นไปได้อย่างดี เข้าถึงประชาชน แม้ในพื้นที่ห่างไกลที่ไม่เคยได้รับความช่วยเหลือจากต่างประเทศมาก่อน และ มีการทางานที่เป็นระบบ ติดตามการดาเนินงานอย่างสม่าเสมอ และมีความต่อเนื่องในการช่วยเหลือเด็กที่อยู่ใน ความดูแล ส่วนข้อกังวลนั้น พบว่า มีข้อจากัดในการประสานงาน เพราะองค์กรจากตุรกีที่เข้ามาจะประสานงาน เฉพาะกับกลุ่มที่ตนรู้จักมาก่อนแล้วเท่านั้น ทาให้องค์กรขนาดเล็กในไทยที่ไม่เคยติดต่อประสานงานด้วยไม่ได้ รับความช่วยเหลือทั้งๆ ที่มีเด็กกาพร้าในการดูแลกว่า 3,000 คน และยังมีอุปสรรคด้านภาษาที่ใช้สื่อสาร นอกจากนี้ การให้ความช่วยเหลือยังขาดมิติทางการเมืองและเศรษฐกิจ รวมทั้งขาดการประชาสัมพันธ์การ ดาเนินงานหรือกิจกรรมอย่างทั่วถึง สรุป ตุรกีเข้ามามีบทบาทเป็นผู้ให้ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นหนึ่งในประเทศ ผู้สนับสนุนด้านการศึกษาแก่เยาวชนในสามจังหวัดของไทยมากว่าสิบปี เห็นได้จากสถิติปี 2014 มีนักเรียนจาก สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ไปเรียนที่ตุรกีจานวน 90 คน รวมทั้งรัฐบาลตุรกีได้ให้ทุนแก่นักเรียนและนักศึกษา ไทยมุสลิมไปศึกษาต่อในสายสามัญและศาสนาปีละประมาณ 20 ทุน โดยทางานผ่านองค์กรที่เข้ามาฝังตัวใน พื้นที่ ทาให้คนในพื้นที่สามจังหวัด โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่มีทัศนคติที่ดีกับตุรกีมากพอสมควร และการที่ตุรกีเข้า มาให้ความช่วยเหลือในไทยนั้น สถาบันคลังปัญญาฯ มีความเห็นว่าเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายการต่างประเทศ เชิงรุกของรัฐบาลพรรค AK ภายใต้การนาของนายเออร์โดกัน ที่ต้องการเพิ่มบทบาทตุรกีในเวทีโลก โดยดาเนิน นโยบาย 360 องศา ให้ความสนใจทุกภูมิภาค ซึ่งวิธีหนึ่งที่ใช้คือการใช้ Soft Power ผ่านการให้ความช่วยเหลือ ทางสังคมและการศึกษา ทั้งในประเทศตะวันออกกลาง เช่น ซีเรีย(ตุรกีสร้างค่ายผู้อพยพตามแนวชายแดนตุรกี- ซีเรีย) และประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น รัฐอาระกันของพม่า และฟิลิปปินส์ใต้ บริเวณเกาะ มินดาเนา รวมถึงพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย ดังนั้น ในขั้นต้นที่สุด คนไทยควรตระหนักถึง Soft power ของตุรกีที่ไม่ใช่เพียงเข้ามาหน้าประตูบ้านเรา แต่ได้เข้ามาฝังและเติบโตอยู่กับคนของเราในสามจังหวัดมานานเป็นสิบปีแล้ว ซึ่งเมื่อรู้แล้วก็ไม่ใช่รู้เพื่อให้กลัว หรือระแวง แต่เราควรศึกษาเรียนรู้แบบอย่างการใช้นโยบายต่างประเทศเชิงรุกของตุรกี แล้วนามาวิเคราะห์ สังเคราะห์ ว่าประเทศไทยจะมีนโยบายการต่างประเทศเชิงรุกบ้างได้อย่างไร 4สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 5. 5 ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: นางสาว ยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้วิจัย : นางสาวอัสมะ ตันหยงดาโอะ เรียบเรียงและจัดรูปเล่ม : นางสาวปลายฟ้า บุนนาค ปีที่พิมพ์: กรกฎาคม 2559 สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ 52/347 พหลโยธิน 87 ตำบลหลักหก อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธำนี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสำร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต