SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 5
Descargar para leer sin conexión
แปลและสรุปความจาก Young Ambassadors Program Builds Sino-U.S. Trust for New Generation. Carnegie Tsinghua
Center for Global Policy โดย ปาณัท ทองพ่วง
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เป็นความจริงว่า เมื่อพูดถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในยุคของเรานั้น ไม่มีความสัมพันธ์ของ
ชาติคู่ใดที่ถูกจับจ้องมากไปกว่าสหรัฐและจีนอีกแล้ว เพราะทั้งสองเป็นมหาอานาจใหญ่เบอร์หนึ่งและสอง
สลับกันในด้านต่างๆ แต่ว่าเวลามองความสัมพันธ์ของคู่นี้ คนก็มักจะให้ความสนใจไปที่ด้านความขัดแย้ง
ใครจะขึ้นมานาใคร ใครจะแพ้ใครจะชนะ ใครผิดใครถูกในเรื่องต่างๆ เมื่อไหร่ทั้งสองจะรบกัน ฯลฯ
อย่างไรก็ตาม ในการพิจารณาเรื่องนี้ให้ดี เราควรตระหนักว่าโครงสร้างอานาจของโลกเปลี่ยนแปลงไป
มากแล้ว ความสัมพันธ์ระหว่างมหาอานาจเบอร์หนึ่งและสองของโลกในศตวรรษปัจจุบันของเรา ไม่
เหมือนกับในยุคก่อนๆ ที่มีแต่ด้านความขัดแย้งด้านเดียวได้ เช่น ยุคสงครามเย็น สหรัฐกับโซเวียตจ้องห้า
หั่น แข่งขันกันแต่เพียงอย่างเดียว เพราะในยุคสงครามเย็น เศรษฐกิจของสหรัฐกับโซเวียตแยกขาดจากกัน
โดยสิ้นเชิง แทบจะหาผลประโยชน์ร่วมไม่มี แต่ในยุคนี้ ต้องขอบคุณโลกาภิวัตน์ เพราะเศรษฐกิจสหรัฐกับจีน
1
เอกสารวิชาการ
ฉบับที่ 3 /2559
จีน-อเมริกา สร้างความเข้าใจอันดีในหมู่คน
รุ่นใหม่ผ่านโครงการ “ทูตเยาวชน”
นั้นต้องใช้คาว่า “ยิ่งกว่าตังเม” โยงใยผูกพันกันเสียจนหากทาสงครามกันขึ้นมาจริงๆ ก็คงมีอันต้องพังทั้ง
สองฝ่าย ความสัมพันธ์ระหว่างจีนและสหรัฐในศตวรรษนี้จึงเป็นความสัมพันธ์ที่ “พิเศษ” มาก คือ มีทั้ง
ขัดแย้งและร่วมมือ ปนเปกันไป แต่น่าจะมีความร่วมมือมากกว่าด้านขัดแย้ง ดังนั้นแม้จะกระทบกระทั่ง
กันบ้างในบางประเด็น เช่น ข้อพิพาทในทะเลจีนใต้หรือความมั่นคงไซเบอร์ แต่ในภาพใหญ่แล้วดู
เหมือนว่า ผู้นาทั้งสองชาติจะตระหนักดีถึงความจาเป็นที่จะต้องพึ่งพาอาศัยกัน ทั้งในปัจจุบันและต่อไป
อีกนานในอนาคต ดังนั้น กล่าวโดยรวมแล้ว ความสัมพันธ์สหรัฐ-จีน ในยุคโอบามาและสีจิ้นผิงนี้ ดูจะวาง
อยู่บนพื้นฐานของความเป็นมิตร จัดการความสัมพันธ์กันอย่างรอบคอบระมัดระวัง และดูมีอนาคตในทาง
ความร่วมมือมากขึ้น
ส่อง Think Tank เอเชียฉบับเดือนสิงหาคมนี้ จึงขอนาบทความเรื่อง Young Ambassadors Pro-
gram Builds Sino-U.S. Trust for New Generation ของ Carnegie Tsinghua Center for Global Poli-
cy เขียนโดย Paul Haenle และ Chen Qi มานาเสนอ โดยใจความหลักของเรื่องนี้พูดถึงโครงการ Young
Ambassadors Program ที่ Think Tank ลูกครึ่งอเมริกัน-จีนแห่งนี้เป็นหนึ่งในผู้ริเริ่มร่วมกับหน่วยงาน
อื่นๆ จัดขึ้นในฐานะกิจกรรมหนึ่งภายใต้เวทีหารือด้านการทูตระดับประชาชนต่อประชาชนของจีน-สหรัฐ
(US-China Consultation on People-to-People Exchange) โครงการ “ทูตเยาวชน” นี้ อันที่จริงได้
พัฒนาต่อยอดมาจากสองโครงการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของสถาบัน Carnegie-Tsinghua คือ โครงการ
Global Intern Program กับโครงการ the US-China Trust Initiative ที่เริ่มจัดมาตั้งแต่ปี 2010 โครงการ
แรกดึงเอานักศึกษาและคนทางานรุ่นใหม่ทั่วโลกมาร่วมทาวิจัยกับนักวิจัยและทีมงานของ Carnegie-
Tsinghua และอภิปรายร่วมกันใน “ประเด็นร้อน” ต่างๆ ในนโยบายการต่างประเทศของจีน และในเรื่อง
พัฒนาการของการต่างประเทศจีนในยุคที่บทบาทของจีนในประชาคมโลกเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ส่วน
โครงการที่สอง the US-China Trust Initiative มีเป้าหมายอยู่ที่การนาเอานักศึกษาจีนและสหรัฐมานั่ง
แลกเปลี่ยนเพื่อร่วมกันหาสาเหตุของ “ความไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน” ที่ดารงอยู่ระหว่างสองประเทศ
พร้อมหาทางขยายสร้าง ขยาย ความไว้ใจกันต่อไป
ส่วนโครงการ Young Ambassadors นี้ มีเป้าหมายหลักเพื่อสร้างผู้นาโลกรุ่นใหม่ที่จะเติบโตไปใน
วงการผู้กาหนดนโยบาย วงการธุรกิจ วงวิชาการ และวงการการทูต ที่มุ่งร่วมมือกัน เพื่อเผชิญภัยของ
โลกและมนุษย์ที่นับวันจะเพิ่มมากขึ้น มากกว่าคิดแต่จะแข่งขันกันระหว่างรัฐชาติต่างๆ อย่างที่ผ่านมา
โดยนาเยาวชนหลายร้อยคนทุกปี จากสหรัฐอเมริกาและจีน รวมทั้งจากสหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย
แคนาดา ฝรั่งเศส รัสเซีย สเปน สิงคโปร์ และเกาหลีใต้ มาเข้าโครงการร่วมกัน เพื่อปลูกฝังความเข้าใจ
อันดี สร้างความสัมพันธ์ที่ดีในหมู่คนรุ่นใหม่ของกันและกัน อันถือเป็นหนทางที่ยั่งยืนที่สุดในการสร้าง
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2
เสริมความสัมพันธ์ระหว่างสองมหาอานาจ รวมทั้งประเทศต่างๆ ที่จะมีบทบาทสูงยิ่งในการร่วมกัน
กาหนดหน้าตาของโลกในศตวรรษที่ 21 และในอนาคตต่อจากนั้น
การอ่านบทความเรื่องนี้ทาให้เราเห็นความพยายามที่แม้จะเล็กๆ แต่ก็เป็นรูปธรรมของ
หน่วยงาน Think Tank จีน-สหรัฐ แห่งนี้ ในการขจัดความไม่เข้าใจ ความหวาดระแวงซึ่งกันและกัน
สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างคนทั้งสองประเทศ อันจะเป็นพื้นฐานที่สาคัญที่สุดในการร่วมมือกันไม่
ว่าเรื่องใดๆ ในอนาคต ผ่านการจัดกิจกรรมสองสามโครงการที่กล่าวมานี้ และ Paul Haenle
ผู้อานวยการ Think Tank แห่งนี้ก็ได้กล่าวว่า อันที่จริง Carnegie Tsinghua Center for Global Poli-
cy ก็ถูกตั้งขึ้นมาเมื่อ 6 ปีที่แล้วด้วยจิตใจอย่างเดียวกันนี้ ด้วยการร่วมกันระหว่าง Carnegie Endow-
ment for International Peace Think Tank ด้านการต่างประเทศที่เก่าแก่ที่สุดของสหรัฐ กับ
มหาวิทยาลัยชิงหัว มหาวิทยาลัยชั้นนาของจีน เพื่อสร้าง Platform ขึ้นในปักกิ่งให้ผู้เชี่ยวชาญของจีน
และประเทศต่างๆ มาร่วมกันทางานวิจัยและแลกเปลี่ยนกันในประเด็นทางการต่างประเทศต่างๆ โดย
มีเป้าหมายสูงสุดคือ เพื่อส่งเสริมความเข้าอกเข้าใจและความเชื่อใจกันระหว่างคนจากหลากหลายชาติ
เพื่อเป็นรากฐานต่อไปในวันที่มนุษย์ ไม่ว่าชาติใด ต้องเผชิญภัยร่วมกัน ทั้งโจทย์ที่เห็นกันอยู่แล้วใน
วันนี้ อย่างการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ การครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ การหาแนวทางพัฒนา
เศรษฐกิจที่ยั่งยืน และโจทย์อื่นๆ ที่จะโผล่ขึ้นมาในวันหน้า
บทเรียนสาหรับประเทศไทยคืออะไร? บทเรียนของเราคือ ในเมื่อเบอร์หนึ่งกับเบอร์สอง
ของโลกเขาตระหนักกันแล้วว่าต้องร่วมมือกัน ถ้าสู้กันก็มีแต่จะพังทั้งคู่ และได้พยายามดาเนิน
ความสัมพันธ์ระหว่างกันอย่างดี ข้อใดที่พิพาทขัดแย้งก็ใช้ความระมัดระวัง พยายามไม่ยกระดับความ
ขัดแย้ง ข้อใดที่เป็นความร่วมมือก็ส่งเสริมให้เพิ่มขึ้น ประเทศไทยของเราก็ไม่ควรไปติดอยู่ในโลกทัศน์
แบบขาวดา สองขั้วขัดแย้ง ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นโลกทัศน์แบบยุคสงครามเย็น เราควรเลิกตั้งคาถาม
ประเภทว่า สหรัฐกับจีนใครจะชนะ จีนจะแซงสหรัฐเมื่อใด เราควรเลือกข้างใดในสองข้างนี้ เพราะที่จริง
พวกเขาเองก็ไม่ได้อยากจะห้าหั่นกัน และยังพยายามที่จะหาทางร่วมมือกันให้มากขึ้นด้วยซ้า ท่าทีที่
เหมาะสมของไทยเราจึงควรเป็นการเชื่อมให้จีน-สหรัฐมาเข้าใจกันมากขึ้น ตะวันตก-ตะวันออกมา
เข้าใจกันมากขึ้น เพราะต้องไม่ลืมว่า สุดท้ายแล้ว หลักเดียวในการต่างประเทศที่เราจะยึดไว้ใช้ได้
ไม่ใช่การเลือกอยู่กับข้างใด ฝ่ายใด หรืออยู่ที่ใครอื่น แต่คือผลประโยชน์ของชาติเราเอง หรือถ้าจะมี
มากกว่านั้นก็คือผลประโยชน์ร่วมของภูมิภาคและของโลก
3
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
3
นอกจากนี้ ความริเริ่มดังที่ Carnegie-Tsinghua ลุกขึ้นมาจัดโครงการในลักษณะนี้ ก็เป็นตัวอย่างที่
ดีให้แก่สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย หรือ Think Tank ด้านการต่างประเทศในประเทศไทยว่า
เช่นเดียวกับการพัฒนาในทุกๆ เรื่อง การพัฒนาในทางการระหว่างประเทศที่ยั่งยืนที่สุดก็เริ่มที่การสร้างคน
การพัฒนาคน ดังนั้น สถาบันที่ว่ามานี้ของไทยเรา นอกจากจะมีบทบาทต่อสังคมด้วยการให้ข้อมูล ข้อ
วิเคราะห์ ความรู้ความเข้าใจในเรื่องต่างๆ ต่อสังคมแล้ว ยังสามารถทากิจกรรมเชิงรุกอีกทางด้วยการจัด
โครงการหรือเปิดพื้นที่ให้เยาวชนจากประเทศต่างๆ มาทากิจกรรมร่วมกัน ไทยเราอาจจะเริ่มทากับเพื่อน
บ้านในอาเซียน ในเอเชีย ซึ่งจะเป็นภูมิภาคที่สาคัญยิ่งกับเราในอนาคตก่อนก็ได้
4
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
4
5
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้แปลและเรียบเรียง : นายปาณัท ทองพ่วง
จัดรูปเล่ม : น.ส.ปลายฟ้า บุนนาค
อ้างอิงปก : http://carnegietsinghua.org/2016/07/24/young-ambassadors-
program-builds-sino-us-trust-for-new-generation/j3a1
ปีที่พิมพ์: สิงหาคม 2559
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตำบลหลักหก อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธำนี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสำร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 5

Más contenido relacionado

Similar a จีน อเมริกา สร้างความเข้าใจอันดีในหมู่คนรุ่นใหม่ผ่านโครงการ “ทูตเยาวชน”

ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงfreelance
 
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558Klangpanya
 
การคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษา
การคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษาการคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษา
การคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษาKlangpanya
 
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561Klangpanya
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางUSMAN WAJI
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางKlangpanya
 

Similar a จีน อเมริกา สร้างความเข้าใจอันดีในหมู่คนรุ่นใหม่ผ่านโครงการ “ทูตเยาวชน” (7)

ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
 
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
 
การคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษา
การคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษาการคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษา
การคาดการณ์ประชากรไทยในอนาคต : ผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และการศึกษา
 
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 

Más de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKlangpanya
 

Más de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdf
 

จีน อเมริกา สร้างความเข้าใจอันดีในหมู่คนรุ่นใหม่ผ่านโครงการ “ทูตเยาวชน”

  • 1. แปลและสรุปความจาก Young Ambassadors Program Builds Sino-U.S. Trust for New Generation. Carnegie Tsinghua Center for Global Policy โดย ปาณัท ทองพ่วง สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นความจริงว่า เมื่อพูดถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในยุคของเรานั้น ไม่มีความสัมพันธ์ของ ชาติคู่ใดที่ถูกจับจ้องมากไปกว่าสหรัฐและจีนอีกแล้ว เพราะทั้งสองเป็นมหาอานาจใหญ่เบอร์หนึ่งและสอง สลับกันในด้านต่างๆ แต่ว่าเวลามองความสัมพันธ์ของคู่นี้ คนก็มักจะให้ความสนใจไปที่ด้านความขัดแย้ง ใครจะขึ้นมานาใคร ใครจะแพ้ใครจะชนะ ใครผิดใครถูกในเรื่องต่างๆ เมื่อไหร่ทั้งสองจะรบกัน ฯลฯ อย่างไรก็ตาม ในการพิจารณาเรื่องนี้ให้ดี เราควรตระหนักว่าโครงสร้างอานาจของโลกเปลี่ยนแปลงไป มากแล้ว ความสัมพันธ์ระหว่างมหาอานาจเบอร์หนึ่งและสองของโลกในศตวรรษปัจจุบันของเรา ไม่ เหมือนกับในยุคก่อนๆ ที่มีแต่ด้านความขัดแย้งด้านเดียวได้ เช่น ยุคสงครามเย็น สหรัฐกับโซเวียตจ้องห้า หั่น แข่งขันกันแต่เพียงอย่างเดียว เพราะในยุคสงครามเย็น เศรษฐกิจของสหรัฐกับโซเวียตแยกขาดจากกัน โดยสิ้นเชิง แทบจะหาผลประโยชน์ร่วมไม่มี แต่ในยุคนี้ ต้องขอบคุณโลกาภิวัตน์ เพราะเศรษฐกิจสหรัฐกับจีน 1 เอกสารวิชาการ ฉบับที่ 3 /2559 จีน-อเมริกา สร้างความเข้าใจอันดีในหมู่คน รุ่นใหม่ผ่านโครงการ “ทูตเยาวชน”
  • 2. นั้นต้องใช้คาว่า “ยิ่งกว่าตังเม” โยงใยผูกพันกันเสียจนหากทาสงครามกันขึ้นมาจริงๆ ก็คงมีอันต้องพังทั้ง สองฝ่าย ความสัมพันธ์ระหว่างจีนและสหรัฐในศตวรรษนี้จึงเป็นความสัมพันธ์ที่ “พิเศษ” มาก คือ มีทั้ง ขัดแย้งและร่วมมือ ปนเปกันไป แต่น่าจะมีความร่วมมือมากกว่าด้านขัดแย้ง ดังนั้นแม้จะกระทบกระทั่ง กันบ้างในบางประเด็น เช่น ข้อพิพาทในทะเลจีนใต้หรือความมั่นคงไซเบอร์ แต่ในภาพใหญ่แล้วดู เหมือนว่า ผู้นาทั้งสองชาติจะตระหนักดีถึงความจาเป็นที่จะต้องพึ่งพาอาศัยกัน ทั้งในปัจจุบันและต่อไป อีกนานในอนาคต ดังนั้น กล่าวโดยรวมแล้ว ความสัมพันธ์สหรัฐ-จีน ในยุคโอบามาและสีจิ้นผิงนี้ ดูจะวาง อยู่บนพื้นฐานของความเป็นมิตร จัดการความสัมพันธ์กันอย่างรอบคอบระมัดระวัง และดูมีอนาคตในทาง ความร่วมมือมากขึ้น ส่อง Think Tank เอเชียฉบับเดือนสิงหาคมนี้ จึงขอนาบทความเรื่อง Young Ambassadors Pro- gram Builds Sino-U.S. Trust for New Generation ของ Carnegie Tsinghua Center for Global Poli- cy เขียนโดย Paul Haenle และ Chen Qi มานาเสนอ โดยใจความหลักของเรื่องนี้พูดถึงโครงการ Young Ambassadors Program ที่ Think Tank ลูกครึ่งอเมริกัน-จีนแห่งนี้เป็นหนึ่งในผู้ริเริ่มร่วมกับหน่วยงาน อื่นๆ จัดขึ้นในฐานะกิจกรรมหนึ่งภายใต้เวทีหารือด้านการทูตระดับประชาชนต่อประชาชนของจีน-สหรัฐ (US-China Consultation on People-to-People Exchange) โครงการ “ทูตเยาวชน” นี้ อันที่จริงได้ พัฒนาต่อยอดมาจากสองโครงการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของสถาบัน Carnegie-Tsinghua คือ โครงการ Global Intern Program กับโครงการ the US-China Trust Initiative ที่เริ่มจัดมาตั้งแต่ปี 2010 โครงการ แรกดึงเอานักศึกษาและคนทางานรุ่นใหม่ทั่วโลกมาร่วมทาวิจัยกับนักวิจัยและทีมงานของ Carnegie- Tsinghua และอภิปรายร่วมกันใน “ประเด็นร้อน” ต่างๆ ในนโยบายการต่างประเทศของจีน และในเรื่อง พัฒนาการของการต่างประเทศจีนในยุคที่บทบาทของจีนในประชาคมโลกเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ส่วน โครงการที่สอง the US-China Trust Initiative มีเป้าหมายอยู่ที่การนาเอานักศึกษาจีนและสหรัฐมานั่ง แลกเปลี่ยนเพื่อร่วมกันหาสาเหตุของ “ความไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน” ที่ดารงอยู่ระหว่างสองประเทศ พร้อมหาทางขยายสร้าง ขยาย ความไว้ใจกันต่อไป ส่วนโครงการ Young Ambassadors นี้ มีเป้าหมายหลักเพื่อสร้างผู้นาโลกรุ่นใหม่ที่จะเติบโตไปใน วงการผู้กาหนดนโยบาย วงการธุรกิจ วงวิชาการ และวงการการทูต ที่มุ่งร่วมมือกัน เพื่อเผชิญภัยของ โลกและมนุษย์ที่นับวันจะเพิ่มมากขึ้น มากกว่าคิดแต่จะแข่งขันกันระหว่างรัฐชาติต่างๆ อย่างที่ผ่านมา โดยนาเยาวชนหลายร้อยคนทุกปี จากสหรัฐอเมริกาและจีน รวมทั้งจากสหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย แคนาดา ฝรั่งเศส รัสเซีย สเปน สิงคโปร์ และเกาหลีใต้ มาเข้าโครงการร่วมกัน เพื่อปลูกฝังความเข้าใจ อันดี สร้างความสัมพันธ์ที่ดีในหมู่คนรุ่นใหม่ของกันและกัน อันถือเป็นหนทางที่ยั่งยืนที่สุดในการสร้าง สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 2
  • 3. เสริมความสัมพันธ์ระหว่างสองมหาอานาจ รวมทั้งประเทศต่างๆ ที่จะมีบทบาทสูงยิ่งในการร่วมกัน กาหนดหน้าตาของโลกในศตวรรษที่ 21 และในอนาคตต่อจากนั้น การอ่านบทความเรื่องนี้ทาให้เราเห็นความพยายามที่แม้จะเล็กๆ แต่ก็เป็นรูปธรรมของ หน่วยงาน Think Tank จีน-สหรัฐ แห่งนี้ ในการขจัดความไม่เข้าใจ ความหวาดระแวงซึ่งกันและกัน สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างคนทั้งสองประเทศ อันจะเป็นพื้นฐานที่สาคัญที่สุดในการร่วมมือกันไม่ ว่าเรื่องใดๆ ในอนาคต ผ่านการจัดกิจกรรมสองสามโครงการที่กล่าวมานี้ และ Paul Haenle ผู้อานวยการ Think Tank แห่งนี้ก็ได้กล่าวว่า อันที่จริง Carnegie Tsinghua Center for Global Poli- cy ก็ถูกตั้งขึ้นมาเมื่อ 6 ปีที่แล้วด้วยจิตใจอย่างเดียวกันนี้ ด้วยการร่วมกันระหว่าง Carnegie Endow- ment for International Peace Think Tank ด้านการต่างประเทศที่เก่าแก่ที่สุดของสหรัฐ กับ มหาวิทยาลัยชิงหัว มหาวิทยาลัยชั้นนาของจีน เพื่อสร้าง Platform ขึ้นในปักกิ่งให้ผู้เชี่ยวชาญของจีน และประเทศต่างๆ มาร่วมกันทางานวิจัยและแลกเปลี่ยนกันในประเด็นทางการต่างประเทศต่างๆ โดย มีเป้าหมายสูงสุดคือ เพื่อส่งเสริมความเข้าอกเข้าใจและความเชื่อใจกันระหว่างคนจากหลากหลายชาติ เพื่อเป็นรากฐานต่อไปในวันที่มนุษย์ ไม่ว่าชาติใด ต้องเผชิญภัยร่วมกัน ทั้งโจทย์ที่เห็นกันอยู่แล้วใน วันนี้ อย่างการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ การครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ การหาแนวทางพัฒนา เศรษฐกิจที่ยั่งยืน และโจทย์อื่นๆ ที่จะโผล่ขึ้นมาในวันหน้า บทเรียนสาหรับประเทศไทยคืออะไร? บทเรียนของเราคือ ในเมื่อเบอร์หนึ่งกับเบอร์สอง ของโลกเขาตระหนักกันแล้วว่าต้องร่วมมือกัน ถ้าสู้กันก็มีแต่จะพังทั้งคู่ และได้พยายามดาเนิน ความสัมพันธ์ระหว่างกันอย่างดี ข้อใดที่พิพาทขัดแย้งก็ใช้ความระมัดระวัง พยายามไม่ยกระดับความ ขัดแย้ง ข้อใดที่เป็นความร่วมมือก็ส่งเสริมให้เพิ่มขึ้น ประเทศไทยของเราก็ไม่ควรไปติดอยู่ในโลกทัศน์ แบบขาวดา สองขั้วขัดแย้ง ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นโลกทัศน์แบบยุคสงครามเย็น เราควรเลิกตั้งคาถาม ประเภทว่า สหรัฐกับจีนใครจะชนะ จีนจะแซงสหรัฐเมื่อใด เราควรเลือกข้างใดในสองข้างนี้ เพราะที่จริง พวกเขาเองก็ไม่ได้อยากจะห้าหั่นกัน และยังพยายามที่จะหาทางร่วมมือกันให้มากขึ้นด้วยซ้า ท่าทีที่ เหมาะสมของไทยเราจึงควรเป็นการเชื่อมให้จีน-สหรัฐมาเข้าใจกันมากขึ้น ตะวันตก-ตะวันออกมา เข้าใจกันมากขึ้น เพราะต้องไม่ลืมว่า สุดท้ายแล้ว หลักเดียวในการต่างประเทศที่เราจะยึดไว้ใช้ได้ ไม่ใช่การเลือกอยู่กับข้างใด ฝ่ายใด หรืออยู่ที่ใครอื่น แต่คือผลประโยชน์ของชาติเราเอง หรือถ้าจะมี มากกว่านั้นก็คือผลประโยชน์ร่วมของภูมิภาคและของโลก 3 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3
  • 4. นอกจากนี้ ความริเริ่มดังที่ Carnegie-Tsinghua ลุกขึ้นมาจัดโครงการในลักษณะนี้ ก็เป็นตัวอย่างที่ ดีให้แก่สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย หรือ Think Tank ด้านการต่างประเทศในประเทศไทยว่า เช่นเดียวกับการพัฒนาในทุกๆ เรื่อง การพัฒนาในทางการระหว่างประเทศที่ยั่งยืนที่สุดก็เริ่มที่การสร้างคน การพัฒนาคน ดังนั้น สถาบันที่ว่ามานี้ของไทยเรา นอกจากจะมีบทบาทต่อสังคมด้วยการให้ข้อมูล ข้อ วิเคราะห์ ความรู้ความเข้าใจในเรื่องต่างๆ ต่อสังคมแล้ว ยังสามารถทากิจกรรมเชิงรุกอีกทางด้วยการจัด โครงการหรือเปิดพื้นที่ให้เยาวชนจากประเทศต่างๆ มาทากิจกรรมร่วมกัน ไทยเราอาจจะเริ่มทากับเพื่อน บ้านในอาเซียน ในเอเชีย ซึ่งจะเป็นภูมิภาคที่สาคัญยิ่งกับเราในอนาคตก่อนก็ได้ 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 4
  • 5. 5 ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้แปลและเรียบเรียง : นายปาณัท ทองพ่วง จัดรูปเล่ม : น.ส.ปลายฟ้า บุนนาค อ้างอิงปก : http://carnegietsinghua.org/2016/07/24/young-ambassadors- program-builds-sino-us-trust-for-new-generation/j3a1 ปีที่พิมพ์: สิงหาคม 2559 สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตำบลหลักหก อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธำนี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสำร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 5