SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 24
Descargar para leer sin conexión
สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลก
กับการกาหนดยุทธศาสตร์การพัถนาของไทย
เวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 2
การประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 2
สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลก
กับการกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย
จัดโดย
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
24 สิงหาคม 2559
รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขต
จตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864
บรรณาธิการ: ยุวดี คาดการณ์ไกล
ถอดความและเรียบเรียง : ปาณัท ทองพ่วง
เผยแพร่: ตุลาคม 2559
สารบัญ
หน้า
บทนา
ส่วนที่ 1 สถานการณ์โลกและสังคมไทย 1
มุมมองจากนักเศรษฐศาสตร์ 2
มุมมองจากนักรัฐศาสตร์ด้านความมั่นคง 6
มุมมองนักวิชาการความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 9
ส่วนที่ 2 ข้อเสนอแนวทางพัฒนายุทธศาสตร์ของไทย 12
ภาคผนวก รายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม 20
บทนา
เมื่อวันพุธที่ 24 สิงหาคม 2559 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ
มหาวิทยาลัยรังสิต ได้จัดเวทีประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 2 เรื่อง สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของ
โลกกับการกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย ณ มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ โดยมีนัก
ยุทธศาสตร์ นักนโยบาย นักวิชาการและผู้ทรงคุณวุฒิหลากหลายวงการและสาขาอาชีพเข้าร่วม เช่น ที่
ปรึกษารองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด อดีต
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข อดีต
เอกอัครราชทูต และผู้อานวยการสานัก 7 สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นต้น
มาร่วมระดมสมองเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกและสังคมไทย และร่วมกันเสนอ
แนวทางพัฒนายุทธศาสตร์ชาติระยะยาว เพื่อให้ประเทศไทยมียุทธศาสตร์ชาติเป็นกรอบในการพัฒนา
ประเทศอย่างมีทิศทาง เป็นองค์รวม และเตรียมพร้อมประเทศเพื่อตอบรับกับความเปลี่ยนแปลงใน
อนาคต เพื่อเผยแพร่ไปสู่บุคคลในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติของรัฐบาลและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
ต่อไป
1 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
1.
สถานการณ์โลกและสังคมไทย
2 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกและสังคมไทย:
มุมมองจากนักเศรษฐศาสตร์
รศ.ดร. สมเกียรติ โอสถสภา อดีตอาจารย์ประจาคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ได้ฉายภาพสถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกและสังคมไทย ในประเด็นที่สาคัญ ดังนี้
1. ประเทศไทยตั้งอยู่ในจุดยุทธศาสตร์ของการแข่งขันระหว่างอเมริกาและจีน
ประเทศไทยมีความสาคัญอย่างยิ่งในสถานการณ์ระหว่างประเทศปัจจุบัน ด้วยที่ตั้งเป็นจุด
ศูนย์กลางของอาเซียนและเอเชีย ภูมิภาคที่มหาอานาจโดยเฉพาะอย่างยิ่งจีนกับสหรัฐเข้ามาแข่งขันเชิง
ยุทธศาสตร์กันในศตวรรษที่ 21 ลีเซียนลุง ผู้นาสิงคโปร์เคยกล่าวไว้ว่า สิงคโปร์อยู่ได้เพราะมีไทยเป็นรัฐ
แนวหน้า (Front Line State) ในการแข่งขันระหว่างมหาอานาจในอาเซียนนี้แบ่งคร่าวๆ ได้เป็นสองฝ่าย
ฝ่ายหนึ่ง ได้แก่ สิงคโปร์และมาเลเซียมีจุดยืนเอียงมาทางสหรัฐอเมริกา ขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งคือประเทศที่
อยู่ฝ่ายจีน เช่น กัมพูชา เป็นต้น ส่วนไทยยังถือว่ามีจุดยืนค่อนข้างเป็นกลาง
2. ความเข้าใจเรื่องโลกมุสลิมและตะวันออกกลางในสังคมไทย
ความเข้าใจในความนึกคิด การมองโลก และวิถีชีวิตของโลกมุสลิมนั้นสาคัญมากต่อการกาหนด
ยุทธศาสตร์ต่างประเทศต่อภูมิภาคนี้อย่างเหมาะสม ไม่เป็นศัตรูตามตะวันตก แต่ประเทศไทยยังขาด
แคลนความรู้ความเข้าใจโลกมุสลิมและตะวันออกกลางอย่างถ่องแท้ด้วยสายตาเป็นกลาง หน่วยงานของ
ไทยเองไม่ค่อยเข้าใจเรื่องประเทศเหล่านี้มากนัก เช่น ประเทศไหน กลุ่มใด อยู่ฝั่งใคร เป็นต้น
3. ปัญหาสามจังหวัดภาคใต้และความสัมพันธ์กับมาเลเซีย
การสร้างสันติภาพและดุลยภาพในสามจังหวัดนั้น เราควรเรียนรู้จากประสบการณ์ของหลาย
ประเทศ เช่น ฟิลิปปินส์หรือประเทศในโลกมุสลิม เรื่องนี้เป็นเรื่องที่ต้องการการศึกษาวิจัยเพื่อนามา
กาหนดยุทธศาสตร์อย่างเร่งด่วน การผลักดันการสร้างสันติสุขอย่างจริงจังและต่อเนื่องในสามจังหวัด
ชายแดน ส่วนหนึ่งมีอุปสรรคเพราะประเทศไทยมีปัญหาเรื่องพรรคการเมืองที่ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกัน
เข้ามา เมื่อเปลี่ยนคนก็ทาให้งานเกิดความไม่ต่อเนื่อง ที่สาคัญ การแก้ปัญหาภาคใต้ต้องอาศัยการพูดคุย
กับฝ่ายมาเลเซียอย่างจริงจัง เพราะมาเลเซียมีผลประโยชน์อยู่ในเรื่องสามจังหวัดภาคใต้ ที่ผ่านมา เราดู
3 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
เหมือนว่าจะรู้จักมาเลเซีย แต่ความจริงเราไม่รู้จัก เราต้องมีการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับคนและความคิด
ยุทธศาสตร์และนโยบายการพัฒนาของมาเลเซียอย่างจริงจัง
4. กระแส Anti-Globalisation
ปัจจุบัน ได้เกิดกระแสต้านโลกาภิวัตน์และการปฏิเสธการรวมตัวทางเศรษฐกิจในโลกขึ้น กรณี
Brexit ของยุโรปก็สะท้อนความรู้สึกแบบเดียวกับที่เกิดในหมู่ประชาชนในหลายประเทศรวมทั้งประเทศ
ไทยว่าการตกลงทาการค้าเสรีในหลายกรณีที่ประเทศตนไปตกลงกับประเทศอื่นนั้น คนที่ได้ประโยชน์
แท้จริงมีแต่นายทุนใหญ่ ประชาชนทั่วไปไม่ได้อะไร เช่น มีความรู้สึกต่อต้านกลุ่มธุรกิจ Chaebol ขึ้นมา
อย่างรุนแรงในเกาหลีใต้ เราต้องหาจุดลงตัวเรื่องทุนครอบงาสังคม
นอกจากนี้ หลายประเทศในโลกยังมีกระแสการสงวนทรัพยากรของตนไว้สาหรับคนในประเทศ
เช่น ไต้หวันมีนโยบายมานานแล้วว่าของหลายอย่างที่จับหรือหามาได้ต้องขายในประเทศก่อน แต่
นโยบายของไทยกลับกันคือ มุ่งแต่จะส่งออกอย่างเดียว จนเกิดการขาดแคลนในประเทศ เช่น ช่วงที่ผ่าน
มาเกิดภาวะกล้วยแพงเพราะส่งขายประเทศจีนมากเกินไป เป็นต้น
5. กระแสการต่อต้านการอพยพข้ามชาติ
เริ่มเกิดความรู้สึกต่อต้านต่างชาติในหมู่คนไทยไม่ว่าจะเข้ามาเป็นแรงงาน มาท่องเที่ยว หรือมา
ใช้บริการสาธารณสุขของรัฐ ประการแรก จากสถิติของสานักงานตรวจคนเข้าเมืองพบว่าปัจจุบันมีคน
ต่างชาติที่อยู่เกินวีซ่าในไทยถึงราว 6 ล้านคน เกิดความรู้สึกว่าเหตุใดคนต่างด้าวจึงเข้ามาแย่งงานทา
มากขึ้นเรื่อยๆ ในหมู่คนต่างจังหวัด ประการที่สอง มีความรู้สึกต่อต้านการท่องเที่ยวจากต่างชาติที่มา
แบบกินรวบ คนไทยไม่ได้ประโยชน์เท่าที่ควร (ทัวร์ศูนย์เหรียญ) ประการที่สาม มีประเด็นเรื่อง
ขบวนการขนคนต่างด้าวเข้ามารักษาในโรงพยาบาลรัฐในไทยเพราะคุณภาพดีและราคาถูก ส่งผลกระทบ
มากโดยเฉพาะต่อคนจน ซึ่งมีความรู้สึกว่าต่างด้าวเข้ามาแย่งใช้บริการสาธารณสุขของรัฐ
6. ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับภาวะแล้งของแม่น้าโขง
การละลายอย่างรวดเร็วของน้าแข็งบนเทือกเขาหิมาลัย อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ กาลังนามาสู่การเปลี่ยนแปลงด้านสภาพแวดล้อมอย่างกว้างขวางในภูมิภาคจีนตอนใต้และ
อาเซียนตลอดสองฝั่งแม่น้าโขง ปัจจัยสาคัญคือมีความต้องการน้าจานวนมากในเขตมณฑลยูนนาน
เนื่องจากทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีนส่วนที่ใกล้กับไทยเป็นเขตที่กันดารน้าที่สุดของจีน ดังนั้น ยิ่ง
หิมาลัยละลายเร็วเท่าใด จีนและอินเดียยิ่งหาทางเก็บกักน้าให้มากที่สุดด้วยการสร้างเขื่อนขึ้นมา สอง
4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
ประเทศนี้ถือข้อมูลเรื่องเทือกเขาหิมาลัยเป็นข้อมูลลับทางความมั่นคง อย่างไรก็ดี ทีมวิจัยของ
มหาวิทยาลัย Utrecht ประเทศเนเธอร์แลนด์ได้ทาแบบจาลองจากภาพถ่ายทางอากาศ โดยทานายว่า
ภายในเวลา 6-7 ปีข้างหน้า แม่น้าโขงจะเกิดภาวะแล้งเป็นช่วงๆ ช่วงละหลายเดือน เมื่อครบ 15 ปี
แม่น้าโขงจะแห้งสนิท ผลกระทบจะเกิดเป็นวงกว้าง ตั้งแต่ภาคอีสานของไทย ลาว กัมพูชา เรื่อยไปถึง
เวียดนาม เรื่องน้านี้จะเป็นเรื่องสาคัญเพราะส่งผลกระทบโดยตรงสาหรับประเทศไทยและประเทศลุ่มน้า
โขงมากเสียยิ่งกว่าเรื่องทะเลจีนใต้
ดังนั้น ไทยต้องคิดหากลไกในการต่อรอง กลไกทางด้านกฎหมาย กลไกด้านการต่างประเทศ
หรือกลไกการพูดคุยกับจีนและอินเดียในเรื่องนี้ ที่ผ่านมาเราไม่เคยศึกษาเรื่องนี้อย่างจริงจัง กระทรวง
การต่างประเทศก็ไม่ค่อยสนใจที่จะออกไปเจรจาเรื่องที่ต้องเกิดการขัดแย้งผลประโยชน์ แต่เรื่องน้านี้จะ
เลี่ยงการเจรจามิได้ เนื่องจากเป็นเรื่องที่ผลประโยชน์ขัดแย้งกันอย่างแท้จริง เช่นเดียวกับที่อินเดีย
ขัดแย้งกับปากีสถานและบังกลาเทศ
7. การสื่อสารข้อมูลและความรู้ในโลกยุคดิจิทัล
ปัจจุบันคนไทยใช้โซเชียลมีเดียอย่าง Facebook มากถึงเกินครึ่งหนึ่งของประเทศ (ราว 38 ล้าน
คน) และจะมีจานวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เทคโนโลยีสารสนเทศนี้ช่วยให้การสื่อสารความรู้ ความคิด และข้อมูล
ต่างๆ จากคนคนหนึ่ง หรือคนกลุ่มหนึ่ง แพร่ออกสู่สังคมได้รวดเร็วอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน ซึ่งถ้าใช้
ในทางที่ดี ก็จะสามารถใช้เตือนภัยในสถานการณ์ไม่ปกติต่างๆ ในหมู่ประชาชนผ่านเครือข่ายกลุ่มต่างๆ
บนโลกออนไลน์ เช่น Facebook หรือ Line ได้อย่างรวดเร็ว ความสามารถสื่อสารได้อย่างรวดเร็วนี้อาจ
ช่วยระงับยับยั้งหรือบรรเทาภัยพิบัติ โรคระบาด หรือแม้แต่สงครามได้ นอกจากนี้ โซเชียลมีเดียยังถูกใช้
เป็นเครื่องมือที่ประชาชนร้องเรียนเรื่องต่างๆ ไปยังรัฐบาลหรือออกสู่สาธารณะ ซึ่งที่ผ่านมาทาให้ปัญหา
หลายเรื่องได้รับความสนใจ กลายเป็นประเด็น และได้รับการแก้ไขอย่างรวดเร็ว ในข้อนี้ตั้งข้อสังเกตได้
ว่าอาจมีประสิทธิภาพยิ่งกว่าการร้องเรียนผ่านระบบผู้แทนราษฎร ซึ่งเคยมีประสิทธิภาพเมื่อหลายร้อยปี
ก่อนในยุคที่ถูกพัฒนาขึ้นมาในโลกตะวันตก เมื่อครั้งยังมีคนจานวนน้อยและการสื่อสารระหว่างท้องถิ่น
กับส่วนกลางยากลาบาก แต่ไม่สามารถตอบสนองได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกแล้วในสังคมปัจจุบัน
8. การแก้ปัญหาสังคมเชิงรุกที่ได้ผลของรัฐบาล
สิ่งที่รัฐบาลทาอยู่สองปีที่ผ่านมานั้นประชาชนจานวนมากพอใจ หลายสิ่งไม่ได้เขียนไว้ใน
แผนพัฒนาทั่วไป แต่เป็นสิ่งที่ประชาชนเดือดร้อนคอยให้แก้ไขมานาน และรัฐบาลนี้ทาได้ หลายครั้งจึง
ต้องตระหนักว่าสิ่งที่เขียนไว้ในแผนกับสิ่งที่ประชาชนต้องการเป็นคนละเรื่องกัน
5 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
1) ปราบปรามผู้มีอิทธิพลในสังคม ธุรกิจผิดกฎหมาย ขบวนการค้ายาเสพติด ค้ามนุษย์
2) สร้างสังคมที่สะอาดเป็นระเบียบ ทั้งแม่น้า ลาคลอง ถนน ทางเดินเท้า สะพานลอย ตลาด
หาบเร่แผงลอย
3) สร้างความยุติธรรมในสังคม จัดการกับการบุกรุกยึดที่ดินสาธารณะ ป่า แม่น้า ภูเขา ความ
ยุติธรรมในการถือครองที่ดิน ความเป็นธรรมในการเข้าถึงการศึกษา แก้ปัญหาคนต่างด้าว
เข้ามาแย่งบริการสาธารณสุขในโรงพยาบาลรัฐ
4) บังคับใช้กฎหมายอย่างรวดเร็ว เป็นธรรม แก้ไขความเดือดร้อน ข้อร้องเรียนของประชาชนได้
อย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดคาถามขึ้นว่าระบบผู้แทนราษฎรยังจาเป็นมากน้อยเพียงใดในโลก
ปัจจุบันที่ประชาชนทั่วไปสามารถร้องเรียนถึงอานาจรัฐให้แก้ไขปัญหาต่างๆ ได้โดยตรง ไม่
ว่าผ่านโซเชียลมีเดีย หรือผ่านศูนย์ดารงธรรม เป็นต้น ที่สาคัญคือรัฐแก้ไขให้ได้ในเวลา
อันรวดเร็ว ไม่ต้องรอให้ปัญหาเกิด ผ่านไปเป็นปีผู้แทนราษฎรมากล่าวในสภาได้สามนาที
แล้วก็ไม่ได้แก้ไขอะไรเลย ขณะที่ประชาชนต้องอดทนกันนับสิบปี
5) ใช้อานาจของกองทัพเข้ามาช่วยผลักดันการบริหารในหลายเรื่องที่ไม่เคยแก้ได้ เช่น การบุก
รุกที่สาธารณะ
6) ขจัดปัญหาคอร์รัปชั่น การทุจริตในระบบราชการ ซึ่งพูดกันมานานแต่ไม่เคยแก้ไขได้สาเร็จ
7) กาหนดยุทธศาสตร์ระยะยาว 20 ปี อันที่จริงยุทธศาสตร์ชาติระยะยาวไม่ใช่เรื่องใหม่สาหรับ
หลายประเทศที่เจริญแล้ว สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน มีการวางเป้าหมายของชาติที่แน่นอน
และขับเคลื่อนองคาพยพ ของประเทศเป็นองค์รวมไปในทางเดียวกัน ประเทศเหล่านี้วาง
ยุทธศาสตร์ชาติ โดยเริ่มจากดูแนวโน้มประชากร เช่น จานวนผู้สูงอายุ รวมทั้งกาหนด
คุณภาพและปริมาณของคนที่ต้องการในวิชาชีพต่างๆ จานวนที่ผลิตเองได้ และจานวนที่
ต้องนาเข้า และนาแผนไปเชื่อมกับระบบจัดสรรงบประมาณ และหน่วยราชการและเอกชน
ไม่ว่า โรงเรียน โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย ฯลฯ ก็ไปวางแผนยุทธศาสตร์ 20 ปีขององค์กร
ตามแนวทางนั้น ยุทธศาสตร์ชาติจึงจะเชื่อมโยงกันได้ ตัวอย่างเช่น สิงคโปร์ทาวิสัยทัศน์
2030 มีข้อมูลที่ชัดเจนว่าในอีก 25 ปี ประเทศจะต้องการคนจบปริญญาเอกทางด้าน
รัฐศาสตร์ 8 คน เป็นต้น
6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกและสังคมไทย:
มุมมองจากนักรัฐศาสตร์ด้านความมั่นคง
รศ.ดร. ปณิ ธาน วัฒนายากร ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงกลาโหม และอาจารย์ประจาภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย กล่าวว่า หลายปีที่ผ่านมานี้ประเทศไทยเสียสมดุลภายในไปเป็นเวลานาน อย่างไรก็ตาม
ปัจจุบันไทยกาลังกลับมาสร้างสมดุลภายในใหม่ ประเทศของเราเริ่มตั้งหลักได้ รัฐบาลนี้ได้เข้ามาจัดกลุ่ม
งานใหม่ สร้างกติกา สร้างโครงสร้างใหม่ในการบริหารประเทศให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้การทางานลื่น
ไหลมากขึ้น ที่สาคัญไทยกาลังจะมียุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีเป็นเป้าหมายในการขับเคลื่อนประเทศต่อไป
อย่างเป็นองค์รวม มีการดึงภาคเอกชนเข้ามาร่วมพัฒนาประเทศอย่างจริงจังผ่านนโยบายประชารัฐ หาก
ประเทศไทยเดินหน้าไปในแนวทางนี้ ก็จะมีอนาคตที่เห็นทางออกมากขึ้น นอกจากนี้ รศ.ดร. ปณิธาน ยัง
ได้กล่าวถึงสถานการณ์โลกและสังคมไทยที่สาคัญ ดังนี้
1. กระแสใหญ่ (Mega Trends) ที่สาคัญของโลก
โลกปัจจุบันกลายเป็นระบบหลายขั้วอานาจ (Multipolar) เป็นโลกที่มีขนาดเล็กลง เชื่อมโยงกัน
มากขึ้น มีประเด็นซับซ้อนมากขึ้น แนวโน้มสงครามขนาดใหญ่เกิดได้ยากขึ้น เป็นโลกสังคมผู้สูงอายุมาก
ขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว การแพร่กระจายของอาวุธนิวเคลียร์ การเติบโตของ
ขบวนการก่อการร้ายและขบวนการสุดโต่ง Mega Trends เหล่านี้กลายมาเป็นเงื่อนไขในการกาหนด
ยุทธศาสตร์ชาติของประเทศต่างๆ รวมทั้งประเทศไทย
ตัวอย่างเช่น ปัญหาผู้อพยพ ขณะนี้ไทยมีผู้อพยพเกือบสองแสนคน คนต่างชาติที่อยู่ในประเทศ
อย่างผิดกฎหมายหลายล้านคน ที่ผ่านมาก็เริ่มมีการส่งกลับ เช่น ส่งกลับไปพม่า เป็นต้น เวลานี้เราพูด
เรื่องผู้อพยพกับสหภาพยุโรปง่ายขึ้น เพราะยุโรปก็กาลังเผชิญวิกฤตดังกล่าวและตระหนักแล้วว่าจะมา
กดดันไทยเช่นที่เคยทาเมื่อสองสามปีก่อนไม่ได้อีกแล้ว ประเด็นสาคัญของเรื่องนี้คือสถานการณ์ในโลก
เปลี่ยนไปเร็วมาก เสียงส่วนใหญ่ในยุโรปเวลานี้ไม่ต้องการผู้อพยพแล้ว เยอรมันขณะนี้รับผู้อพยพจาก
ซีเรียไปกว่าห้าแสนคน ส่วน 60 เปอร์เซ็นต์ของชาวเบลเยียมไม่ต้องการรับผู้อพยพแล้ว ภายหลังเกิด
เหตุวินาศกรรมที่กรุงบรัสเซลล์
7 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
2. ประเทศไทยในภูมิทัศน์ใหม่ทางยุทธศาสตร์: ภูมิภาคอินโด-แปซิฟิ ก (Indo-Pacific Region)
ภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกนั้นไล่ตั้งแต่ตะวันออกกลาง อินเดีย อาเซียน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ไป
ถึงจีนและญี่ปุ่น กล่าวกันมานานแล้วว่าบริเวณนี้จะกลายเป็นพื้นที่ใจกลางของการแข่งขันทาง
ยุทธศาสตร์ระหว่างมหาอานาจของโลก เหตุผลสาคัญคือเพราะมีเขตเศรษฐกิจที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในโลก
คือเอเชีย โครงสร้างพหุภาคีทางเศรษฐกิจการเมืองที่สาคัญในปัจจุบัน เช่น TPP, APEC, Belt and
Road, ASEAN, ASEAN+3, SCO, East Asia Summit, US lower Mekong Initiative ก็อยู่ในภูมิภาค
อินโด-แปซิฟิกทั้งสิ้น และหากวัดจากอัตราการค้าขายในทะเล หรือความมั่งคั่ง ก็กลายเป็นว่าภูมิภาคนี้
เป็นภูมิภาคที่มีพลวัตสูงสุด ไทยในฐานะที่ตั้งอยู่ใจกลางบริเวณนี้จะดาเนินยุทธศาสตร์อย่างไรให้ได้
ประโยชน์จากภูมิทัศน์ใหม่นี้
ฝ่ายสหรัฐอเมริกาคิดว่าต้องมีการจัดระเบียบในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก โดยมีการคาดการณ์ไว้
หลายรูปแบบ เช่น 1) สหรัฐอเมริกาเป็นผู้จัด 2) จีนจัด 3) จีนและอเมริการ่วมกันจัด (Group of 2 : G2)
4) G2+ ญี่ปุ่น อินเดีย รัสเซีย ออสเตรเลีย เกาหลีใต้เป็นผู้จัด (ซึ่ง Henry Kissinger คาดว่าจะเป็นแบบที่
4 นี้)
ปัจจุบันพบว่าสหรัฐและจีนให้ความสาคัญกับภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกมาก โดยดูจากการทุ่มเท
ทรัพยากร ทั้งกาลังคน กาลังเทคโนโลยี กาลังทหาร ฯลฯ ลงมาในบริเวณนี้เป็นจานวนมาก เช่น สหรัฐ
ถ่ายกาลังทหารจากฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกมาสู่แปซิฟิกเป็น 40 : 60 ทะเลจีนใต้จึงได้เป็นปัญหาสาคัญ
สาหรับสหรัฐอเมริกามาก ส่วนเรือดาน้าของจีนนั้นก็ปฏิบัติการลาดตระเวนอยู่ในภูมิภาคนี้มากเช่นกัน
ทั้งยังพบว่าเป็นภูมิภาคที่มีการสืบข่าวสูงสุด ปัจจัยเหล่านี้แสดงว่าภูมิภาคนี้มีความสาคัญมากต่อ
สหรัฐอเมริกาและจีน
3. การดาเนินยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศของรัฐบาล
1) ความคืบหน้าของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ขณะนี้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579)
ของรัฐบาลร่างเสร็จสิ้นแล้ว เช่นเดียวกับยุทธศาสตร์ความมั่นคง และยุทธศาสตร์ต่อสภาวะ
แวดล้อมระหว่างประเทศของสภาปฏิรูป (สปท.) อย่างไรก็ดี ยังพอมีเวลาในการปรับปรุง
แก้ไขเนื้อหาอยู่บ้าง เนื่องจากกระบวนการภายหลังจากร่างเสร็จแล้ว ยังเปิดให้มีส่วนร่วม
จากภาคประชาชนก่อนจึงออกเป็นกฎหมายได้ จึงอาจบรรจุเนื้อหาเพิ่มเติมได้ เช่น มี
ข้อเสนอให้คณะทางานยุทธศาสตร์ชาติลงไปถึงระดับอาเภอ หมู่บ้าน ให้ทุกฝ่ายมาร่วม
วางแผนยุทธศาสตร์นี้ร่วมกับรัฐบาล เพื่อเสริมมุมมองนอกเหนือจากการวางแผนจากบนลง
ล่าง (Top-Down) ซึ่งจะเห็นแต่ภาพใหญ่ แต่จะไม่เห็นภาพรวมทั้งหมด
2) การให้น้าหนักของผู้นาไทยต่อการดาเนินยุทธศาสตร์ในสภาวะแวดล้อมระหว่าง
ประเทศปัจจุบัน การให้น้าหนักของนายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ต่อการ
ดาเนินยุทธศาสตร์ไทยในสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศปัจจุบันนั้น พอสรุปให้เห็นบาง
ประเด็นได้จากปาฐกถาบนเวที Shangri-La Dialogue 2016 ณ ประเทศสิงคโปร์ ดังนี้
8 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
 การปฏิรูประบบบริหารราชการแผ่นดิน ที่ผ่านมามีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น
มากมายในภูมิภาคของเรา แต่การทางานหลายอย่างของประเทศไทยยังคงไม่
เปลี่ยนแปลง ประการสาคัญคือ การทางานที่แยกส่วนกันทา ไม่เป็นองค์รวม
ยกตัวอย่างเช่น เรื่องการแก้ปัญหาการทาประมงผิดกฎหมายซึ่งเรื้อรังมายาวนาน กรม
ประมงกล่าวว่าตนมีหน้าที่ดูแลเรื่องเครื่องมือจับปลาอย่างเดียว ไม่มีหน้าที่ดูแลเรือ กรม
เจ้าท่ากล่าวว่ามีหน้าที่ดูแลเรือ แต่ไม่ได้ดูแลเรื่องเครื่องมือจับปลา กระทรวงแรงงาน
กล่าวว่าตนมีหน้าที่ดูแลคนบนเรือ แต่เรื่องเครื่องมือจับปลาหรือเรือไม่ใช่หน้าที่ของตน
ส่วนตารวจน้ากล่าวว่าตนมีหน้าที่จับคน มีกาลัง แต่ไม่มีงบประมาณ ให้เป็นหน้าที่ของ
ทหารเรือ ทหารเรือกล่าวว่าตนมีกาลัง มีงบประมาณ แต่ไม่มีกฎหมายให้อานาจหน้าที่
เป็นเช่นนี้กระทั่งนายกรัฐมนตรีใช้มาตรา 44 ปลดอธิบดีกรมประมงสองคนก็ไม่ได้ผล
ต้องบริหารจัดการใหม่ เรียกทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาทางานร่วมกัน สร้างศูนย์ปราม
ปรามการทาประมงผิดกฎหมาย ออกกฎหมายทางทะเลใหม่ ออกยุทธศาสตร์แห่งชาติ
ทางทะเล สร้างกอ.รมน.ใหม่ในทะเล ให้ทางานร่วมกันเป็นองค์รวม โดยสรุป โครงสร้าง
การทางานแบบบูรณาการเช่นนี้จาเป็นต้องได้รับการบรรจุอยู่ในยุทธศาสตร์แห่งชาติ
ต่อไป หลังจากที่มีรัฐบาลจากการเลือกตั้งแล้ว มิฉะนั้นจะกระจายกลับไปแยกกันทางาน
อีก ต้องบีบให้อยู่เป็นโครงสร้างใหม่ การปฏิรูประบบบริหารราชการนี้นับเป็นการสร้าง
ดุลยภาพภายในของประเทศให้เกิดขึ้น
 วิสัยทัศน์ด้านการต่างประเทศ: ร่วมมือกับทุกมหาอานาจ ไม่แบ่งฝักแบ่งฝ่าย ใน
การดาเนินยุทธศาสตร์ระหว่างประเทศ เราต้องไม่ติดกับดักการแบ่งฝักแบ่งฝ่าย ต้อง
พยายามร่วมมือกับทุกฝ่าย โดยเฉพาะกับมหาอานาจ เพื่อช่วยกันสร้างดุลยภาพใน
ภูมิภาค เช่น เรื่องทะเลจีนใต้ซึ่งกลายเป็นปัญหาใหญ่ของภูมิภาคนั้น ไทยต้องคิดว่าจะ
ผลักดันให้จีนกับสหรัฐไม่เผชิญหน้ากันอย่างที่เป็นอยู่ แล้วดึงอาเซียนออกเป็นสองฝ่าย
ได้อย่างไร
9 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลก:
มุมมองนักวิชาการด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
รศ.ดร.วิวัฒน์ มุ่งการดี อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและ
อดีตอาจารย์ประจาคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า โลกในปัจจุบันอยู่ในบรรยากาศ
ของการแข่งขันระหว่างมหาอานาจ ทั้งจีน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น รัสเซีย ฯลฯ ซึ่งก่อให้เกิดความปั่นป่วน
ในการเมืองระหว่างประเทศ ภายใต้สถานการณ์ความไม่แน่นอนของโลกนี้ ไทยต้องสร้างความแน่นอน
เท่าที่จะทาได้ นั่นคือความแน่นอนของตัวเราเอง นอกจากนี้ รศ.ดร. วิวัฒน์ ยังได้ฉายภาพถึงประเด็น
สาคัญบางประการเกี่ยวกับสถานการณ์ของโลกและสังคมไทย ดังนี้
1. ความรู้ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหลังยุคสงครามเย็น
ในยุคปัจจุบัน ศาสตราจารย์ John Gaddis แห่งมหาวิทยาลัย Yale กล่าวไว้ว่าสงครามเย็น
สิ้นสุดลงโดยไม่มีนักวิชาการทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศคนใดทานายได้ถูกต้องเลย องค์ความรู้
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศล้มละลายแล้ว นี่เป็นเรื่องสาคัญ แต่อยากจะย้อนไปว่าเมื่อเสร็จ
สงครามโลกครั้งที่สองก็ทายกันไม่ถูกเลยว่าสหรัฐอเมริกา อังกฤษ กับรัสเซีย จะแตกกันหลังเสร็จ
สงครามพอดี เป็นฝ่ายตะวันตกกับรัสเซีย เกิดเป็นสงครามเย็น
การที่สงครามเสร็จสิ้นลงอย่างไม่รู้ตัวนี้ จึงทาให้คนเข้าใจผิดว่าสงครามเย็นได้เสร็จสิ้นลงแล้ว แต่
ในความเป็นจริงจะพบว่า สงคราม การต่อสู้แข่งขันระหว่างอเมริกากับรัสเซียในยุโรป อเมริกากับจีนใน
เอเชีย ยังคงเป็นไปอยู่จนบัดนี้ ดังนั้น สงครามเย็นยังไม่ได้จบสิ้นไป ยังมีการแข่งขันกันอยู่
ทางฝ่ายจีนและรัสเซีย คืออดีตฝ่ายคอมมิวนิสต์ กับทางฝ่ายอเมริกาและยุโรป คือฝ่ายตะวันตก
นั้นก็ผลัดกันรุกผลัดกันรับ อเมริกาหลังจากสงครามเย็นนั้นเป็นฝ่ายรุก ขยาย NATO เข้าไปในยุโรป
ตะวันออกจนเลยไปใกล้ถึงประเทศส่วนที่เป็นรัสเซียเก่า ซึ่งประเทศเหล่านี้ก็มีความนิยมชมชื่นประเทศ
ตะวันตกมากกว่ารัสเซียอยู่แล้ว
ในเวลาเดียวกัน หลังเหตุการณ์ 9/11 สหรัฐอเมริกาก็เข้าไปในตะวันออกกลาง ตั้งแต่ยุค
ประธานาธิบดีบุช 8 ปี ประธานาธิบดีโอบามาอีก 8 ปี เป็น 16 ปีแล้ว ก็ยังสร้างระเบียบโลก (World
Order) ในตะวันออกกลางไม่สาเร็จ แล้วทาท่าจะยุ่งเหยิงกว่าเดิมเสียด้วยซ้าไป ฉะนั้น 20 ปีใน
ประวัติศาสตร์เป็นระยะทางที่สั้นมาก
10 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
เพราะฉะนั้น เมื่ออเมริกาอ่อนกาลังลง โดยที่ไปจมปลักอยู่ในตะวันออกกลางนั้น ทาให้จีนเริ่มรุก
ขึ้นมาโดยใช้ Charm Diplomacy เข้ามาหว่านล้อมประเทศต่างๆ ในช่วงแรกใช้ Soft power เวลานี้เริ่ม
จะเปลี่ยนมาสู่ Harder power และเข้ามาในแถบทะเลจีนใต้ ฝ่ายอเมริกาก็ตอบโต้ด้วยนโยบาย Pivot to
Asia ซึ่งส่วนหนึ่งคือการถ่ายเทกาลังรบจากฝั่งแอตแลนติกมาสู่เอเชีย-แปซิฟิกเป็น 60:40 (จากก่อนหน้า
นี้ที่อยู่ในสัดส่วน 40:60 แต่ก็ยังคืบหน้าไปไม่ไกล อย่างไรก็ตาม รัสเซีย เมื่อเห็นอเมริกาอ่อนกาลังลง ก็
ได้เข้ายึดไครเมียและเข้าไปแทรกแซงในยูเครนตะวันออก สหรัฐอเมริกาก็ยังไม่รู้จะดาเนินการอย่างไร
หากอเมริกาไม่ทาอะไร ความเชื่อถือของยุโรปตะวันตกต่อการนาของอเมริกาก็จะลดน้อยลง
2. แนวโน้มในอีก 20 ปีข้างหน้า ไม่น่าจะเกิดสงครามขนาดใหญ่
สองฝ่ายที่จาแนกออกในภาพรวม คือ ตะวันตกกับจีนและรัสเซียนั้นก็ยังยันกันอยู่ และเชื่อว่าใน
อีก 20 ปีข้างหน้าไม่น่าจะมีสงครามใหญ่เกิดขึ้น แต่สองฝ่ายจะผลัดกันรุกผลัดกันรับ และสร้างความไม่
แน่นอนให้บรรยากาศของการระหว่างประเทศยุ่งเหยิงต่อไป รวมทั้งไทยซึ่งอยู่ในภูมิภาคนี้ด้วย มีการ
คาดการณ์ไว้สองข้อ ข้อที่หนึ่งคือ บนแผ่นดินใหญ่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้นี้ คือ ไทย พม่า ลาว กัมพูชา
เวียดนาม จะเป็นพื้นที่การแข่งขันระหว่างจีนกับญี่ปุ่น ไม่ใช่จีนกับอเมริกา ส่วนในทะเลจีนใต้จะเป็นการ
แข่งขันระหว่างอเมริกากับจีน
อีกข้อที่มีการคาดการณ์ไว้คือ การที่อเมริกาจะมาสร้างระเบียบโลกในเอเชียนั้นอาจจะไม่สาเร็จ
ระเบียบโลกของอเมริกาก็คือประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน ทุนนิยม การค้าเสรี และจีนอาจจะไม่ปฏิบัติ
ตาม ในเวลาเดียวกัน จีนเองที่จะเข้ามาแผ่อิทธิพลในประเทศรอบข้างตนนั้นก็จะไม่สาเร็จเช่นเดียวกัน
เห็นได้จากการต่อต้านของฟิลิปปินส์หรือเวียดนามก็ดี เพราะประเทศเหล่านี้เคยต่อสู้กับอาณานิคม
มาแล้ว ส่วนไทยเราถึงไม่ได้เป็นอาณานิคม เป็นเอกราชมาตลอด แต่เราก็ไม่ต้องการให้ใครมาชี้นิ้วสั่ง
เราก็ต้องการเป็นอิสระของเรา ดังนั้น การจะมาสร้างเขตอิทธิพล (Sphere of Influence) ดังที่เชอร์ชิล
เสนอหลังสงครามโลกครั้งที่สองนั้น ในเวลานี้ก็อาจไม่สาเร็จเช่นเดียวกัน
อย่างไรก็ตาม บรรยากาศของโลกที่มีการแข่งขันกันไปมานี้ก็จะก่อให้เกิดความไม่แน่นอน
เพราะฉะนั้น ไทยต้องมีนักการทูตที่เก่งคอยติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด ระหว่างอเมริกากับจีน
ระหว่างจีนกับญี่ปุ่น เราต้องอ่านสถานการณ์ให้ขาด และไม่ควรจะเอนเอียงไปทางใดโดยอารมณ์ แต่ต้อง
คิดให้หนักว่าแต่ละเรื่องนั้นแท้จริงแล้วคืออะไร เพราะฉะนั้น นักการทูต นักเจรจา สาคัญอย่างยิ่งในการ
ติดตามมหาอานาจ
อีกเรื่องหนึ่งที่ตามเรามาคือเรื่องการก่อการร้าย การก่อวินาศกรรม การแยกดินแดน ไทยเรา
ต้องเพิ่มงบประมาณในการดูแลเรื่องการก่อการร้าย การข่าวกรองเพื่อป้องกันให้ได้มากที่สุด เยอรมัน
เป็นประเทศในยุโรปที่รับผู้อพยพเข้าไปมากกว่าใคร แต่เวลานี้ไปสารวจความเห็นคนเยอรมันแล้ว มาก
11 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
ถึง 70 เปอร์เซ็นต์มองว่าการรับผู้อพยพเข้ามาจานวนมากสร้างความเดือดร้อน ทัศนคติสาธารณชน
เยอรมันเปลี่ยนไปภายในเวลาไม่ถึงหนึ่งปี
12 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
2.
ข้อเสนอ
แนวทางพัฒนายุทธศาสตร์ของไทย
13 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
ข้อเสนอแนวทางพัฒนายุทธศาสตร์ของไทย
ภายใต้สถานการณ์ความไม่แน่นอนของโลก ประเทศไทยต้องสร้างความแน่นอนเท่าที่จะทาได้
นั่นคือความแน่นอนของตัวเราเอง ตามแนวทางหลัก 3 ด้าน ดังนี้
1. ยุทธศาสตร์การปฏิรูประบบบริหารราชการภายในประเทศ สร้าง “โครงสร้างการ
ทางานร่วมกัน”
ประเทศไทยเป็นเหมือนประเทศ “เครื่องหลุด” การทางานของแต่ละภาคส่วนเหมือนหลุดจากกัน
เป็นส่วนๆ แยกกันคิด แยกกันทา เช่น มหาวิทยาลัยคิดไปทางหนึ่ง รัฐบาลทาไปอีกทางหนึ่ง กรมนี้ก็ทา
ไปทาง อีกกรมหนึ่งก็ทาไปอีกทาง เอกชนก็ทาไปทาง ทาอะไรไม่มีการวางแผนระยะยาวเป็นองค์รวม
การปฏิบัติแบบองค์รวม ต่างคนต่างทา ทาแล้วต้องมาแก้ไขสิ่งที่ทาไปก่อนหน้า เป็นต้น เมื่อเป็นประเทศ
เครื่องหลุด จะเร่งเครื่องก็เร่งไม่ได้ ดังนั้น ข้อสาคัญคือต้องหันมาคิดว่าจะประกอบเครื่องให้กลไกต่างๆ
ทางานด้วยกันได้ดีได้อย่างไร
รูปแบบการบริหารราชการของเราในปัจจุบันเป็นแบบ “แท่ง” ที่แบ่งตามภารกิจเฉพาะด้าน เป็น
กรมกองกระทรวง แต่ละหน่วยงานจึงทางานกันไปตามภารกิจเฉพาะด้านของตน เมื่อมีปัญหาที่ต้องแก้
หรือเรื่องที่ต้องผลักดันร่วมกันระหว่างหน่วยงานต่างๆ นั้นก็จะทาได้ยากมาก เพราะแต่ละหน่วยมี
กฎหมาย อานาจหน้าที่ ทรัพยากรของตนเอง กลายเป็นอุปสรรคในการประสานงานและการบูรณาการ
การทางานร่วมกัน สภาพของประเทศเราที่ผ่านมาจึงกลายเป็นว่าถ้าใช้อานาจตามปกติของรัฐบาลสั่งแต่
ละแท่งก็ไม่มีใครทาตาม จะมาสั่งได้ก็ต้องในสมัยที่มีอานาจพิเศษ เช่น ในยุค คสช. ที่มีการจัดโครงสร้าง
การทางานใหม่ในการทางานหลายเรื่อง ตั้งหน่วยงานกลาง แล้วบูรณาการเอาข้อมูล หน่วยงานต่างๆ มา
ทางานร่วมกันได้ แต่ปัญหาก็คือ อานาจพิเศษก็จะอยู่ได้ไม่นาน เมื่อมีการเลือกตั้ง ได้รัฐบาลใหม่ ก็จะ
กลับไปสู่การทางานแบบแยกส่วนกันอีก
ดังนั้น ยุทธศาสตร์เริ่มต้นของชาติควรเริ่มที่การจัดระเบียบภายในตัวเองให้ดีก่อน ซึ่งก็ควรเริ่มที่
การสร้างกลไกการขับเคลื่อนประเทศแบบใหม่ที่มีประสิทธิภาพ คล่องตัว หรือกล่าวง่ายๆ คือ ยกเครื่อง
การทางานของประเทศใหม่ ด้วยการสร้าง “โครงสร้างการทางานร่วมกัน” แบบถาวรเพื่อดึงให้หน่วยงาน
ต่างๆ มาร่วมกันทางานได้ การ “สลายแท่ง” นี้ต้องกาหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติเพื่อให้อยู่ต่อไปได้ใน
รัฐบาลปกติ ซึ่งต้องไปตกผลึกต่อไปว่าจะออกแบบโครงสร้างใหม่นี้อย่างไรให้เป็นการทางานร่วมกัน มี
ระบบบริหารจัดการที่ดี มีประสิทธิภาพ และในขณะเดียวกันก็เป็นประชาธิปไตยและตรวจสอบได้ด้วย
14 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
ปัจจุบัน มีผู้เสนอรูปแบบ “โครงสร้างการทางานร่วมกันของประเทศ” ดังกล่าวอยู่เช่นกัน ซึ่ง
หลายโมเดลนอกจากมุ่งสร้างโครงสร้างที่เชื่อมการทางานระหว่างหน่วยราชการแล้ว ยังจะเชื่อมกว้าง
กว่านั้น คือเชื่อมหน่วยงานภาครัฐกับภาคส่วนอื่นๆ ของสังคมด้วย เช่น โมเดลของ ศ.นพ.ประเวศ วะสีที่
เสนอโครงสร้างที่เชื่อม 5 ส่วน (รัฐบาล-คณะกรรมการยุทธศาสตร์-คสช.-ชุมชนท้องถิ่น-ประชาสังคม)
เข้าด้วยกัน หรือแนวคิดการปฏิรูปโครงสร้างการบริหารประเทศให้เป็นแบบอิงพื้นที่ (area-based)
มากกว่าการบริหารตามภารกิจเฉพาะด้านของ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ เป็นต้น ส่วนฝ่ายรัฐบาล
คสช.ในปัจจุบันก็กาลังอยู่ในกระบวนการร่างตัวแบบ “โครงสร้างร่วม” นี้อยู่เช่นกัน แต่ยังไม่ตกผลึกใน
รายละเอียด โดยเบื้องต้นจะใช้คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติเป็นตัวเชื่อม ให้เป็นผู้ผลักดันเรื่อง
ยุทธศาสตร์ต่อไปในยุครัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง โดยในโมเดลของรัฐบาลนี้ นอกจากออกแบบการ
เชื่อมการทางาน “สลายแท่ง” ระหว่างหน่วยราชการแล้ว ยังออกแบบเชื่อมอานาจของฝ่ายบริหารเข้ากับ
ฝ่ายนิติบัญญัติให้เคลื่อนไปด้วยกันในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
นอกจากนี้ คณะทางานด้านยุทธศาสตร์ยังกาลังหาวิธีให้กลไกดังกล่าวเชื่อมระหว่างความรู้กับ
การปฏิบัติในสังคมไทยให้มากขึ้นด้วย ไม่เพียงแต่เฉพาะ “ความรู้ในระบบ” จากวงวิชาการเท่านั้น แต่ยัง
คิดไปถึงการดึงเอา “ความรู้นอกระบบ” ที่มีคุณค่า เช่น ข้อสังเกตส่วนตัว องค์ความรู้จากชาวบ้าน จาก
ท้องถิ่น รวมทั้งความสัมพันธ์ส่วนตัวที่ใกล้ชิดของคนในพื้นที่บริเวณชายแดนที่ติดต่อกับประเทศเพื่อน
บ้านอยู่ตลอด ทั้งชาวบ้านและเจ้าหน้าที่ระดับบนถึงล่าง
การคิดโมเดลเชื่อมการทางานของชาติแบบบูรณาการนี้มีกาหนดเวลาอยู่ที่ราวปีเศษต้องเสร็จ
ก่อนการเลือกตั้ง (ปัจจุบัน กกต.กล่าวว่าประมาณราวปลายปี 2560)
2. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างคน
หัวใจของยุทธศาสตร์ชาติคือการสร้างคนรุ่นใหม่ให้เป็นคนมีคุณภาพ กล่าวคือ เราต้องพยากรณ์
ว่าโลกน่าจะเป็นอย่างไรในอีก 20, 50 หรือ 100 ปี และการวางแผนกาลังคนในอนาคตให้สอดรับกัน ซึ่ง
มีประเด็นสาคัญอยู่ที่เรื่อง แนวทางปฏิรูปการศึกษา การวางแผนผลิตคน และวางแผนการใช้กาลังคน
 แนวทางปฏิรูปการศึกษา
หลักสาคัญที่นักการศึกษาควรคานึงคือ การคิดจากท้ายมาสู่ต้น คือต้องคิดว่าต้องการบัณฑิตที่มี
คุณภาพอย่างไรเสียก่อนที่จะไปสอนวิชาต่างๆ มากมาย บัณฑิตนั้นไม่ว่าจะเรียนมาทางใด เขาต้องมี
ความเชี่ยวชาญในสาขาที่เรียนพอตัวอยู่แล้ว แต่โดยทั่วไปไม่ว่าจะเรียนวิชาใด บัณฑิตควรจะมีคุณสมบัติ
ดังต่อไปนี้
15 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
1. สามารถอ่านจับประเด็นสาคัญได้อย่างรวดเร็ว และเขียนบทความขนาดสั้น (ในอเมริกา
เรียกว่า Think Piece) หรือรายงานเสนอผู้บริหาร (Executive Summary) ขนาด 1-2 หน้า
เท่านั้น แต่เต็มไปด้วยความคิด มีตรรกะที่ต่อเนื่อง ทาให้ผู้อ่านสามารถคล้อยตาม
Argument ของตนได้
2. ควรศึกษาความคิดของนักคิดสาคัญของโลก ไม่ว่าตะวันออก (เช่น ขงจื่อ เล่าจื่อ
พระพุทธเจ้า) หรือตะวันตก (กรีก โรมัน เรอเนสซองส์ โมเดิร์น โพสต์โมเดิร์น ฯลฯ) เพื่อ
เชื่อมโยงว่านักคิดเหล่านั้นเกี่ยวข้องกับโลกปัจจุบันของเราอย่างไร เพราะความจริงเรื่อง
ต่างๆ นั้นมีคนคิดเอาไว้มากแล้ว ควรนามาใช้ประโยชน์
3. วิธีการได้มาซึ่งความรู้สาคัญกว่าความรู้ ความรู้โดยเฉพาะทางสังคมศาสตร์นั้นยังโต้เถียงกัน
ได้เสมอ
4. ต้องรู้วิธีการหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) เพราะในบรรดาวิชาของมนุษย์
นั้น อย่าดูเบา “วิทยาศาสตร์” เนื่องจากเป็นแขนงวิชาที่มีพัฒนาการมาไกลกว่าวิชาอื่นๆ
หากชุบชีวิตขึ้นมา เพลโตคงจะสามารถถกเถียงกับนักรัฐศาสตร์ปัจจุบันได้ไม่ยาก แต่อาร์คี
มีดีส (ผู้ค้นพบวิธีวัดปริมาตรวัตถุ) จะมีความรู้เท่ากับเด็กมัธยมในสมัยของเราเท่านั้น
5. ควรนาวิชาจริยธรรมและหน้าที่พลเมืองกลับมาบรรจุในหลักสูตรการศึกษา
6. เวลานี้เป้าหมายของการสอนควรขยับจากการสอนให้คิดวิพากษ์ (Critical Thinking) ไปสู่การ
ฝึกให้เด็กคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) ได้แล้ว หากเปรียบกับการอ่านหนังสือ
Critical Thinking นั้นคือความสามารถในการแสดงความคิดเห็นได้ว่า หนังสือเล่มนี้ดี
อย่างไร ไม่ดีอย่างไร ยังขาดอะไรอยู่ แต่เพียงให้วิพากษ์วิจารณ์ไม่เพียงพอแล้ว ต้องสร้าง
Creative Thinking ด้วย คือ เมื่ออ่านจบแล้วสามารถเล่าเรื่องเดิมในแบบใหม่ เล่าให้จับใจ
กว่า สนุกกว่านี้ ให้เกิดอารมณ์หัวเราะร้องไห้ได้ เล่าให้เก่งกว่าเดิม ดังนี้เป็นต้น
6. เป้าหมายสูงสุดของการศึกษาควรอยู่ที่การสร้างคนรู้รอบ (Comprehensive) เป็นในทักษะ
ต่างๆ ทั้งศาสตร์และศิลป์ ได้รับการพัฒนาทั้งกายและจิตใจ ทั้งด้านความรู้ ดนตรี กีฬา
ทักษะช่าง ฯลฯ มากกว่าการมุ่งสร้างคนที่รู้ลึก รู้เรื่องเดียว รู้เฉพาะทาง (Specialized) มาก
เกินไป แต่ไม่เห็นภาพรวมอย่างไรก็ตาม เยาวชนก็ต้องรู้จักตัวเอง รู้ว่าตัวเองเก่งทางใด และ
พยายามจะส่งเสริมความเก่งนั้นให้เป็นเลิศ และนอกจากจะรู้จักตัวเองแล้ว ต้องรู้จักส่วนรวม
คือรู้จักเสียสละเพื่อส่วนรวมด้วย
7. ในประเด็นการกาหนดจานวนคนในสาขาอาชีพต่างๆ ให้ได้แน่นอนอย่างสิงคโปร์นั้น
โดยเฉพาะในสายสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ปัจจุบันประเทศไทยยังคงต้องการนัก
รัฐศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักปรัชญา แม้มิได้ต้องการจานวนมาก แต่ต้องเป็นคนที่เก่ง
16 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
มองอะไรได้ทะลุปรุโปร่ง สิงคโปร์อาจต้องการน้อย เพราะเป็นประเทศเล็กและอาจให้
ความสาคัญกับเรื่องอื่นที่ไม่เหมือนกับเรา
 การวางแผนผลิตคนกับการวางแผนใช้กาลังคน
สถานการณ์ของไทยในปัจจุบัน พบว่าแทบจะในทุกวงการไม่มีการเตรียมคนไว้รับไม้ต่อ ถึงเวลา
ที่ไทยควรคิดอย่างจริงจังว่าในอนาคต อีก 50 ปี หรือ 100 ปีข้างหน้า ในระดับชาติ ระดับจังหวัด ระดับ
ท้องถิ่น เราจะต้องการประชากร บุคลากรที่จาเป็นในสาขาต่างๆ ต้องการแรงงานอพยพหรือต่างชาติเป็น
จานวนเท่าใด ซึ่งความต้องการนี้ก็จะไม่เหมือนกับประเทศอื่น หรือจังหวัดอื่น หรือท้องถิ่นอื่นเพราะแต่
ละที่มีพื้นฐานทางเศรษฐกิจ สภาพภูมิศาสตร์ที่แตกต่างกัน
การทาแผนยุทธศาสตร์ชาติควรดึงเอาคนในวัย 30-40 ปีมาทาด้วย เพราะคนกลุ่มนี้จะเป็นผู้
ได้รับผลจากแผนที่วางในวันนี้อย่างแท้จริง จะทาให้มีแรงจูงใจที่จะผลักดันแผนที่ทาขึ้นให้เกิดผลเป็น
รูปธรรมต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง
และนอกจากการวางแผน “ผลิต” กาลังคน ต้องไม่ลืม วางแผน “ใช้” กาลังคน ที่ผลิตมาให้เต็ม
ประสิทธิภาพด้วย มิฉะนั้น ถ้ามีคนเก่งแต่ไม่ถูกใช้ให้เหมาะกับงานก็เปล่าประโยชน์
3. ยุทธศาสตร์ด้านการต่างประเทศ
 เป็นประเทศอานาจขนาดกลาง (Middle Power)
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีความเป็น “กลางๆ” ในหลายเรื่อง เช่น ขนาดประเทศก็
กลางๆ สถานที่ก็อยู่กลางๆ จานวนประชากรก็กลางๆ ความคิดความอ่านของคนก็กลางๆ
ศาสนาของเราก็กลางๆ “ความเป็นกลางๆ” นี้เป็นสิ่งที่เหมาะสมที่สุดที่เราควรเอามาใช้เป็น
หลักของยุทธศาสตร์ต่างประเทศ เพราะในปัจจุบันโลกกาลังต้องการสิ่งนี้ คือความกลางๆ
ความสมดุล ความไม่สุดโต่ง และธรรมชาติของคนไทยก็เป็นคนกลางๆ ไม่ใช่คนสุดขั้ว
ยกเว้นช่วงสิบปีที่ผ่านมาที่คนไทยแปลกออกไปจากแนวทางปกติ แต่กล่าวโดยทั่วไปคน
ไทยเป็นพวกไม่ใช่ “เจ้าลัทธิ” นัก เราสามารถเปลี่ยนความคิดได้ค่อนข้างง่าย
ในทางการต่างประเทศมีแนวคิดเรื่องประเทศอานาจขนาดกลาง (Middle Power) ซึ่ง
ไทยมีศักยภาพในหลายเรื่องไม่ว่าประชากร กาลังทางเศรษฐกิจ ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์
ความสัมพันธ์กับนานาชาติ สถานะในเวทีระหว่างประเทศ ฯลฯ ที่จะพัฒนาตัวเองไปสู่การ
เป็นชาติอานาจขนาดกลางได้ โดยมีตัวอย่างที่น่าศึกษาในการเป็นชาติอานาจขนาดกลางคือ
อินโดนีเซีย ตุรกี และบราซิล หลักสาคัญของชาติอานาจขนาดกลางคือไม่ถึงกับเป็น
มหาอานาจ แต่ก็มีสถานะสูงกว่าประเทศทั่วไป โดยหลักแล้ว ชาติอานาจขนาดกลางจะมี
17 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
จุดยืนทางการต่างประเทศเป็นอิสระจากมหาอานาจ โดยยึดตามผลประโยชน์ของตน อาจจะ
มียุทธศาสตร์สอดคล้องกับมหาอานาจหรือขัดแย้งกับมหาอานาจก็ได้ตามแต่ผลประโยชน์
ของชาติในแต่ละเรื่อง
 วางท่าทีต่อมหาอานาจให้สมดุล ไม่เอียงข้างสหรัฐหรือจีนจนเกินไป
การเป็นชาติอานาจขนาดกลางของไทย ไม่จาเป็นต้องไปขัดแย้งกับอเมริกาหรือจีน ซึ่ง
เป็นเรื่องที่ไม่ฉลาด จุดยืนของเราคือเราควรร่วมมือกับทุกชาติ ซึ่งก็เป็นจุดแข็งของเราอยู่
แล้วที่เป็นมิตรได้กับทุกชาติ เราควรเป็นตัวเชื่อมให้จีนกับอเมริกามาร่วมมือมากกว่ายุให้
ขัดแย้งกัน ไม่ให้การแข่งขันของจีนกับอเมริกาในทะเลจีนใต้มาทาให้อาเซียนแตกแยก
 ไม่ติดการวิเคราะห์โลกแบบตะวันตก
โลกในปัจจุบันเป็นโลกที่มีหลายขั้วอานาจ ไม่ได้มีแต่ตะวันตกหรือจีนเป็นจ้าวแต่เพียงผู้
เดียว ดังนั้น การต่างประเทศไทยต้องให้ความสาคัญกับประเทศอื่นๆ ขั้วอานาจอื่นๆ ด้วย
ที่สาคัญคือ จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง (และโลกมุสลิม) รวมทั้งรัสเซีย1
ข้อสาคัญคือควร
เรียนรู้ศึกษาเรื่องราวประเทศเหล่าโดยตรงจากมุมมองของเขา เพื่อให้เข้าใจความรู้สึกนึกคิด
ความใฝ่ฝัน ปัญหาที่เขาเผชิญ ความกลัว ของประเทศเหล่านี้ เช่น เข้าใจว่ายุทธศาสตร์
ต่างประเทศที่ดูก้าวร้าวของจีนในทะเลจีนใต้และของรัสเซียในยุโรปตะวันออกนั้น เกิดจาก
ความรู้สึกว่ากลัวถูกอเมริกาปิดล้อม ในกรณีจีน และรู้สึกถูกคุกคามจากการขยายตัวของ
สหภาพยุโรปเข้ามาประชิดชายแดน ในกรณีรัสเซีย ส่วนในกรณีตะวันออกกลางนั้นต้อง
เข้าใจว่าเป็นพื้นที่ที่ความเป็นรัฐชาติอ่อนแอ การจะเข้าใจพวกเขาจึงต้องสนใจตัวแสดงที่
ไม่ใช่รัฐแบบตะวันออกกลางด้วย โดยสรุปคือไม่ติดหล่มมองจีน ตะวันออกกลาง หรือรัสเซีย
แต่ในทางลบแบบตะวันตก
 เพิ่มความสาคัญของยุทธศาสตร์ไทยต่อประเทศเพื่อนบ้านและเมืองชายแดน
นอกจากการวางสถานะของไทยกับมหาอานาจแล้ว สิ่งที่เรายังให้ความสนใจน้อยก็คือ
ไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ไม่ว่าจะเป็นกัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม มาเลเซีย ซึ่งอยู่ติดกับ
เรา แต่เรากลับมีความรู้เกี่ยวกับประเทศเหล่านั้นน้อยมาก เราจาเป็นต้องเรียนรู้ประเทศ
1
อย่างไรก็ตาม มีข้อสังเกตว่าไม่จาเป็นต้องให้น้าหนักกับรัสเซียมากเท่ากับมหาอานาจอื่นๆ ที่กล่าวมา เพราะเป็นประเทศที่โครงสร้าง
ภายในอ่อนแอมาก แต่ภาพภายนอกดูยิ่งใหญ่ เพราะเคยใช้อานาจในฐานะโซเวียต มีอาวุธนิวเคลียร์ ขายอาวุธ แต่ต้องนาเข้าอาหารถึงร้อย
ละ 70 มีพื้นที่กว่า 20 ล้าน ตร.กม. แต่มีประชากรเพียง 140 ล้านคนและลดลงทุกปีเพราะย้ายไปทางตะวันตก และประชากรประมาณหนึ่ง
ร้อยล้านคนกระจุกตัวอยู่ในภาคตะวันตกของประเทศ เพราะรัสเซียนั้นอยากเป็นตะวันตกมาตลอด และไม่สามารถเอากาไรจากการขาย
น้ามันและแก๊สธรรมชาติมาพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศได้มากนัก เพราะพัฒนาไปก็เสื่อมลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากสภาพ
ภูมิอากาศที่หนาวจัด
18 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
เหล่านี้ให้มาก เหตุผลสาคัญข้อหนึ่งคือเศรษฐกิจส่วนหนึ่งของเราเข้มแข็งก็เพราะการค้า
กลับประเทศเพื่อนบ้าน
นอกจากนี้ ข้อควรระวังในการวางยุทธศาสตร์กับประเทศต่างๆ โดยเฉพาะประเทศ
เพื่อนบ้านนั้นคือเราไม่ควรประเมินตัวเราเองต่าไป เช่น กรณีไทยกับสิงคโปร์นั้น เรามักจะ
พูดกันในสื่อหรือเป็นที่รู้กันอย่ากว้างขวางในที่สาธารณะว่าไทยเสียเปรียบสิงคโปร์ แต่ใน
ความเป็นจริงไทยยังอยู่ในฐานะที่มีอานาจต่อรองกับสิงคโปร์ไม่น้อย อย่างไรก็ตาม ข้อควร
ตระหนักคือ ความที่ประเทศไทยขาด “โครงสร้างการทางานร่วมกัน” แต่ละหน่วยงานก็ต่าง
ทางานของตัวเอง ซึ่งทาให้เราขาดเอกภาพนั้น ทาให้อานาจต่อรองของไทยในกิจการ
ระหว่างประเทศในหลายเรื่องไม่อยู่ในฐานะที่ได้เปรียบเท่าที่ควรจะเป็น
การเห็นความสัมพันธ์ของประเทศเพื่อนบ้าน ทาให้เห็นว่าในเรื่องความมั่นคงของไทย
นอกจากการดาเนินความสัมพันธ์กับประเทศมหาอานาจอย่างสมดุลแล้ว สิ่งที่เราจะต้องทาก็
คือเรื่องความมั่นคงทางด้านชายแดน เพราะฉะนั้น ประเทศเราจึงต้องให้น้าหนักกับการ
พัฒนาเมืองชายแดนให้เข้มแข็ง ซึ่งข้อสาคัญคือจาเป็นต้องสร้างให้ผู้นาหรือผู้บริหารของ
เมืองชายแดนมีอานาจที่เป็นเอกภาพและครอบคลุมที่จะดูแลเรื่องรอบด้านที่จาเป็นในพื้นที่
ของตน ทั้งด้านความมั่นคง การส่งเสริมการค้า ความร่วมมือด้านวัฒนธรรม การจัดการ
อาชญากรข้ามชาติ ได้อย่างเต็มที่ มากกว่าการปล่อยให้เมืองชายแดนดูแลโดยหน่วยงาน
ต่างๆ ที่ต่างคนต่างทาภารกิจของตน ไม่บูรณาการ ไม่เป็นเอกภาพ อย่างทุกวันนี้
การเพิ่มความสาคัญกับการข่าวกรอง โดยเฉพาะบริเวณชายแดนและข่าวกรองเรื่อง
ประเทศเพื่อนบ้านเป็นอีกประเด็นสาคัญในการกาหนดยุทธศาสตร์ต่อประเทศเพื่อนบ้าน
เพราะการทายุทธศาสตร์นั้น ไม่ใช่ทาด้วยข่าวสาร แต่ต้องทาด้วยข่าวกรอง ซึ่งประสิทธิภาพ
ด้านการข่าวกรองกับ
ประเทศเพื่อนบ้านของไทยนั้นอ่อนแอมาก แม้แต่ในเชิงรับ เพื่อนบ้านเช่นพม่าและ
มาเลเซียนั้นมีสายข่าวมากมายฝังตัวอยู่ในเมืองชายแดนสาคัญของเรา เช่น เชียงใหม่และ
หาดใหญ่ ขณะที่เราไม่ได้สร้างคนที่จะไปฝังตัวเพื่อจะรู้ลึกซึ้งถึงความเคลื่อนไหวของรัฐ
เพื่อนบ้านว่าเขาจะมียุทธศาสตร์ มีแนวโน้มในการพัฒนาอย่างไร ถึงแม้ว่าบรรยากาศแบบ
สงครามเย็นจะลดลงไป แต่ก็มีโอกาสที่จะกลับมาได้ในอนาคต และถึงแม้ว่าไทยอาจจะไม่สู้
รบกับเพื่อนบ้านโดยตรง แต่การข่าวที่มีการรวบรวมอย่างเป็นระบบก็ยังจาเป็นต้องมีเพื่อ
นามากาหนดยุทธศาสตร์ของเราต่อประเทศเหล่านั้นอย่างเหมาะสม
 สร้างนักการทูต นักเจรจาที่มีความสามารถ
เราต้องสร้างนักการทูต นักการเจรจาที่เก่ง ติดตามและสามารถอ่านสถานการณ์โลก
และภูมิภาคได้อย่างหลักแหลม และที่สาคัญควรเพิ่มผู้เชี่ยวชาญที่รู้และเข้าอกเข้าใจฝ่ายที่
ไม่ใช่ตะวันตก เช่น ฝ่ายจีน โลกมุสลิมและรัสเซีย ให้เข้ามาอยู่ในวงการปฏิบัติ วงนักกาหนด
19 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
นโยบาย นักยุทธศาสตร์ของประเทศด้วย เพื่อให้ยุทธศาสตร์ต่างประเทศของไทยสมดุลและ
วางตัวได้เหมาะสม
 บริหารการจัดการคนต่างชาติและต่างด้าวให้รัดกุม
ไทยต้องมีนโยบายการควบคุมและบริหารจัดการการเข้ามาของคนต่างชาติ/ต่างด้าวให้
สมดุลขึ้น ในประเด็นสาคัญๆ เช่น เรื่องการเข้ามาเป็นแรงงาน อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่
เอาเปรียบคนไทย และการขบวนการขนคนต่างด้าวเข้ามาแย่งใช้บริการสาธารณสุขใน
โรงพยาบาลรัฐในประเทศไทย
สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

โลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศ
โลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศโลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศ
โลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศ
Klangpanya
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
beller47131
 

La actualidad más candente (19)

รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
 
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
 
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
 
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
 
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558 World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
 
World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560
World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560
World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560
 
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว  บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
 
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
 
ตาก
ตากตาก
ตาก
 
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
โลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศ
โลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศโลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศ
โลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
 
รายงานเวทีวิชาการ เรื่อง ประสบการณ์ประชาธิปไตยจีน
รายงานเวทีวิชาการ เรื่อง ประสบการณ์ประชาธิปไตยจีน รายงานเวทีวิชาการ เรื่อง ประสบการณ์ประชาธิปไตยจีน
รายงานเวทีวิชาการ เรื่อง ประสบการณ์ประชาธิปไตยจีน
 
หลักประกันคุณภาพการศึกษา(Tqf)
หลักประกันคุณภาพการศึกษา(Tqf)หลักประกันคุณภาพการศึกษา(Tqf)
หลักประกันคุณภาพการศึกษา(Tqf)
 
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
 
ภูมิภาคนิยมในอินโดนีเซีย
ภูมิภาคนิยมในอินโดนีเซียภูมิภาคนิยมในอินโดนีเซีย
ภูมิภาคนิยมในอินโดนีเซีย
 

Similar a สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย

Similar a สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย (6)

ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
 
รายงานสังคม
รายงานสังคมรายงานสังคม
รายงานสังคม
 
Thailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_tsThailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_ts
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริรัลกาลที่9
 

Más de Klangpanya

การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
Klangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
Klangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
Klangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
Klangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Klangpanya
 

Más de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย

  • 2. การประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 2 สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลก กับการกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย จัดโดย สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 24 สิงหาคม 2559 รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขต จตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864 บรรณาธิการ: ยุวดี คาดการณ์ไกล ถอดความและเรียบเรียง : ปาณัท ทองพ่วง เผยแพร่: ตุลาคม 2559
  • 3. สารบัญ หน้า บทนา ส่วนที่ 1 สถานการณ์โลกและสังคมไทย 1 มุมมองจากนักเศรษฐศาสตร์ 2 มุมมองจากนักรัฐศาสตร์ด้านความมั่นคง 6 มุมมองนักวิชาการความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 9 ส่วนที่ 2 ข้อเสนอแนวทางพัฒนายุทธศาสตร์ของไทย 12 ภาคผนวก รายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม 20
  • 4. บทนา เมื่อวันพุธที่ 24 สิงหาคม 2559 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้จัดเวทีประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 2 เรื่อง สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของ โลกกับการกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย ณ มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ โดยมีนัก ยุทธศาสตร์ นักนโยบาย นักวิชาการและผู้ทรงคุณวุฒิหลากหลายวงการและสาขาอาชีพเข้าร่วม เช่น ที่ ปรึกษารองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด อดีต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข อดีต เอกอัครราชทูต และผู้อานวยการสานัก 7 สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นต้น มาร่วมระดมสมองเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกและสังคมไทย และร่วมกันเสนอ แนวทางพัฒนายุทธศาสตร์ชาติระยะยาว เพื่อให้ประเทศไทยมียุทธศาสตร์ชาติเป็นกรอบในการพัฒนา ประเทศอย่างมีทิศทาง เป็นองค์รวม และเตรียมพร้อมประเทศเพื่อตอบรับกับความเปลี่ยนแปลงใน อนาคต เพื่อเผยแพร่ไปสู่บุคคลในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติของรัฐบาลและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ต่อไป
  • 6. 2 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกและสังคมไทย: มุมมองจากนักเศรษฐศาสตร์ รศ.ดร. สมเกียรติ โอสถสภา อดีตอาจารย์ประจาคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ฉายภาพสถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกและสังคมไทย ในประเด็นที่สาคัญ ดังนี้ 1. ประเทศไทยตั้งอยู่ในจุดยุทธศาสตร์ของการแข่งขันระหว่างอเมริกาและจีน ประเทศไทยมีความสาคัญอย่างยิ่งในสถานการณ์ระหว่างประเทศปัจจุบัน ด้วยที่ตั้งเป็นจุด ศูนย์กลางของอาเซียนและเอเชีย ภูมิภาคที่มหาอานาจโดยเฉพาะอย่างยิ่งจีนกับสหรัฐเข้ามาแข่งขันเชิง ยุทธศาสตร์กันในศตวรรษที่ 21 ลีเซียนลุง ผู้นาสิงคโปร์เคยกล่าวไว้ว่า สิงคโปร์อยู่ได้เพราะมีไทยเป็นรัฐ แนวหน้า (Front Line State) ในการแข่งขันระหว่างมหาอานาจในอาเซียนนี้แบ่งคร่าวๆ ได้เป็นสองฝ่าย ฝ่ายหนึ่ง ได้แก่ สิงคโปร์และมาเลเซียมีจุดยืนเอียงมาทางสหรัฐอเมริกา ขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งคือประเทศที่ อยู่ฝ่ายจีน เช่น กัมพูชา เป็นต้น ส่วนไทยยังถือว่ามีจุดยืนค่อนข้างเป็นกลาง 2. ความเข้าใจเรื่องโลกมุสลิมและตะวันออกกลางในสังคมไทย ความเข้าใจในความนึกคิด การมองโลก และวิถีชีวิตของโลกมุสลิมนั้นสาคัญมากต่อการกาหนด ยุทธศาสตร์ต่างประเทศต่อภูมิภาคนี้อย่างเหมาะสม ไม่เป็นศัตรูตามตะวันตก แต่ประเทศไทยยังขาด แคลนความรู้ความเข้าใจโลกมุสลิมและตะวันออกกลางอย่างถ่องแท้ด้วยสายตาเป็นกลาง หน่วยงานของ ไทยเองไม่ค่อยเข้าใจเรื่องประเทศเหล่านี้มากนัก เช่น ประเทศไหน กลุ่มใด อยู่ฝั่งใคร เป็นต้น 3. ปัญหาสามจังหวัดภาคใต้และความสัมพันธ์กับมาเลเซีย การสร้างสันติภาพและดุลยภาพในสามจังหวัดนั้น เราควรเรียนรู้จากประสบการณ์ของหลาย ประเทศ เช่น ฟิลิปปินส์หรือประเทศในโลกมุสลิม เรื่องนี้เป็นเรื่องที่ต้องการการศึกษาวิจัยเพื่อนามา กาหนดยุทธศาสตร์อย่างเร่งด่วน การผลักดันการสร้างสันติสุขอย่างจริงจังและต่อเนื่องในสามจังหวัด ชายแดน ส่วนหนึ่งมีอุปสรรคเพราะประเทศไทยมีปัญหาเรื่องพรรคการเมืองที่ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกัน เข้ามา เมื่อเปลี่ยนคนก็ทาให้งานเกิดความไม่ต่อเนื่อง ที่สาคัญ การแก้ปัญหาภาคใต้ต้องอาศัยการพูดคุย กับฝ่ายมาเลเซียอย่างจริงจัง เพราะมาเลเซียมีผลประโยชน์อยู่ในเรื่องสามจังหวัดภาคใต้ ที่ผ่านมา เราดู
  • 7. 3 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ เหมือนว่าจะรู้จักมาเลเซีย แต่ความจริงเราไม่รู้จัก เราต้องมีการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับคนและความคิด ยุทธศาสตร์และนโยบายการพัฒนาของมาเลเซียอย่างจริงจัง 4. กระแส Anti-Globalisation ปัจจุบัน ได้เกิดกระแสต้านโลกาภิวัตน์และการปฏิเสธการรวมตัวทางเศรษฐกิจในโลกขึ้น กรณี Brexit ของยุโรปก็สะท้อนความรู้สึกแบบเดียวกับที่เกิดในหมู่ประชาชนในหลายประเทศรวมทั้งประเทศ ไทยว่าการตกลงทาการค้าเสรีในหลายกรณีที่ประเทศตนไปตกลงกับประเทศอื่นนั้น คนที่ได้ประโยชน์ แท้จริงมีแต่นายทุนใหญ่ ประชาชนทั่วไปไม่ได้อะไร เช่น มีความรู้สึกต่อต้านกลุ่มธุรกิจ Chaebol ขึ้นมา อย่างรุนแรงในเกาหลีใต้ เราต้องหาจุดลงตัวเรื่องทุนครอบงาสังคม นอกจากนี้ หลายประเทศในโลกยังมีกระแสการสงวนทรัพยากรของตนไว้สาหรับคนในประเทศ เช่น ไต้หวันมีนโยบายมานานแล้วว่าของหลายอย่างที่จับหรือหามาได้ต้องขายในประเทศก่อน แต่ นโยบายของไทยกลับกันคือ มุ่งแต่จะส่งออกอย่างเดียว จนเกิดการขาดแคลนในประเทศ เช่น ช่วงที่ผ่าน มาเกิดภาวะกล้วยแพงเพราะส่งขายประเทศจีนมากเกินไป เป็นต้น 5. กระแสการต่อต้านการอพยพข้ามชาติ เริ่มเกิดความรู้สึกต่อต้านต่างชาติในหมู่คนไทยไม่ว่าจะเข้ามาเป็นแรงงาน มาท่องเที่ยว หรือมา ใช้บริการสาธารณสุขของรัฐ ประการแรก จากสถิติของสานักงานตรวจคนเข้าเมืองพบว่าปัจจุบันมีคน ต่างชาติที่อยู่เกินวีซ่าในไทยถึงราว 6 ล้านคน เกิดความรู้สึกว่าเหตุใดคนต่างด้าวจึงเข้ามาแย่งงานทา มากขึ้นเรื่อยๆ ในหมู่คนต่างจังหวัด ประการที่สอง มีความรู้สึกต่อต้านการท่องเที่ยวจากต่างชาติที่มา แบบกินรวบ คนไทยไม่ได้ประโยชน์เท่าที่ควร (ทัวร์ศูนย์เหรียญ) ประการที่สาม มีประเด็นเรื่อง ขบวนการขนคนต่างด้าวเข้ามารักษาในโรงพยาบาลรัฐในไทยเพราะคุณภาพดีและราคาถูก ส่งผลกระทบ มากโดยเฉพาะต่อคนจน ซึ่งมีความรู้สึกว่าต่างด้าวเข้ามาแย่งใช้บริการสาธารณสุขของรัฐ 6. ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับภาวะแล้งของแม่น้าโขง การละลายอย่างรวดเร็วของน้าแข็งบนเทือกเขาหิมาลัย อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ กาลังนามาสู่การเปลี่ยนแปลงด้านสภาพแวดล้อมอย่างกว้างขวางในภูมิภาคจีนตอนใต้และ อาเซียนตลอดสองฝั่งแม่น้าโขง ปัจจัยสาคัญคือมีความต้องการน้าจานวนมากในเขตมณฑลยูนนาน เนื่องจากทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีนส่วนที่ใกล้กับไทยเป็นเขตที่กันดารน้าที่สุดของจีน ดังนั้น ยิ่ง หิมาลัยละลายเร็วเท่าใด จีนและอินเดียยิ่งหาทางเก็บกักน้าให้มากที่สุดด้วยการสร้างเขื่อนขึ้นมา สอง
  • 8. 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ประเทศนี้ถือข้อมูลเรื่องเทือกเขาหิมาลัยเป็นข้อมูลลับทางความมั่นคง อย่างไรก็ดี ทีมวิจัยของ มหาวิทยาลัย Utrecht ประเทศเนเธอร์แลนด์ได้ทาแบบจาลองจากภาพถ่ายทางอากาศ โดยทานายว่า ภายในเวลา 6-7 ปีข้างหน้า แม่น้าโขงจะเกิดภาวะแล้งเป็นช่วงๆ ช่วงละหลายเดือน เมื่อครบ 15 ปี แม่น้าโขงจะแห้งสนิท ผลกระทบจะเกิดเป็นวงกว้าง ตั้งแต่ภาคอีสานของไทย ลาว กัมพูชา เรื่อยไปถึง เวียดนาม เรื่องน้านี้จะเป็นเรื่องสาคัญเพราะส่งผลกระทบโดยตรงสาหรับประเทศไทยและประเทศลุ่มน้า โขงมากเสียยิ่งกว่าเรื่องทะเลจีนใต้ ดังนั้น ไทยต้องคิดหากลไกในการต่อรอง กลไกทางด้านกฎหมาย กลไกด้านการต่างประเทศ หรือกลไกการพูดคุยกับจีนและอินเดียในเรื่องนี้ ที่ผ่านมาเราไม่เคยศึกษาเรื่องนี้อย่างจริงจัง กระทรวง การต่างประเทศก็ไม่ค่อยสนใจที่จะออกไปเจรจาเรื่องที่ต้องเกิดการขัดแย้งผลประโยชน์ แต่เรื่องน้านี้จะ เลี่ยงการเจรจามิได้ เนื่องจากเป็นเรื่องที่ผลประโยชน์ขัดแย้งกันอย่างแท้จริง เช่นเดียวกับที่อินเดีย ขัดแย้งกับปากีสถานและบังกลาเทศ 7. การสื่อสารข้อมูลและความรู้ในโลกยุคดิจิทัล ปัจจุบันคนไทยใช้โซเชียลมีเดียอย่าง Facebook มากถึงเกินครึ่งหนึ่งของประเทศ (ราว 38 ล้าน คน) และจะมีจานวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เทคโนโลยีสารสนเทศนี้ช่วยให้การสื่อสารความรู้ ความคิด และข้อมูล ต่างๆ จากคนคนหนึ่ง หรือคนกลุ่มหนึ่ง แพร่ออกสู่สังคมได้รวดเร็วอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน ซึ่งถ้าใช้ ในทางที่ดี ก็จะสามารถใช้เตือนภัยในสถานการณ์ไม่ปกติต่างๆ ในหมู่ประชาชนผ่านเครือข่ายกลุ่มต่างๆ บนโลกออนไลน์ เช่น Facebook หรือ Line ได้อย่างรวดเร็ว ความสามารถสื่อสารได้อย่างรวดเร็วนี้อาจ ช่วยระงับยับยั้งหรือบรรเทาภัยพิบัติ โรคระบาด หรือแม้แต่สงครามได้ นอกจากนี้ โซเชียลมีเดียยังถูกใช้ เป็นเครื่องมือที่ประชาชนร้องเรียนเรื่องต่างๆ ไปยังรัฐบาลหรือออกสู่สาธารณะ ซึ่งที่ผ่านมาทาให้ปัญหา หลายเรื่องได้รับความสนใจ กลายเป็นประเด็น และได้รับการแก้ไขอย่างรวดเร็ว ในข้อนี้ตั้งข้อสังเกตได้ ว่าอาจมีประสิทธิภาพยิ่งกว่าการร้องเรียนผ่านระบบผู้แทนราษฎร ซึ่งเคยมีประสิทธิภาพเมื่อหลายร้อยปี ก่อนในยุคที่ถูกพัฒนาขึ้นมาในโลกตะวันตก เมื่อครั้งยังมีคนจานวนน้อยและการสื่อสารระหว่างท้องถิ่น กับส่วนกลางยากลาบาก แต่ไม่สามารถตอบสนองได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกแล้วในสังคมปัจจุบัน 8. การแก้ปัญหาสังคมเชิงรุกที่ได้ผลของรัฐบาล สิ่งที่รัฐบาลทาอยู่สองปีที่ผ่านมานั้นประชาชนจานวนมากพอใจ หลายสิ่งไม่ได้เขียนไว้ใน แผนพัฒนาทั่วไป แต่เป็นสิ่งที่ประชาชนเดือดร้อนคอยให้แก้ไขมานาน และรัฐบาลนี้ทาได้ หลายครั้งจึง ต้องตระหนักว่าสิ่งที่เขียนไว้ในแผนกับสิ่งที่ประชาชนต้องการเป็นคนละเรื่องกัน
  • 9. 5 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 1) ปราบปรามผู้มีอิทธิพลในสังคม ธุรกิจผิดกฎหมาย ขบวนการค้ายาเสพติด ค้ามนุษย์ 2) สร้างสังคมที่สะอาดเป็นระเบียบ ทั้งแม่น้า ลาคลอง ถนน ทางเดินเท้า สะพานลอย ตลาด หาบเร่แผงลอย 3) สร้างความยุติธรรมในสังคม จัดการกับการบุกรุกยึดที่ดินสาธารณะ ป่า แม่น้า ภูเขา ความ ยุติธรรมในการถือครองที่ดิน ความเป็นธรรมในการเข้าถึงการศึกษา แก้ปัญหาคนต่างด้าว เข้ามาแย่งบริการสาธารณสุขในโรงพยาบาลรัฐ 4) บังคับใช้กฎหมายอย่างรวดเร็ว เป็นธรรม แก้ไขความเดือดร้อน ข้อร้องเรียนของประชาชนได้ อย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดคาถามขึ้นว่าระบบผู้แทนราษฎรยังจาเป็นมากน้อยเพียงใดในโลก ปัจจุบันที่ประชาชนทั่วไปสามารถร้องเรียนถึงอานาจรัฐให้แก้ไขปัญหาต่างๆ ได้โดยตรง ไม่ ว่าผ่านโซเชียลมีเดีย หรือผ่านศูนย์ดารงธรรม เป็นต้น ที่สาคัญคือรัฐแก้ไขให้ได้ในเวลา อันรวดเร็ว ไม่ต้องรอให้ปัญหาเกิด ผ่านไปเป็นปีผู้แทนราษฎรมากล่าวในสภาได้สามนาที แล้วก็ไม่ได้แก้ไขอะไรเลย ขณะที่ประชาชนต้องอดทนกันนับสิบปี 5) ใช้อานาจของกองทัพเข้ามาช่วยผลักดันการบริหารในหลายเรื่องที่ไม่เคยแก้ได้ เช่น การบุก รุกที่สาธารณะ 6) ขจัดปัญหาคอร์รัปชั่น การทุจริตในระบบราชการ ซึ่งพูดกันมานานแต่ไม่เคยแก้ไขได้สาเร็จ 7) กาหนดยุทธศาสตร์ระยะยาว 20 ปี อันที่จริงยุทธศาสตร์ชาติระยะยาวไม่ใช่เรื่องใหม่สาหรับ หลายประเทศที่เจริญแล้ว สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน มีการวางเป้าหมายของชาติที่แน่นอน และขับเคลื่อนองคาพยพ ของประเทศเป็นองค์รวมไปในทางเดียวกัน ประเทศเหล่านี้วาง ยุทธศาสตร์ชาติ โดยเริ่มจากดูแนวโน้มประชากร เช่น จานวนผู้สูงอายุ รวมทั้งกาหนด คุณภาพและปริมาณของคนที่ต้องการในวิชาชีพต่างๆ จานวนที่ผลิตเองได้ และจานวนที่ ต้องนาเข้า และนาแผนไปเชื่อมกับระบบจัดสรรงบประมาณ และหน่วยราชการและเอกชน ไม่ว่า โรงเรียน โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย ฯลฯ ก็ไปวางแผนยุทธศาสตร์ 20 ปีขององค์กร ตามแนวทางนั้น ยุทธศาสตร์ชาติจึงจะเชื่อมโยงกันได้ ตัวอย่างเช่น สิงคโปร์ทาวิสัยทัศน์ 2030 มีข้อมูลที่ชัดเจนว่าในอีก 25 ปี ประเทศจะต้องการคนจบปริญญาเอกทางด้าน รัฐศาสตร์ 8 คน เป็นต้น
  • 10. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกและสังคมไทย: มุมมองจากนักรัฐศาสตร์ด้านความมั่นคง รศ.ดร. ปณิ ธาน วัฒนายากร ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม และอาจารย์ประจาภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย กล่าวว่า หลายปีที่ผ่านมานี้ประเทศไทยเสียสมดุลภายในไปเป็นเวลานาน อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันไทยกาลังกลับมาสร้างสมดุลภายในใหม่ ประเทศของเราเริ่มตั้งหลักได้ รัฐบาลนี้ได้เข้ามาจัดกลุ่ม งานใหม่ สร้างกติกา สร้างโครงสร้างใหม่ในการบริหารประเทศให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้การทางานลื่น ไหลมากขึ้น ที่สาคัญไทยกาลังจะมียุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีเป็นเป้าหมายในการขับเคลื่อนประเทศต่อไป อย่างเป็นองค์รวม มีการดึงภาคเอกชนเข้ามาร่วมพัฒนาประเทศอย่างจริงจังผ่านนโยบายประชารัฐ หาก ประเทศไทยเดินหน้าไปในแนวทางนี้ ก็จะมีอนาคตที่เห็นทางออกมากขึ้น นอกจากนี้ รศ.ดร. ปณิธาน ยัง ได้กล่าวถึงสถานการณ์โลกและสังคมไทยที่สาคัญ ดังนี้ 1. กระแสใหญ่ (Mega Trends) ที่สาคัญของโลก โลกปัจจุบันกลายเป็นระบบหลายขั้วอานาจ (Multipolar) เป็นโลกที่มีขนาดเล็กลง เชื่อมโยงกัน มากขึ้น มีประเด็นซับซ้อนมากขึ้น แนวโน้มสงครามขนาดใหญ่เกิดได้ยากขึ้น เป็นโลกสังคมผู้สูงอายุมาก ขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว การแพร่กระจายของอาวุธนิวเคลียร์ การเติบโตของ ขบวนการก่อการร้ายและขบวนการสุดโต่ง Mega Trends เหล่านี้กลายมาเป็นเงื่อนไขในการกาหนด ยุทธศาสตร์ชาติของประเทศต่างๆ รวมทั้งประเทศไทย ตัวอย่างเช่น ปัญหาผู้อพยพ ขณะนี้ไทยมีผู้อพยพเกือบสองแสนคน คนต่างชาติที่อยู่ในประเทศ อย่างผิดกฎหมายหลายล้านคน ที่ผ่านมาก็เริ่มมีการส่งกลับ เช่น ส่งกลับไปพม่า เป็นต้น เวลานี้เราพูด เรื่องผู้อพยพกับสหภาพยุโรปง่ายขึ้น เพราะยุโรปก็กาลังเผชิญวิกฤตดังกล่าวและตระหนักแล้วว่าจะมา กดดันไทยเช่นที่เคยทาเมื่อสองสามปีก่อนไม่ได้อีกแล้ว ประเด็นสาคัญของเรื่องนี้คือสถานการณ์ในโลก เปลี่ยนไปเร็วมาก เสียงส่วนใหญ่ในยุโรปเวลานี้ไม่ต้องการผู้อพยพแล้ว เยอรมันขณะนี้รับผู้อพยพจาก ซีเรียไปกว่าห้าแสนคน ส่วน 60 เปอร์เซ็นต์ของชาวเบลเยียมไม่ต้องการรับผู้อพยพแล้ว ภายหลังเกิด เหตุวินาศกรรมที่กรุงบรัสเซลล์
  • 11. 7 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 2. ประเทศไทยในภูมิทัศน์ใหม่ทางยุทธศาสตร์: ภูมิภาคอินโด-แปซิฟิ ก (Indo-Pacific Region) ภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกนั้นไล่ตั้งแต่ตะวันออกกลาง อินเดีย อาเซียน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ไป ถึงจีนและญี่ปุ่น กล่าวกันมานานแล้วว่าบริเวณนี้จะกลายเป็นพื้นที่ใจกลางของการแข่งขันทาง ยุทธศาสตร์ระหว่างมหาอานาจของโลก เหตุผลสาคัญคือเพราะมีเขตเศรษฐกิจที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในโลก คือเอเชีย โครงสร้างพหุภาคีทางเศรษฐกิจการเมืองที่สาคัญในปัจจุบัน เช่น TPP, APEC, Belt and Road, ASEAN, ASEAN+3, SCO, East Asia Summit, US lower Mekong Initiative ก็อยู่ในภูมิภาค อินโด-แปซิฟิกทั้งสิ้น และหากวัดจากอัตราการค้าขายในทะเล หรือความมั่งคั่ง ก็กลายเป็นว่าภูมิภาคนี้ เป็นภูมิภาคที่มีพลวัตสูงสุด ไทยในฐานะที่ตั้งอยู่ใจกลางบริเวณนี้จะดาเนินยุทธศาสตร์อย่างไรให้ได้ ประโยชน์จากภูมิทัศน์ใหม่นี้ ฝ่ายสหรัฐอเมริกาคิดว่าต้องมีการจัดระเบียบในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก โดยมีการคาดการณ์ไว้ หลายรูปแบบ เช่น 1) สหรัฐอเมริกาเป็นผู้จัด 2) จีนจัด 3) จีนและอเมริการ่วมกันจัด (Group of 2 : G2) 4) G2+ ญี่ปุ่น อินเดีย รัสเซีย ออสเตรเลีย เกาหลีใต้เป็นผู้จัด (ซึ่ง Henry Kissinger คาดว่าจะเป็นแบบที่ 4 นี้) ปัจจุบันพบว่าสหรัฐและจีนให้ความสาคัญกับภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกมาก โดยดูจากการทุ่มเท ทรัพยากร ทั้งกาลังคน กาลังเทคโนโลยี กาลังทหาร ฯลฯ ลงมาในบริเวณนี้เป็นจานวนมาก เช่น สหรัฐ ถ่ายกาลังทหารจากฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกมาสู่แปซิฟิกเป็น 40 : 60 ทะเลจีนใต้จึงได้เป็นปัญหาสาคัญ สาหรับสหรัฐอเมริกามาก ส่วนเรือดาน้าของจีนนั้นก็ปฏิบัติการลาดตระเวนอยู่ในภูมิภาคนี้มากเช่นกัน ทั้งยังพบว่าเป็นภูมิภาคที่มีการสืบข่าวสูงสุด ปัจจัยเหล่านี้แสดงว่าภูมิภาคนี้มีความสาคัญมากต่อ สหรัฐอเมริกาและจีน 3. การดาเนินยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศของรัฐบาล 1) ความคืบหน้าของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ขณะนี้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ของรัฐบาลร่างเสร็จสิ้นแล้ว เช่นเดียวกับยุทธศาสตร์ความมั่นคง และยุทธศาสตร์ต่อสภาวะ แวดล้อมระหว่างประเทศของสภาปฏิรูป (สปท.) อย่างไรก็ดี ยังพอมีเวลาในการปรับปรุง แก้ไขเนื้อหาอยู่บ้าง เนื่องจากกระบวนการภายหลังจากร่างเสร็จแล้ว ยังเปิดให้มีส่วนร่วม จากภาคประชาชนก่อนจึงออกเป็นกฎหมายได้ จึงอาจบรรจุเนื้อหาเพิ่มเติมได้ เช่น มี ข้อเสนอให้คณะทางานยุทธศาสตร์ชาติลงไปถึงระดับอาเภอ หมู่บ้าน ให้ทุกฝ่ายมาร่วม วางแผนยุทธศาสตร์นี้ร่วมกับรัฐบาล เพื่อเสริมมุมมองนอกเหนือจากการวางแผนจากบนลง ล่าง (Top-Down) ซึ่งจะเห็นแต่ภาพใหญ่ แต่จะไม่เห็นภาพรวมทั้งหมด 2) การให้น้าหนักของผู้นาไทยต่อการดาเนินยุทธศาสตร์ในสภาวะแวดล้อมระหว่าง ประเทศปัจจุบัน การให้น้าหนักของนายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ต่อการ ดาเนินยุทธศาสตร์ไทยในสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศปัจจุบันนั้น พอสรุปให้เห็นบาง ประเด็นได้จากปาฐกถาบนเวที Shangri-La Dialogue 2016 ณ ประเทศสิงคโปร์ ดังนี้
  • 12. 8 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ  การปฏิรูประบบบริหารราชการแผ่นดิน ที่ผ่านมามีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น มากมายในภูมิภาคของเรา แต่การทางานหลายอย่างของประเทศไทยยังคงไม่ เปลี่ยนแปลง ประการสาคัญคือ การทางานที่แยกส่วนกันทา ไม่เป็นองค์รวม ยกตัวอย่างเช่น เรื่องการแก้ปัญหาการทาประมงผิดกฎหมายซึ่งเรื้อรังมายาวนาน กรม ประมงกล่าวว่าตนมีหน้าที่ดูแลเรื่องเครื่องมือจับปลาอย่างเดียว ไม่มีหน้าที่ดูแลเรือ กรม เจ้าท่ากล่าวว่ามีหน้าที่ดูแลเรือ แต่ไม่ได้ดูแลเรื่องเครื่องมือจับปลา กระทรวงแรงงาน กล่าวว่าตนมีหน้าที่ดูแลคนบนเรือ แต่เรื่องเครื่องมือจับปลาหรือเรือไม่ใช่หน้าที่ของตน ส่วนตารวจน้ากล่าวว่าตนมีหน้าที่จับคน มีกาลัง แต่ไม่มีงบประมาณ ให้เป็นหน้าที่ของ ทหารเรือ ทหารเรือกล่าวว่าตนมีกาลัง มีงบประมาณ แต่ไม่มีกฎหมายให้อานาจหน้าที่ เป็นเช่นนี้กระทั่งนายกรัฐมนตรีใช้มาตรา 44 ปลดอธิบดีกรมประมงสองคนก็ไม่ได้ผล ต้องบริหารจัดการใหม่ เรียกทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาทางานร่วมกัน สร้างศูนย์ปราม ปรามการทาประมงผิดกฎหมาย ออกกฎหมายทางทะเลใหม่ ออกยุทธศาสตร์แห่งชาติ ทางทะเล สร้างกอ.รมน.ใหม่ในทะเล ให้ทางานร่วมกันเป็นองค์รวม โดยสรุป โครงสร้าง การทางานแบบบูรณาการเช่นนี้จาเป็นต้องได้รับการบรรจุอยู่ในยุทธศาสตร์แห่งชาติ ต่อไป หลังจากที่มีรัฐบาลจากการเลือกตั้งแล้ว มิฉะนั้นจะกระจายกลับไปแยกกันทางาน อีก ต้องบีบให้อยู่เป็นโครงสร้างใหม่ การปฏิรูประบบบริหารราชการนี้นับเป็นการสร้าง ดุลยภาพภายในของประเทศให้เกิดขึ้น  วิสัยทัศน์ด้านการต่างประเทศ: ร่วมมือกับทุกมหาอานาจ ไม่แบ่งฝักแบ่งฝ่าย ใน การดาเนินยุทธศาสตร์ระหว่างประเทศ เราต้องไม่ติดกับดักการแบ่งฝักแบ่งฝ่าย ต้อง พยายามร่วมมือกับทุกฝ่าย โดยเฉพาะกับมหาอานาจ เพื่อช่วยกันสร้างดุลยภาพใน ภูมิภาค เช่น เรื่องทะเลจีนใต้ซึ่งกลายเป็นปัญหาใหญ่ของภูมิภาคนั้น ไทยต้องคิดว่าจะ ผลักดันให้จีนกับสหรัฐไม่เผชิญหน้ากันอย่างที่เป็นอยู่ แล้วดึงอาเซียนออกเป็นสองฝ่าย ได้อย่างไร
  • 13. 9 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลก: มุมมองนักวิชาการด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รศ.ดร.วิวัฒน์ มุ่งการดี อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและ อดีตอาจารย์ประจาคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า โลกในปัจจุบันอยู่ในบรรยากาศ ของการแข่งขันระหว่างมหาอานาจ ทั้งจีน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น รัสเซีย ฯลฯ ซึ่งก่อให้เกิดความปั่นป่วน ในการเมืองระหว่างประเทศ ภายใต้สถานการณ์ความไม่แน่นอนของโลกนี้ ไทยต้องสร้างความแน่นอน เท่าที่จะทาได้ นั่นคือความแน่นอนของตัวเราเอง นอกจากนี้ รศ.ดร. วิวัฒน์ ยังได้ฉายภาพถึงประเด็น สาคัญบางประการเกี่ยวกับสถานการณ์ของโลกและสังคมไทย ดังนี้ 1. ความรู้ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหลังยุคสงครามเย็น ในยุคปัจจุบัน ศาสตราจารย์ John Gaddis แห่งมหาวิทยาลัย Yale กล่าวไว้ว่าสงครามเย็น สิ้นสุดลงโดยไม่มีนักวิชาการทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศคนใดทานายได้ถูกต้องเลย องค์ความรู้ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศล้มละลายแล้ว นี่เป็นเรื่องสาคัญ แต่อยากจะย้อนไปว่าเมื่อเสร็จ สงครามโลกครั้งที่สองก็ทายกันไม่ถูกเลยว่าสหรัฐอเมริกา อังกฤษ กับรัสเซีย จะแตกกันหลังเสร็จ สงครามพอดี เป็นฝ่ายตะวันตกกับรัสเซีย เกิดเป็นสงครามเย็น การที่สงครามเสร็จสิ้นลงอย่างไม่รู้ตัวนี้ จึงทาให้คนเข้าใจผิดว่าสงครามเย็นได้เสร็จสิ้นลงแล้ว แต่ ในความเป็นจริงจะพบว่า สงคราม การต่อสู้แข่งขันระหว่างอเมริกากับรัสเซียในยุโรป อเมริกากับจีนใน เอเชีย ยังคงเป็นไปอยู่จนบัดนี้ ดังนั้น สงครามเย็นยังไม่ได้จบสิ้นไป ยังมีการแข่งขันกันอยู่ ทางฝ่ายจีนและรัสเซีย คืออดีตฝ่ายคอมมิวนิสต์ กับทางฝ่ายอเมริกาและยุโรป คือฝ่ายตะวันตก นั้นก็ผลัดกันรุกผลัดกันรับ อเมริกาหลังจากสงครามเย็นนั้นเป็นฝ่ายรุก ขยาย NATO เข้าไปในยุโรป ตะวันออกจนเลยไปใกล้ถึงประเทศส่วนที่เป็นรัสเซียเก่า ซึ่งประเทศเหล่านี้ก็มีความนิยมชมชื่นประเทศ ตะวันตกมากกว่ารัสเซียอยู่แล้ว ในเวลาเดียวกัน หลังเหตุการณ์ 9/11 สหรัฐอเมริกาก็เข้าไปในตะวันออกกลาง ตั้งแต่ยุค ประธานาธิบดีบุช 8 ปี ประธานาธิบดีโอบามาอีก 8 ปี เป็น 16 ปีแล้ว ก็ยังสร้างระเบียบโลก (World Order) ในตะวันออกกลางไม่สาเร็จ แล้วทาท่าจะยุ่งเหยิงกว่าเดิมเสียด้วยซ้าไป ฉะนั้น 20 ปีใน ประวัติศาสตร์เป็นระยะทางที่สั้นมาก
  • 14. 10 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ เพราะฉะนั้น เมื่ออเมริกาอ่อนกาลังลง โดยที่ไปจมปลักอยู่ในตะวันออกกลางนั้น ทาให้จีนเริ่มรุก ขึ้นมาโดยใช้ Charm Diplomacy เข้ามาหว่านล้อมประเทศต่างๆ ในช่วงแรกใช้ Soft power เวลานี้เริ่ม จะเปลี่ยนมาสู่ Harder power และเข้ามาในแถบทะเลจีนใต้ ฝ่ายอเมริกาก็ตอบโต้ด้วยนโยบาย Pivot to Asia ซึ่งส่วนหนึ่งคือการถ่ายเทกาลังรบจากฝั่งแอตแลนติกมาสู่เอเชีย-แปซิฟิกเป็น 60:40 (จากก่อนหน้า นี้ที่อยู่ในสัดส่วน 40:60 แต่ก็ยังคืบหน้าไปไม่ไกล อย่างไรก็ตาม รัสเซีย เมื่อเห็นอเมริกาอ่อนกาลังลง ก็ ได้เข้ายึดไครเมียและเข้าไปแทรกแซงในยูเครนตะวันออก สหรัฐอเมริกาก็ยังไม่รู้จะดาเนินการอย่างไร หากอเมริกาไม่ทาอะไร ความเชื่อถือของยุโรปตะวันตกต่อการนาของอเมริกาก็จะลดน้อยลง 2. แนวโน้มในอีก 20 ปีข้างหน้า ไม่น่าจะเกิดสงครามขนาดใหญ่ สองฝ่ายที่จาแนกออกในภาพรวม คือ ตะวันตกกับจีนและรัสเซียนั้นก็ยังยันกันอยู่ และเชื่อว่าใน อีก 20 ปีข้างหน้าไม่น่าจะมีสงครามใหญ่เกิดขึ้น แต่สองฝ่ายจะผลัดกันรุกผลัดกันรับ และสร้างความไม่ แน่นอนให้บรรยากาศของการระหว่างประเทศยุ่งเหยิงต่อไป รวมทั้งไทยซึ่งอยู่ในภูมิภาคนี้ด้วย มีการ คาดการณ์ไว้สองข้อ ข้อที่หนึ่งคือ บนแผ่นดินใหญ่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้นี้ คือ ไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม จะเป็นพื้นที่การแข่งขันระหว่างจีนกับญี่ปุ่น ไม่ใช่จีนกับอเมริกา ส่วนในทะเลจีนใต้จะเป็นการ แข่งขันระหว่างอเมริกากับจีน อีกข้อที่มีการคาดการณ์ไว้คือ การที่อเมริกาจะมาสร้างระเบียบโลกในเอเชียนั้นอาจจะไม่สาเร็จ ระเบียบโลกของอเมริกาก็คือประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน ทุนนิยม การค้าเสรี และจีนอาจจะไม่ปฏิบัติ ตาม ในเวลาเดียวกัน จีนเองที่จะเข้ามาแผ่อิทธิพลในประเทศรอบข้างตนนั้นก็จะไม่สาเร็จเช่นเดียวกัน เห็นได้จากการต่อต้านของฟิลิปปินส์หรือเวียดนามก็ดี เพราะประเทศเหล่านี้เคยต่อสู้กับอาณานิคม มาแล้ว ส่วนไทยเราถึงไม่ได้เป็นอาณานิคม เป็นเอกราชมาตลอด แต่เราก็ไม่ต้องการให้ใครมาชี้นิ้วสั่ง เราก็ต้องการเป็นอิสระของเรา ดังนั้น การจะมาสร้างเขตอิทธิพล (Sphere of Influence) ดังที่เชอร์ชิล เสนอหลังสงครามโลกครั้งที่สองนั้น ในเวลานี้ก็อาจไม่สาเร็จเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตาม บรรยากาศของโลกที่มีการแข่งขันกันไปมานี้ก็จะก่อให้เกิดความไม่แน่นอน เพราะฉะนั้น ไทยต้องมีนักการทูตที่เก่งคอยติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด ระหว่างอเมริกากับจีน ระหว่างจีนกับญี่ปุ่น เราต้องอ่านสถานการณ์ให้ขาด และไม่ควรจะเอนเอียงไปทางใดโดยอารมณ์ แต่ต้อง คิดให้หนักว่าแต่ละเรื่องนั้นแท้จริงแล้วคืออะไร เพราะฉะนั้น นักการทูต นักเจรจา สาคัญอย่างยิ่งในการ ติดตามมหาอานาจ อีกเรื่องหนึ่งที่ตามเรามาคือเรื่องการก่อการร้าย การก่อวินาศกรรม การแยกดินแดน ไทยเรา ต้องเพิ่มงบประมาณในการดูแลเรื่องการก่อการร้าย การข่าวกรองเพื่อป้องกันให้ได้มากที่สุด เยอรมัน เป็นประเทศในยุโรปที่รับผู้อพยพเข้าไปมากกว่าใคร แต่เวลานี้ไปสารวจความเห็นคนเยอรมันแล้ว มาก
  • 15. 11 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ถึง 70 เปอร์เซ็นต์มองว่าการรับผู้อพยพเข้ามาจานวนมากสร้างความเดือดร้อน ทัศนคติสาธารณชน เยอรมันเปลี่ยนไปภายในเวลาไม่ถึงหนึ่งปี
  • 17. 13 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ข้อเสนอแนวทางพัฒนายุทธศาสตร์ของไทย ภายใต้สถานการณ์ความไม่แน่นอนของโลก ประเทศไทยต้องสร้างความแน่นอนเท่าที่จะทาได้ นั่นคือความแน่นอนของตัวเราเอง ตามแนวทางหลัก 3 ด้าน ดังนี้ 1. ยุทธศาสตร์การปฏิรูประบบบริหารราชการภายในประเทศ สร้าง “โครงสร้างการ ทางานร่วมกัน” ประเทศไทยเป็นเหมือนประเทศ “เครื่องหลุด” การทางานของแต่ละภาคส่วนเหมือนหลุดจากกัน เป็นส่วนๆ แยกกันคิด แยกกันทา เช่น มหาวิทยาลัยคิดไปทางหนึ่ง รัฐบาลทาไปอีกทางหนึ่ง กรมนี้ก็ทา ไปทาง อีกกรมหนึ่งก็ทาไปอีกทาง เอกชนก็ทาไปทาง ทาอะไรไม่มีการวางแผนระยะยาวเป็นองค์รวม การปฏิบัติแบบองค์รวม ต่างคนต่างทา ทาแล้วต้องมาแก้ไขสิ่งที่ทาไปก่อนหน้า เป็นต้น เมื่อเป็นประเทศ เครื่องหลุด จะเร่งเครื่องก็เร่งไม่ได้ ดังนั้น ข้อสาคัญคือต้องหันมาคิดว่าจะประกอบเครื่องให้กลไกต่างๆ ทางานด้วยกันได้ดีได้อย่างไร รูปแบบการบริหารราชการของเราในปัจจุบันเป็นแบบ “แท่ง” ที่แบ่งตามภารกิจเฉพาะด้าน เป็น กรมกองกระทรวง แต่ละหน่วยงานจึงทางานกันไปตามภารกิจเฉพาะด้านของตน เมื่อมีปัญหาที่ต้องแก้ หรือเรื่องที่ต้องผลักดันร่วมกันระหว่างหน่วยงานต่างๆ นั้นก็จะทาได้ยากมาก เพราะแต่ละหน่วยมี กฎหมาย อานาจหน้าที่ ทรัพยากรของตนเอง กลายเป็นอุปสรรคในการประสานงานและการบูรณาการ การทางานร่วมกัน สภาพของประเทศเราที่ผ่านมาจึงกลายเป็นว่าถ้าใช้อานาจตามปกติของรัฐบาลสั่งแต่ ละแท่งก็ไม่มีใครทาตาม จะมาสั่งได้ก็ต้องในสมัยที่มีอานาจพิเศษ เช่น ในยุค คสช. ที่มีการจัดโครงสร้าง การทางานใหม่ในการทางานหลายเรื่อง ตั้งหน่วยงานกลาง แล้วบูรณาการเอาข้อมูล หน่วยงานต่างๆ มา ทางานร่วมกันได้ แต่ปัญหาก็คือ อานาจพิเศษก็จะอยู่ได้ไม่นาน เมื่อมีการเลือกตั้ง ได้รัฐบาลใหม่ ก็จะ กลับไปสู่การทางานแบบแยกส่วนกันอีก ดังนั้น ยุทธศาสตร์เริ่มต้นของชาติควรเริ่มที่การจัดระเบียบภายในตัวเองให้ดีก่อน ซึ่งก็ควรเริ่มที่ การสร้างกลไกการขับเคลื่อนประเทศแบบใหม่ที่มีประสิทธิภาพ คล่องตัว หรือกล่าวง่ายๆ คือ ยกเครื่อง การทางานของประเทศใหม่ ด้วยการสร้าง “โครงสร้างการทางานร่วมกัน” แบบถาวรเพื่อดึงให้หน่วยงาน ต่างๆ มาร่วมกันทางานได้ การ “สลายแท่ง” นี้ต้องกาหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติเพื่อให้อยู่ต่อไปได้ใน รัฐบาลปกติ ซึ่งต้องไปตกผลึกต่อไปว่าจะออกแบบโครงสร้างใหม่นี้อย่างไรให้เป็นการทางานร่วมกัน มี ระบบบริหารจัดการที่ดี มีประสิทธิภาพ และในขณะเดียวกันก็เป็นประชาธิปไตยและตรวจสอบได้ด้วย
  • 18. 14 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ปัจจุบัน มีผู้เสนอรูปแบบ “โครงสร้างการทางานร่วมกันของประเทศ” ดังกล่าวอยู่เช่นกัน ซึ่ง หลายโมเดลนอกจากมุ่งสร้างโครงสร้างที่เชื่อมการทางานระหว่างหน่วยราชการแล้ว ยังจะเชื่อมกว้าง กว่านั้น คือเชื่อมหน่วยงานภาครัฐกับภาคส่วนอื่นๆ ของสังคมด้วย เช่น โมเดลของ ศ.นพ.ประเวศ วะสีที่ เสนอโครงสร้างที่เชื่อม 5 ส่วน (รัฐบาล-คณะกรรมการยุทธศาสตร์-คสช.-ชุมชนท้องถิ่น-ประชาสังคม) เข้าด้วยกัน หรือแนวคิดการปฏิรูปโครงสร้างการบริหารประเทศให้เป็นแบบอิงพื้นที่ (area-based) มากกว่าการบริหารตามภารกิจเฉพาะด้านของ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ เป็นต้น ส่วนฝ่ายรัฐบาล คสช.ในปัจจุบันก็กาลังอยู่ในกระบวนการร่างตัวแบบ “โครงสร้างร่วม” นี้อยู่เช่นกัน แต่ยังไม่ตกผลึกใน รายละเอียด โดยเบื้องต้นจะใช้คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติเป็นตัวเชื่อม ให้เป็นผู้ผลักดันเรื่อง ยุทธศาสตร์ต่อไปในยุครัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง โดยในโมเดลของรัฐบาลนี้ นอกจากออกแบบการ เชื่อมการทางาน “สลายแท่ง” ระหว่างหน่วยราชการแล้ว ยังออกแบบเชื่อมอานาจของฝ่ายบริหารเข้ากับ ฝ่ายนิติบัญญัติให้เคลื่อนไปด้วยกันในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี นอกจากนี้ คณะทางานด้านยุทธศาสตร์ยังกาลังหาวิธีให้กลไกดังกล่าวเชื่อมระหว่างความรู้กับ การปฏิบัติในสังคมไทยให้มากขึ้นด้วย ไม่เพียงแต่เฉพาะ “ความรู้ในระบบ” จากวงวิชาการเท่านั้น แต่ยัง คิดไปถึงการดึงเอา “ความรู้นอกระบบ” ที่มีคุณค่า เช่น ข้อสังเกตส่วนตัว องค์ความรู้จากชาวบ้าน จาก ท้องถิ่น รวมทั้งความสัมพันธ์ส่วนตัวที่ใกล้ชิดของคนในพื้นที่บริเวณชายแดนที่ติดต่อกับประเทศเพื่อน บ้านอยู่ตลอด ทั้งชาวบ้านและเจ้าหน้าที่ระดับบนถึงล่าง การคิดโมเดลเชื่อมการทางานของชาติแบบบูรณาการนี้มีกาหนดเวลาอยู่ที่ราวปีเศษต้องเสร็จ ก่อนการเลือกตั้ง (ปัจจุบัน กกต.กล่าวว่าประมาณราวปลายปี 2560) 2. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างคน หัวใจของยุทธศาสตร์ชาติคือการสร้างคนรุ่นใหม่ให้เป็นคนมีคุณภาพ กล่าวคือ เราต้องพยากรณ์ ว่าโลกน่าจะเป็นอย่างไรในอีก 20, 50 หรือ 100 ปี และการวางแผนกาลังคนในอนาคตให้สอดรับกัน ซึ่ง มีประเด็นสาคัญอยู่ที่เรื่อง แนวทางปฏิรูปการศึกษา การวางแผนผลิตคน และวางแผนการใช้กาลังคน  แนวทางปฏิรูปการศึกษา หลักสาคัญที่นักการศึกษาควรคานึงคือ การคิดจากท้ายมาสู่ต้น คือต้องคิดว่าต้องการบัณฑิตที่มี คุณภาพอย่างไรเสียก่อนที่จะไปสอนวิชาต่างๆ มากมาย บัณฑิตนั้นไม่ว่าจะเรียนมาทางใด เขาต้องมี ความเชี่ยวชาญในสาขาที่เรียนพอตัวอยู่แล้ว แต่โดยทั่วไปไม่ว่าจะเรียนวิชาใด บัณฑิตควรจะมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
  • 19. 15 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 1. สามารถอ่านจับประเด็นสาคัญได้อย่างรวดเร็ว และเขียนบทความขนาดสั้น (ในอเมริกา เรียกว่า Think Piece) หรือรายงานเสนอผู้บริหาร (Executive Summary) ขนาด 1-2 หน้า เท่านั้น แต่เต็มไปด้วยความคิด มีตรรกะที่ต่อเนื่อง ทาให้ผู้อ่านสามารถคล้อยตาม Argument ของตนได้ 2. ควรศึกษาความคิดของนักคิดสาคัญของโลก ไม่ว่าตะวันออก (เช่น ขงจื่อ เล่าจื่อ พระพุทธเจ้า) หรือตะวันตก (กรีก โรมัน เรอเนสซองส์ โมเดิร์น โพสต์โมเดิร์น ฯลฯ) เพื่อ เชื่อมโยงว่านักคิดเหล่านั้นเกี่ยวข้องกับโลกปัจจุบันของเราอย่างไร เพราะความจริงเรื่อง ต่างๆ นั้นมีคนคิดเอาไว้มากแล้ว ควรนามาใช้ประโยชน์ 3. วิธีการได้มาซึ่งความรู้สาคัญกว่าความรู้ ความรู้โดยเฉพาะทางสังคมศาสตร์นั้นยังโต้เถียงกัน ได้เสมอ 4. ต้องรู้วิธีการหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) เพราะในบรรดาวิชาของมนุษย์ นั้น อย่าดูเบา “วิทยาศาสตร์” เนื่องจากเป็นแขนงวิชาที่มีพัฒนาการมาไกลกว่าวิชาอื่นๆ หากชุบชีวิตขึ้นมา เพลโตคงจะสามารถถกเถียงกับนักรัฐศาสตร์ปัจจุบันได้ไม่ยาก แต่อาร์คี มีดีส (ผู้ค้นพบวิธีวัดปริมาตรวัตถุ) จะมีความรู้เท่ากับเด็กมัธยมในสมัยของเราเท่านั้น 5. ควรนาวิชาจริยธรรมและหน้าที่พลเมืองกลับมาบรรจุในหลักสูตรการศึกษา 6. เวลานี้เป้าหมายของการสอนควรขยับจากการสอนให้คิดวิพากษ์ (Critical Thinking) ไปสู่การ ฝึกให้เด็กคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) ได้แล้ว หากเปรียบกับการอ่านหนังสือ Critical Thinking นั้นคือความสามารถในการแสดงความคิดเห็นได้ว่า หนังสือเล่มนี้ดี อย่างไร ไม่ดีอย่างไร ยังขาดอะไรอยู่ แต่เพียงให้วิพากษ์วิจารณ์ไม่เพียงพอแล้ว ต้องสร้าง Creative Thinking ด้วย คือ เมื่ออ่านจบแล้วสามารถเล่าเรื่องเดิมในแบบใหม่ เล่าให้จับใจ กว่า สนุกกว่านี้ ให้เกิดอารมณ์หัวเราะร้องไห้ได้ เล่าให้เก่งกว่าเดิม ดังนี้เป็นต้น 6. เป้าหมายสูงสุดของการศึกษาควรอยู่ที่การสร้างคนรู้รอบ (Comprehensive) เป็นในทักษะ ต่างๆ ทั้งศาสตร์และศิลป์ ได้รับการพัฒนาทั้งกายและจิตใจ ทั้งด้านความรู้ ดนตรี กีฬา ทักษะช่าง ฯลฯ มากกว่าการมุ่งสร้างคนที่รู้ลึก รู้เรื่องเดียว รู้เฉพาะทาง (Specialized) มาก เกินไป แต่ไม่เห็นภาพรวมอย่างไรก็ตาม เยาวชนก็ต้องรู้จักตัวเอง รู้ว่าตัวเองเก่งทางใด และ พยายามจะส่งเสริมความเก่งนั้นให้เป็นเลิศ และนอกจากจะรู้จักตัวเองแล้ว ต้องรู้จักส่วนรวม คือรู้จักเสียสละเพื่อส่วนรวมด้วย 7. ในประเด็นการกาหนดจานวนคนในสาขาอาชีพต่างๆ ให้ได้แน่นอนอย่างสิงคโปร์นั้น โดยเฉพาะในสายสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ปัจจุบันประเทศไทยยังคงต้องการนัก รัฐศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักปรัชญา แม้มิได้ต้องการจานวนมาก แต่ต้องเป็นคนที่เก่ง
  • 20. 16 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ มองอะไรได้ทะลุปรุโปร่ง สิงคโปร์อาจต้องการน้อย เพราะเป็นประเทศเล็กและอาจให้ ความสาคัญกับเรื่องอื่นที่ไม่เหมือนกับเรา  การวางแผนผลิตคนกับการวางแผนใช้กาลังคน สถานการณ์ของไทยในปัจจุบัน พบว่าแทบจะในทุกวงการไม่มีการเตรียมคนไว้รับไม้ต่อ ถึงเวลา ที่ไทยควรคิดอย่างจริงจังว่าในอนาคต อีก 50 ปี หรือ 100 ปีข้างหน้า ในระดับชาติ ระดับจังหวัด ระดับ ท้องถิ่น เราจะต้องการประชากร บุคลากรที่จาเป็นในสาขาต่างๆ ต้องการแรงงานอพยพหรือต่างชาติเป็น จานวนเท่าใด ซึ่งความต้องการนี้ก็จะไม่เหมือนกับประเทศอื่น หรือจังหวัดอื่น หรือท้องถิ่นอื่นเพราะแต่ ละที่มีพื้นฐานทางเศรษฐกิจ สภาพภูมิศาสตร์ที่แตกต่างกัน การทาแผนยุทธศาสตร์ชาติควรดึงเอาคนในวัย 30-40 ปีมาทาด้วย เพราะคนกลุ่มนี้จะเป็นผู้ ได้รับผลจากแผนที่วางในวันนี้อย่างแท้จริง จะทาให้มีแรงจูงใจที่จะผลักดันแผนที่ทาขึ้นให้เกิดผลเป็น รูปธรรมต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง และนอกจากการวางแผน “ผลิต” กาลังคน ต้องไม่ลืม วางแผน “ใช้” กาลังคน ที่ผลิตมาให้เต็ม ประสิทธิภาพด้วย มิฉะนั้น ถ้ามีคนเก่งแต่ไม่ถูกใช้ให้เหมาะกับงานก็เปล่าประโยชน์ 3. ยุทธศาสตร์ด้านการต่างประเทศ  เป็นประเทศอานาจขนาดกลาง (Middle Power) ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีความเป็น “กลางๆ” ในหลายเรื่อง เช่น ขนาดประเทศก็ กลางๆ สถานที่ก็อยู่กลางๆ จานวนประชากรก็กลางๆ ความคิดความอ่านของคนก็กลางๆ ศาสนาของเราก็กลางๆ “ความเป็นกลางๆ” นี้เป็นสิ่งที่เหมาะสมที่สุดที่เราควรเอามาใช้เป็น หลักของยุทธศาสตร์ต่างประเทศ เพราะในปัจจุบันโลกกาลังต้องการสิ่งนี้ คือความกลางๆ ความสมดุล ความไม่สุดโต่ง และธรรมชาติของคนไทยก็เป็นคนกลางๆ ไม่ใช่คนสุดขั้ว ยกเว้นช่วงสิบปีที่ผ่านมาที่คนไทยแปลกออกไปจากแนวทางปกติ แต่กล่าวโดยทั่วไปคน ไทยเป็นพวกไม่ใช่ “เจ้าลัทธิ” นัก เราสามารถเปลี่ยนความคิดได้ค่อนข้างง่าย ในทางการต่างประเทศมีแนวคิดเรื่องประเทศอานาจขนาดกลาง (Middle Power) ซึ่ง ไทยมีศักยภาพในหลายเรื่องไม่ว่าประชากร กาลังทางเศรษฐกิจ ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กับนานาชาติ สถานะในเวทีระหว่างประเทศ ฯลฯ ที่จะพัฒนาตัวเองไปสู่การ เป็นชาติอานาจขนาดกลางได้ โดยมีตัวอย่างที่น่าศึกษาในการเป็นชาติอานาจขนาดกลางคือ อินโดนีเซีย ตุรกี และบราซิล หลักสาคัญของชาติอานาจขนาดกลางคือไม่ถึงกับเป็น มหาอานาจ แต่ก็มีสถานะสูงกว่าประเทศทั่วไป โดยหลักแล้ว ชาติอานาจขนาดกลางจะมี
  • 21. 17 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ จุดยืนทางการต่างประเทศเป็นอิสระจากมหาอานาจ โดยยึดตามผลประโยชน์ของตน อาจจะ มียุทธศาสตร์สอดคล้องกับมหาอานาจหรือขัดแย้งกับมหาอานาจก็ได้ตามแต่ผลประโยชน์ ของชาติในแต่ละเรื่อง  วางท่าทีต่อมหาอานาจให้สมดุล ไม่เอียงข้างสหรัฐหรือจีนจนเกินไป การเป็นชาติอานาจขนาดกลางของไทย ไม่จาเป็นต้องไปขัดแย้งกับอเมริกาหรือจีน ซึ่ง เป็นเรื่องที่ไม่ฉลาด จุดยืนของเราคือเราควรร่วมมือกับทุกชาติ ซึ่งก็เป็นจุดแข็งของเราอยู่ แล้วที่เป็นมิตรได้กับทุกชาติ เราควรเป็นตัวเชื่อมให้จีนกับอเมริกามาร่วมมือมากกว่ายุให้ ขัดแย้งกัน ไม่ให้การแข่งขันของจีนกับอเมริกาในทะเลจีนใต้มาทาให้อาเซียนแตกแยก  ไม่ติดการวิเคราะห์โลกแบบตะวันตก โลกในปัจจุบันเป็นโลกที่มีหลายขั้วอานาจ ไม่ได้มีแต่ตะวันตกหรือจีนเป็นจ้าวแต่เพียงผู้ เดียว ดังนั้น การต่างประเทศไทยต้องให้ความสาคัญกับประเทศอื่นๆ ขั้วอานาจอื่นๆ ด้วย ที่สาคัญคือ จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง (และโลกมุสลิม) รวมทั้งรัสเซีย1 ข้อสาคัญคือควร เรียนรู้ศึกษาเรื่องราวประเทศเหล่าโดยตรงจากมุมมองของเขา เพื่อให้เข้าใจความรู้สึกนึกคิด ความใฝ่ฝัน ปัญหาที่เขาเผชิญ ความกลัว ของประเทศเหล่านี้ เช่น เข้าใจว่ายุทธศาสตร์ ต่างประเทศที่ดูก้าวร้าวของจีนในทะเลจีนใต้และของรัสเซียในยุโรปตะวันออกนั้น เกิดจาก ความรู้สึกว่ากลัวถูกอเมริกาปิดล้อม ในกรณีจีน และรู้สึกถูกคุกคามจากการขยายตัวของ สหภาพยุโรปเข้ามาประชิดชายแดน ในกรณีรัสเซีย ส่วนในกรณีตะวันออกกลางนั้นต้อง เข้าใจว่าเป็นพื้นที่ที่ความเป็นรัฐชาติอ่อนแอ การจะเข้าใจพวกเขาจึงต้องสนใจตัวแสดงที่ ไม่ใช่รัฐแบบตะวันออกกลางด้วย โดยสรุปคือไม่ติดหล่มมองจีน ตะวันออกกลาง หรือรัสเซีย แต่ในทางลบแบบตะวันตก  เพิ่มความสาคัญของยุทธศาสตร์ไทยต่อประเทศเพื่อนบ้านและเมืองชายแดน นอกจากการวางสถานะของไทยกับมหาอานาจแล้ว สิ่งที่เรายังให้ความสนใจน้อยก็คือ ไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ไม่ว่าจะเป็นกัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม มาเลเซีย ซึ่งอยู่ติดกับ เรา แต่เรากลับมีความรู้เกี่ยวกับประเทศเหล่านั้นน้อยมาก เราจาเป็นต้องเรียนรู้ประเทศ 1 อย่างไรก็ตาม มีข้อสังเกตว่าไม่จาเป็นต้องให้น้าหนักกับรัสเซียมากเท่ากับมหาอานาจอื่นๆ ที่กล่าวมา เพราะเป็นประเทศที่โครงสร้าง ภายในอ่อนแอมาก แต่ภาพภายนอกดูยิ่งใหญ่ เพราะเคยใช้อานาจในฐานะโซเวียต มีอาวุธนิวเคลียร์ ขายอาวุธ แต่ต้องนาเข้าอาหารถึงร้อย ละ 70 มีพื้นที่กว่า 20 ล้าน ตร.กม. แต่มีประชากรเพียง 140 ล้านคนและลดลงทุกปีเพราะย้ายไปทางตะวันตก และประชากรประมาณหนึ่ง ร้อยล้านคนกระจุกตัวอยู่ในภาคตะวันตกของประเทศ เพราะรัสเซียนั้นอยากเป็นตะวันตกมาตลอด และไม่สามารถเอากาไรจากการขาย น้ามันและแก๊สธรรมชาติมาพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศได้มากนัก เพราะพัฒนาไปก็เสื่อมลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากสภาพ ภูมิอากาศที่หนาวจัด
  • 22. 18 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ เหล่านี้ให้มาก เหตุผลสาคัญข้อหนึ่งคือเศรษฐกิจส่วนหนึ่งของเราเข้มแข็งก็เพราะการค้า กลับประเทศเพื่อนบ้าน นอกจากนี้ ข้อควรระวังในการวางยุทธศาสตร์กับประเทศต่างๆ โดยเฉพาะประเทศ เพื่อนบ้านนั้นคือเราไม่ควรประเมินตัวเราเองต่าไป เช่น กรณีไทยกับสิงคโปร์นั้น เรามักจะ พูดกันในสื่อหรือเป็นที่รู้กันอย่ากว้างขวางในที่สาธารณะว่าไทยเสียเปรียบสิงคโปร์ แต่ใน ความเป็นจริงไทยยังอยู่ในฐานะที่มีอานาจต่อรองกับสิงคโปร์ไม่น้อย อย่างไรก็ตาม ข้อควร ตระหนักคือ ความที่ประเทศไทยขาด “โครงสร้างการทางานร่วมกัน” แต่ละหน่วยงานก็ต่าง ทางานของตัวเอง ซึ่งทาให้เราขาดเอกภาพนั้น ทาให้อานาจต่อรองของไทยในกิจการ ระหว่างประเทศในหลายเรื่องไม่อยู่ในฐานะที่ได้เปรียบเท่าที่ควรจะเป็น การเห็นความสัมพันธ์ของประเทศเพื่อนบ้าน ทาให้เห็นว่าในเรื่องความมั่นคงของไทย นอกจากการดาเนินความสัมพันธ์กับประเทศมหาอานาจอย่างสมดุลแล้ว สิ่งที่เราจะต้องทาก็ คือเรื่องความมั่นคงทางด้านชายแดน เพราะฉะนั้น ประเทศเราจึงต้องให้น้าหนักกับการ พัฒนาเมืองชายแดนให้เข้มแข็ง ซึ่งข้อสาคัญคือจาเป็นต้องสร้างให้ผู้นาหรือผู้บริหารของ เมืองชายแดนมีอานาจที่เป็นเอกภาพและครอบคลุมที่จะดูแลเรื่องรอบด้านที่จาเป็นในพื้นที่ ของตน ทั้งด้านความมั่นคง การส่งเสริมการค้า ความร่วมมือด้านวัฒนธรรม การจัดการ อาชญากรข้ามชาติ ได้อย่างเต็มที่ มากกว่าการปล่อยให้เมืองชายแดนดูแลโดยหน่วยงาน ต่างๆ ที่ต่างคนต่างทาภารกิจของตน ไม่บูรณาการ ไม่เป็นเอกภาพ อย่างทุกวันนี้ การเพิ่มความสาคัญกับการข่าวกรอง โดยเฉพาะบริเวณชายแดนและข่าวกรองเรื่อง ประเทศเพื่อนบ้านเป็นอีกประเด็นสาคัญในการกาหนดยุทธศาสตร์ต่อประเทศเพื่อนบ้าน เพราะการทายุทธศาสตร์นั้น ไม่ใช่ทาด้วยข่าวสาร แต่ต้องทาด้วยข่าวกรอง ซึ่งประสิทธิภาพ ด้านการข่าวกรองกับ ประเทศเพื่อนบ้านของไทยนั้นอ่อนแอมาก แม้แต่ในเชิงรับ เพื่อนบ้านเช่นพม่าและ มาเลเซียนั้นมีสายข่าวมากมายฝังตัวอยู่ในเมืองชายแดนสาคัญของเรา เช่น เชียงใหม่และ หาดใหญ่ ขณะที่เราไม่ได้สร้างคนที่จะไปฝังตัวเพื่อจะรู้ลึกซึ้งถึงความเคลื่อนไหวของรัฐ เพื่อนบ้านว่าเขาจะมียุทธศาสตร์ มีแนวโน้มในการพัฒนาอย่างไร ถึงแม้ว่าบรรยากาศแบบ สงครามเย็นจะลดลงไป แต่ก็มีโอกาสที่จะกลับมาได้ในอนาคต และถึงแม้ว่าไทยอาจจะไม่สู้ รบกับเพื่อนบ้านโดยตรง แต่การข่าวที่มีการรวบรวมอย่างเป็นระบบก็ยังจาเป็นต้องมีเพื่อ นามากาหนดยุทธศาสตร์ของเราต่อประเทศเหล่านั้นอย่างเหมาะสม  สร้างนักการทูต นักเจรจาที่มีความสามารถ เราต้องสร้างนักการทูต นักการเจรจาที่เก่ง ติดตามและสามารถอ่านสถานการณ์โลก และภูมิภาคได้อย่างหลักแหลม และที่สาคัญควรเพิ่มผู้เชี่ยวชาญที่รู้และเข้าอกเข้าใจฝ่ายที่ ไม่ใช่ตะวันตก เช่น ฝ่ายจีน โลกมุสลิมและรัสเซีย ให้เข้ามาอยู่ในวงการปฏิบัติ วงนักกาหนด
  • 23. 19 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ นโยบาย นักยุทธศาสตร์ของประเทศด้วย เพื่อให้ยุทธศาสตร์ต่างประเทศของไทยสมดุลและ วางตัวได้เหมาะสม  บริหารการจัดการคนต่างชาติและต่างด้าวให้รัดกุม ไทยต้องมีนโยบายการควบคุมและบริหารจัดการการเข้ามาของคนต่างชาติ/ต่างด้าวให้ สมดุลขึ้น ในประเด็นสาคัญๆ เช่น เรื่องการเข้ามาเป็นแรงงาน อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่ เอาเปรียบคนไทย และการขบวนการขนคนต่างด้าวเข้ามาแย่งใช้บริการสาธารณสุขใน โรงพยาบาลรัฐในประเทศไทย