SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 47
Descargar para leer sin conexión
เวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 3
การประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 3
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
จัดโดย
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
12 ตุลาคม 2559
รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขต
จตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864
บรรณาธิการ: ยุวดี คาดการณ์ไกล
ถอดความและเรียบเรียง : อุสมาน วาจิ
ผู้ช่วยบรรณาธิการ : ปลายฟ้า บุนนาค และ ปาณัท ทองพ่วง
เผยแพร่: พฤศจิกายน 2559
สารบัญ
หน้า
บทนา
ส่วนที่ 1 ภาพรวมเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน 1
และการสร้างสถาบันเพื่อจัดการนโยบายเศรษฐกิจ
1. เศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน ปีหน้า และผลต่อเศรษฐกิจไทย 2
2. ปัญหาสาคัญของเศรษฐกิจไทยในระยะกลาง-ยาว 4
3. แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจไทย 7
1) การสร้างสถาบันเพื่อจัดการนโยบายเศรษฐกิจ : 13
กรณีโครงการพัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันออก
2) บทบาทของรัฐกับการเลือกผู้ชนะ (Picking the winners) 17
3) ทาอย่างไรให้ไทยน่าลงทุน 18
ส่วนที่ 2 บทสรุป 21
ส่วนที่ 3 บทอภิปราย 23
ข้อคิดเห็นจากผู้ร่วมประชุม 24
ภาคผนวก รายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม 28
แผนภาพนาเสนอ 29
บทนา
ปัญหาสาคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจไทยคือการขาดการบริหารนโยบายเศรษฐกิจเชิงองค์รวม
และต่อเนื่อง ที่ผ่านมารัฐบาลมักจะเน้นการดาเนินนโยบายในระยะสั้นเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้า แต่หาก
ต้องการพัฒนาเศรษฐกิจของไทยให้มีความมั่นคงและมั่งคั่ง จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องก่อตั้ง“สถาบันเพื่อ
จัดการนโยบายเศรษฐกิจ”เพื่อให้การแก้ปัญหาเศรษฐกิจเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดการบูรณาการ
และมีความต่อเนื่อง
วันพุธที่ 12 ตุลาคม 2559 ที่ผ่านมา สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้จัดเวทีระดม
สมอง เรื่อง ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ณ ห้องประชุมมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ
เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร โดยได้รับเกียรติจากผู้ทรงคุณวุฒิในหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐ
ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคนักวิชาการ อาทิ ศ.นพ.ประเวศ วะสี ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ อธิการวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต รศ.วิวัฒน์ มุ่งการดี อดีตที่ปรึกษา
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นพ.สมศักดิ์ชุณหรัศมิ์อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการ
กระทรวงสาธารณสุข พล.ท.เจิดวุธ คราประยูร รองผู้บัญชาการสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ คุณ
ปรีดา เตียสุวรรณ์ กรรมการมูลนิธิพฤษภาประชาธรรม และผู้ทรงคุณวุฒิอีกหลายท่าน เข้าร่วมรับฟัง
ข้อเสนอและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็นเรื่อง “ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจไทย” จาก รศ.ดร.
นิพนธ์ พัวพงศกร นักวิชาการเกียรติคุณของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
ศ.นพ.ประเวศ วะสี ได้เริ่มกล่าวนาการประชุมเวทียุทธศาสตร์ด้วยการกล่าวถึงความจาเป็นที่
ไทยต้องมีสถาบันเพื่อการศึกษาและวางแผนยุทธศาสตร์พัฒนาประเทศอย่างจริงจัง เพราะความรู้ต่าง ๆ
ที่มาจากต่างประเทศนั้นในบางครั้งไม่มีมีความเหมาะสมกับบริบทจาเพาะของประเทศไทย ฉะนั้นเราจึง
จาเป็นต้องมีสถาบันที่จัดการองค์ความรู้ต่าง ๆ ให้มีความเหมาะสมกับบริบทเหล่านี้ ซึ่งหนึ่งใน
ความสาเร็จที่สามารถผลักดันให้เกิดขึ้นได้คือสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ ภายใต้วิทยาลัยบริหาร
รัฐกิจและรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต อันได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการ
สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยที่มีพันธกิจหนึ่งคือการจัดเวทีประชุมด้านยุทธศาสตร์ชาติ ดังเช่นที่จัดใน
วันนี้ในหัวข้อด้านยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจอันได้รับความร่วมมืออย่างดีจากทั้งภาคพลเรือนและ
ฝ่ายความมั่นคง ซึ่งเราจาเป็นต้องร่วมกันทั้งสองฝ่ายเพราะภาคพลเรือนอย่างเดียวไม่มีบุคลากรเพียงพอ
หลายท่านมีความสามารถแต่ติดภารกิจในการสอนจนไม่มีเวลาทาวิจัย ในขณะที่ฝ่ายความมั่นคงเองก็มี
การวิจัยที่หลากหลายและมีการทาในระดับนานาชาติด้วย
ในอนาคตโลกของเรามีความเป็นไปได้สูงที่จะเกิดความไม่มั่นคงในหลายประการ เช่น ความ
มั่นคงด้านอาหาร ซึ่งการที่ไทยจะอยู่รอดอย่างมั่นคงภายใต้วิกฤติการณ์ต่าง ๆ ได้นั้นจาเป็นที่เราต้องทา
ตัวให้เหมาะสม ซึ่ง “เหมาะสม” คืออะไร และ อย่างไร นี่คือสิ่งที่สถาบันวิจัยต้องตอบโจทย์
1 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
1.
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก
ในปัจจุบัน และการสร้างสถาบัน
เพื่อจัดการนโยบายเศรษฐกิจ
2 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน
และการสร้างสถาบันเพื่อจัดการนโยบายเศรษฐกิจ
นาเสนอโดย รศ.ดร.นิพนธ์ พัวพงศกร
1.เศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน ปีหน้า และผลต่อเศรษฐกิจไทย
รศ.ดร.นิพนธ์ พัวพงศกร นักวิชาการเกียรติคุณของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
(TDRI) ได้เริ่มแสดงทรรศนะด้วยการนาเสนอถึงภาวะชะลอตัวของประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่
เนื่องจากภาวะผันผวนจากวิกฤติการณ์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการเจรจา Brexit ที่ยังไม่มีความชัดเจนอีกทั้ง
ต้องอยู่ในขั้นเจรจาอีกอย่างน้อยสองปี, ทิศทางการเมืองยุโรปที่เริ่มเอนเอียงไปทางฝ่ายขวาจากปัญหาผู้
ลี้ภัยและการก่อการร้าย, การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาที่ทาให้การเจรจาต่าง ๆ ชะงักงัน
จนกว่าจะมีประธานาธิบดีคนใหม่ และปัญหาสุดท้ายคือความขัดแย้งในภูมิภาคต่าง ๆ โดยเฉพาะใน
ภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งคาดว่าเศรษฐกิจโลกจะอยู่ในภาวะไม่เติบโตเช่นนี้ไปอีกราว 10 ปี นอกจากนี้
ในระดับภูมิภาคยังมีปัญหาอีกประการนั่นคือประเทศกลุ่ม CLMV (Cambodia, Laos, Myanmar,
Vietnam) ซึ่งเป็นเพื่อนบ้านของไทยกาลังประสบภาวะซบเซาเช่นเดียวกันเนื่องจากถูกสินค้าราคาถูก
จากจีนซึ่งครอบคลุมในหลายประเภทสินค้าเข้าตีตลาด ทาให้เศรษฐกิจไทยได้รับผลกระทบในทางอ้อม
เนื่องจาก CLMV เป็นตลาดส่งออกสาคัญสินค้าของไทยเช่นกัน
นอกจากนั้นการที่ประเทศซึ่งมีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ดาเนินนโยบายที่แตกต่างกัน ยิ่งทาให้เกิด
การผันผวนในตลาดการเงินโลกมากขึ้น ส่งผลให้เงินทุนย้ายฐานไปมาตามนโยบายที่เปลี่ยนไปของแต่ละ
ประเทศ ความผันผวนนี้สืบเนื่องมาจากวิกฤติการเงินโลกในปี พ.ศ.2550 ที่ผ่านมาทาให้มีการพิมพ์เงิน
จานวนมากสู่ตลาดเพื่อพยุงเศรษฐกิจไว้ แต่ตลาดที่มีปริมาณเงินมากเกินไปนั้นไม่สามารถคงอยู่ได้ใน
ระยะยาว ทาให้รัฐบาลกลางแต่ละประเทศต้องออกนโยบายเพื่อลดปริมาณเงินลง สหรัฐอเมริกาที่เคย
เพิ่มปริมาณเงินในตลาดมาก่อนมีแผนดาเนินนโยบายขึ้นอัตราดอกเบี้ยเพื่อลดภาวะเงินเฟ้อในปลายปีนี้
แต่ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป (EU) ก็ยังดาเนินนโยบายขยายปริมาณเงินและดอกเบี้ยต่าต่อไป เพราะ
ยังมีปัญหา Brexit ที่ยังไม่ชัดเจน และ ธนาคาร Deutsche Bank ที่รัฐบาลเยอรมนีต้องเข้ามาโอบอุ้ม
ส่วนประเทศญี่ปุ่นก็ยังเพิ่มปริมาณเงินในตลาดเช่นกัน ปัจจุบันนี้มีการคาดการณ์กันว่าจะขยายอัตราเงิน
เฟ้อจาก 2% ไปสู่ 4% และเมื่อใดก็ตามที่อัตราเงินเฟ้อเพิ่มไปจนถึงจุดวิกฤติแล้วชาติต่าง ๆ ก็ต้องเริ่มดึง
เงินออกจากตลาดเช่นเดียวกับสหรัฐอเมริกา ถึงตอนนั้นจะเกิดวิกฤติเศรษฐกิจโลกอีกครั้ง อย่างไรก็ตาม
3 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
ยังพอมีข่าวดีสาหรับประเทศไทยอยู่บ้าง คือเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาเริ่มมีสัญญาณที่ดีขึ้น อัตราการ
ว่างงานน้อยลง ทาให้ไทยได้รับประโยชน์จากการส่งออกสินค้าเนื่องจากสหรัฐอเมริกาคือตลาดใหญ่ที่สุด
ของไทย รวมถึงประเทศอื่น ๆ ในเอเชียด้วยเช่นกัน
สาหรับประเทศจีนที่มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ดีมาตลอด และเป็นกลไกสาคัญที่ผลักดัน
เศรษฐกิจโลกให้เติบโตไปด้วยก็ยังเลี่ยงภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจไม่ได้เพราะเศรษฐกิจพื้นฐานของ
ประเทศกาลังมีปัญหา เนื่องจากอัตราความต้องการสินค้าของตลาดในประเทศลดลงมาก เช่น ความ
ต้องการสินค้ากลุ่มแร่และเหล็กต่าง ๆ ที่เป็นผลจากภาวะซบเซาในภาคอุตสาหกรรม ฉะนั้นการที่จีนจะมี
อัตราการเพิ่มขึ้นของ GDP มากกว่า 10% จึงเป็นไปไม่ได้อีกแล้ว และมีแนวโน้มจะคงการเติบโตจะอยู่ที่
ราว 6.5 เท่านั้น แม้จะมีการลงทุนครั้งมหาศาลโดยรัฐบาลกลางในเมืองที่มีการเจริญเติบโตน้อยแต่ก็ยัง
ไม่สามารถกระตุ้นเศรษฐกิจได้ บางเมืองและบางนิคมอุตสาหกรรมกลายเป็นพื้นที่ร้างที่มีสิ่งปลูกสร้าง
มากมายแต่ไร้ผู้อยู่อาศัย ส่วนประเทศอินเดียที่เศรษฐกิจกาลังเติบโตก็ยังไม่สามารถทัดเทียมประเทศจีน
ได้ เพราะกลไกการบริหารประเทศมีความซับซ้อน แต่ละรัฐมีกฎระเบียบไม่เหมือนกันทาให้เกิดความ
ยุ่งยากและล้าช้าในการลงทุน จึงทาให้นักลงทุนต่างชาติเลือกลงทุนในประเทศอื่นมากกว่า ซึ่งต่างจากจีน
ที่กฎระเบียบต่าง ๆ ถูกออกแบบให้เอื้อต่อการลงทุน เมื่อจีนและอินเดียไม่สามารถเป็นจักรกลในการเร่ง
การเติบของเศรษฐกิจโลกได้ จึงจาเป็นต้องตระหนักว่าเรากาลังเข้าสู่ความปกติในรูปแบบใหม่ (New
Normal) ที่โลกจะอยู่ภาวะชะลอตัวทางเศรษฐกิจไม่ต่ากว่า 10 ปี ซึ่งนี่เป็นวัฏจักรที่เกิดขึ้นมาตลอด
ประวัติศาสตร์
ในส่วนของราคาสินค้าโภคภัณฑ์ ราคาน้ามันจะเพิ่มขึ้นอีกเล็กน้อยซึ่งจะกระทบต่อไทยไม่มาก
นัก แต่จะเป็นข่าวดีสาหรับชาวสวนยางเพราะยางจะมีราคาสูงขึ้น อย่างไรก็ตามราคาน้าตาลกับข้าวยังคง
ตกต่าต่อไปไม่น้อยกว่า 5-10 ปี ส่วนราคาสินค้าเกษตรอื่น ๆ ยังทรงตัว แม้จะเกิดภาวะเอลนิญโญที่ทา
ให้ผลผลิตทางเกษตรเสียหายก็ยังไม่ทาให้ราคาสินค้าเกษตรสูงขึ้นแต่อย่างใด
ในภาวะเศรษฐกิจซบเซาทั่วโลกเช่นนี้ไทยจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับนโยบายทางเศรษฐกิจ
ใหม่เพื่อให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน ด้วยการพึ่งกลไกลในระบบทุนนิยมโลกและขนาด
เดียวกันก็มีการจัดการเศรษฐกิจที่ดี นั่นคือการก่อตั้งสถาบันเพื่อจัดการนโยบายเศรษฐกิจเป็นการ
เฉพาะ ซึ่งรัฐบาลในอดีตเคยทาสาเร็จมาแล้ว เช่น โครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก
หรือ Eastern Seaboard Development Program (ESB) ที่เกิดขึ้นในรัฐบาลของ พล.อ.เปรม ติณสูลา
นนท์
4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
2.ปัญหาสาคัญของเศรษฐกิจไทยในระยะกลาง-ยาว
ในอดีตประเทศไทยมีอัตราการเติบโตของ GDP อยู่ที่ราว 6% แต่ภายหลังลดลงมาอยู่ที่ราว
3% เท่านั้นเนื่องจากประสบปัญหาสาคัญซึ่งเป็นปัญหาร่วมของประเทศกาลังพัฒนา คือการไม่
สามารถเพิ่มรายได้ต่อหัวประชากรให้สูงขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ได้อีก แม้ในอดีตประเทศกาลังพัฒนา
สามารถสร้างงานและรายได้แก่ประชาชนจากการขยายตัวของภาคการผลิตและส่งออกสินค้า แต่
เมื่อขยายตัวระดับหนึ่งแล้วกลับไม่สามารถเพิ่มรายได้ให้สูงขึ้นไปอีกได้ เนื่องจากขาดการวิจัย
นวัตกรรมของตัวเองเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าอันเป็นการเพิ่มรายได้แก่ประชากรต่อไป ซึ่งปัจจุบันนี้
รายได้ต่อหัวของคนไทยอยู่ที่ 6,000 เหรียญสหรัฐอเมริกาต่อปี ส่วนรายได้ประเทศพัฒนาแล้วอยู่ที่
12,000 เหรียญสหรัฐอเมริกาต่อปี หากรายได้คนไทยเพิ่มขึ้น 4% ต่อปีก็ยังต้องใช้เวลาอีกกว่า 20 ปี
เพื่อยกระดับรายได้ให้ทัดเทียมประเทศพัฒนาแล้ว
ปัญหาประการต่อมาเป็นแนวโน้มที่เกิดขึ้นหรือกาลังจะเกิดขึ้นในหลายประเทศเช่นกัน คือ
การที่ประชากรตัดสินใจมีลูกน้อยลงหรือไม่มีลูก ทาให้ในอนาคตมีแนวโน้มที่จะเกิดการขาดแคลน
ประชากรวัยแรงงานซึ่งเป็นกาลังหลักของชาติ อีกทั้งความก้าวหน้าทางการแพทย์ทาให้คนอายุยืน
ขึ้นส่งผลให้โครงสร้างประชากรมีผู้สูงวัยเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ฉะนั้นต้องคิดหาวิธีเพิ่มแรงงานในตลาด
ตั้งแต่วันนี้เพื่อรับมือกับแนวโน้มปัญหาในอนาคต
ปัญหาประการที่สามคือความเหลื่อมล้า เมื่อมองประเด็นความเหลื่อมล้าในมุมครัวเรือนแล้วโดย
ภาพรวมมีทิศทางที่ดีขึ้น ครัวเรือนที่เคยมีรายได้ต่ากว่าค่าเฉลี่ยเริ่มมีรายได้ที่สูงขึ้น ส่วนครัวเรียนที่
ร่ารวยมีแนวโน้มที่จะมีรายได้ลดลง หมายรวมว่าไทยมีชนชั้นกลางมากกว่าในอดีต ซึ่งนี่เป็นไปตาม
กลไกต่าง ๆ ที่ทาให้รายได้ของประชากรใกล้เคียงกัน อย่างไรก็ตามแม้สถานการณ์โดยรวมจะดีขึ้น ก็ยัง
ถือว่ามีความเหลื่อมล้าค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ด้วยค่าดัชนี GINI ที่ระดับ 0.47 นั้นเป็น
ค่าที่สูงทัดเทียมกับประเทศในกลุ่มลาตินอเมริกาเลยทีเดียว ซึ่งกลุ่มที่เร่งความเหลื่อมล้าของไทยมาก
ที่สุดคือครัวเรือน 2% ที่ร่ารวยที่สุด ครัวเรือนกลุ่มนี้นั้นร่ารวยเพิ่มขึ้นอย่างมากมาโดยตลอด ซึ่งส่วนหนึ่ง
มาจากการที่ครัวเรือนกลุ่มนี้สามารถเข้าไปมีบทบาทในการกาหนดนโยบายของรัฐบาลให้เอื้อต่อ
ผลประโยชน์ของกลุ่มตนมากกว่าคนกลุ่มอื่น ๆ ไม่ว่าพรรคใดก็ตามได้เป็นรัฐบาล ครัวเรือนกลุ่มนี้ก็
สามารถเข้าไปมีบทบาทได้ด้วยการใช้สายสัมพันธ์อันดีที่มีอยู่ ฉะนั้นเพื่อสร้างความเป็นธรรมให้เกิด
ขึ้นกับสังคมโดยถ้วนหน้า จาเป็นที่ต้องออกกฎหมายเพื่อป้องกันการแทรกแซงนโยบายและสร้างกติกาที่
ไม่เอื้อประโยชน์ให้คนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเป็นการเฉพาะ
ในทางกลับกันกลุ่มคนที่จนที่สุด 5% แรกกลับจนลงอย่างมีนัยยะสาคัญ เนื่องจากเข้าไม่ถึง
โอกาสในการยกระดับชีวิตตัวเอง แม้จะมีนโยบายแก้ความยากจนโดยรัฐบาลแต่น่าเสียดายที่มักไม่ได้ผล
เป็นที่น่าพอใจ เช่น นโยบายแจกจ่ายที่ดิน ส.ป.ก.4-01 เพื่อการทาการเกษตรแก่คนยากจน ซึ่งสุดท้าย
5 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
แล้วที่ดินต่าง ๆ ไม่สามารถเพาะปลูกได้ดีเนื่องจากที่ดินที่มักจะเป็นพื้นที่ป่ามาก่อน หน้าดินมีลักษณะ
ตื้นไม่มีความเหมาะสมในการทาการเกษตร เมื่อทาเกษตรไม่ได้ทาให้ที่ดินถูกขายต่ออีกทอดหนึ่งไปยัง
กลุ่มนายทุน โดยนายทุนจะนาที่ดินไปทาอย่างอื่นที่ไม่ใช่การเกษตรซึ่งผิดจุดประสงค์ของ ส.ป.ก.4-01
และเมื่อรัฐบาลปราบปรามการครอบครองที่ดินผิดกฎหมายอย่างจริงจังแล้ว ที่ดินที่ถูกยึดคืนจากนายทุน
จะถูกแจกจ่ายไปยังคนยากจนเพื่อทาการเกษตรอีกครั้ง ซึ่งท้ายที่สุดก็จะถูกขายแก่นายทุนเช่นเดิม
เพราะไม่เหมาะสมในการทาการเกษตร กลายเป็นวงจรอุบาทว์ที่ดาเนินซ้าแล้วซ้าเล่า ซึ่งนโยบาย
แจกจ่ายที่ดินเพื่อทาการเกษตรที่ประเทศอื่น ๆ ได้ทดลองทาในลักษณะคล้ายกันโดยมากแล้วก็ไม่ได้ผล
เช่นกัน เมื่อเป็นดังที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าหลายนโยบายเอื้อต่อคนที่ร่ารวยอยู่แล้วให้ร่ารวยยิ่งขึ้น ส่วน
หลายนโยบายเพื่อแก้ปัญหาความยากจนกลับไม่ได้ผล
ส่วนความเหลื่อมล้าในมุมมองระดับภาคก็ยังมีปัญหามากเช่นกัน มีเพียงภาคตะวันออกเท่านั้นที่
ประชากรมีรายได้ต่อใกล้เคียงกรุงเทพฯ ส่วนภาคอื่น ๆ ยังต่ากว่ามาก โดยเฉพาะภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือที่มีรายได้ต่อหัวเทียบได้เพียง 17% ของภาคตะวันออกเท่านั้น ซึ่ง
ปัจจัยสาคัญที่ทาให้ภาคกลางและภาคตะวันออกมีรายได้ที่สูงกว่าภาคอื่น ๆ ก็คือภาคอุตสาหกรรม ส่วน
ภาคเกษตรกรรมที่เป็นอาชีพพื้นฐานของคนไทยมาตลอดกลับเป็นภาคที่สร้างร้ายได้ให้คนไทยน้อยที่สุด
แต่กลับเป็นภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการที่เป็นจักรกลสาคัญที่คอยผลักดันการความมั่งคั่งของชาติ
ซึ่งปัจจุบันอัตราการเพิ่มขึ้นของ GDP ในพื้นที่ภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สูงกว่า กรุงเทพฯ ไปแล้วด้วยรายได้จากภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ แต่พื้นที่ภาคเหนือและภาคใต้
ยังโตช้ากว่าภาคอื่น ๆ เพราะยังพึ่งภาคเกษตรกรรมมากเกินไป ปัญหาส่วนหนึ่งเป็นเพราะเรามีค่า TFP
ผลิต (ภาพรวม; Total Factor Productivity) ที่ต่ากว่า 2% ซึ่งเป็นค่าที่ต่ามาก โดยเฉพาะภาคการเกษตร
ที่ติดลบเสียด้วยซ้าต่างจากอดีตที่มีค่าเป็นบวกค่อนข้างสูง ซึ่งประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่น สหรัฐอเมริกามี
ค่านี้อยู่ที่ราว 2% หากไทยต้องการที่จะเพิ่มผลิตภาพให้ทัดเทียมกันก็ต้องเร่งเพิ่มค่า TFP ให้มากกว่า
2% ให้ได้ ค่า TFP นี้สามารถอธิบายได้อย่างง่ายว่าคือค่าที่วัดความสามารถในการเพิ่มผลิตภาพโดยใช้
ปัจจัยเชิงคุณภาพ เช่น ผลิตสินค้าได้มากขึ้นเพราะพนักงานมีทักษะที่ดีขึ้น หรือสินค้ามีมูลค่ามากขึ้น
เพราะผลิตโดยเทคนิคใหม่ มิใช่การเพิ่มจานวนปัจจัยการผลิตเช่นการจ้างแรงงานเพิ่มหรือสั่งซื้อ
เครื่องจักร ฉะนั้นการที่เราจะเติบโตอย่างยั่งยืนได้การวัดเพียงค่า GDP อย่างเดียวไม่เพียงพอเพราะ
สะท้อนเฉพาะเพียงตัวเลขการเติบโตทางเศรษฐกิจเท่านั้น ต้องพิจารณาร่วมกับค่า TFP ด้วยที่สะท้อน
‘ความสามารถ’ในการเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนนี้เป็นหนึ่งในประเด็นการ
พัฒนาอย่างยั่งยืน 17 ประการของสหประชาชาติด้วย ซึ่งรัฐบาลจะใช้เป็นหมุดหมายสาคัญในการ
วางแผนในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งสิ่งที่จะเพิ่มผลิตภาพให้สูงขึ้นได้ก็คือการวิจัยและสร้างนวัตกรรม
ใหม่ หาไม่แล้วค่า TFP ก็จะลดต่าลงไปเรื่อย ๆ เช่นที่เกิดอย่างชัดเจนกับภาคการเกษตร
น่าเสียดายที่ประเทศไทยไม่เห็นความสาคัญของ(ฐาน)ข้อมูล ไม่มีงบประมาณที่เพียงพอเพื่อ
สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูลทางเศรษฐกิจอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น ในภาคการเกษตรที่อย่างน้อยที่สุด
6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
ควรมีการเก็บข้อมูลค่า TFP แยกเป็นสามประเภท คือ ประเภทพืชผล ปศุสัตว์ และประมง แต่เนื่องด้วย
ข้อกัดทางงบประมาณทาให้หน่วยงานราชการที่มีหน้าที่โดยตรงในการจัดเก็บข้อมูล ไม่สามารถจัดเก็บ
ข้อมูลแบบแยกประเภทได้ การที่เรามีฐานข้อมูลไม่สมบูรณ์เพียงพอเช่นนี้จะทาให้ยากที่จะประเมิน
ผลสัมฤทธิ์ของนโยบายหลังจากที่ได้นาไปปฏิบัติแล้ว เมื่อประเมินนโยบายไม่ได้ก็เป็นไปได้ว่า
งบประมาณมหาศาลที่ใช้ในการดาเนินนโยบายก็อาจไม่คุ้มค่าแล้วกลายเป็น “นโยบายการตลาด” ที่
แก้ปัญหาระยะสั้นเท่านั้น ในบางปีหน่วยงานราชการได้รับงบประมาณเพื่อดาเนินงานจัดเก็บข้อมูล แต่
ในปีต่อ ๆ มากลับโดนตัดงบประมาณส่วนดังกล่าว ทาให้ไม่มีความต่อเนื่องในการจัดทาข้อมูลทั้งที่ความ
เป็นจริงควรทาทุก ๆ 2-3 ปี และส่งผลให้ไม่สามารถใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลที่มีได้เท่าใดนัก มีกรณีที่
น่าสนใจคือเมื่อปลายปีที่แล้วสถาบันวิจัยเศรษฐกิจ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ภายใต้ธนาคารแห่งประเทศไทย ได้
ทาโครงการสารวจความเหมาะสมของระบบประกันภัยพืชผล โดยใช้ฐานข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมจาก
สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ GISTDA มาประมวลผล
จนสามารถระบุได้ว่าในแต่ละปีเรามีการเพาะปลูกในช่วงใด เป็นพื้นที่เท่าใด และเกิดความเสียหายเท่าใด
ในแต่ละปี ซึ่งภาพถ่ายเหล่านี้มีการถ่ายเก็บมาตลอด 17 ปี แต่ไม่เคยมีการนาภาพเหล่านั้นมา
ประมวลผลเนื่องจากขาดงบประมาณ
ระเบียบในการเบิกจ่ายงบประมาณเองก็เป็นปัญหาใหญ่อีกปัญหาหนึ่ง เพราะมีธรรมเนียมใน
การจัดสรรงบประมาณที่ขึ้นอยู่กับการเจรจากับสานักงบประมาณ หากหน่วยงานใดมีผู้เจรจาด้วยที่มี
อิทธิต่อสานักงบประมาณก็จะมีแนวโน้มที่จะได้งบประมาณมากกว่า เช่น งบประมาณสาหรับ
กระทรวงกลาโหมที่มักไม่ถูกคัดค้าน ส่วนงบประมาณสาหรับหน่วยงานที่ทางานเชิงข้อมูลหรือการวิจัย
มักจะถูกตัดทอนอยู่เสมอเมื่อรัฐมีงบประมาณน้อยลง ทาให้เกิดปัญหาดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เช่น
รัฐบาลในยุคสมัย นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ มีนโยบายสร้างมหาวิทยาลัยแห่งการวิจัย มีการเบิกจ่าย
งบประมาณจานวนมากแก่มหาวิทยาลัยเพื่อสนับสนุนการวิจัย เมื่อมหาลัยได้งบประมาณมาแล้วจึงทา
การเปิดหลักสูตรปริญญาเอกและพัฒนาการวิจัย แต่เมื่อรัฐบาลต่อมารัฐมีงบประมาณน้อยลง
งบประมาณสาหรับโครงการนี้ถูกตัดทอนทาให้โครงการต่าง ๆ ที่มหาวิทยาลัยทามาต้องชะงักงัน
กลางคัน ระบบการจัดสรรงบประมาณที่บุคคลผู้เจรจาเป็นปัจจัยพิจารณาการจัดสรรนโยบาย จึงไม่
เหมาะสมกับการพัฒนาประเทศในระยะยาวอย่างแน่นอน
7 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
3.แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
ความเจริญทางเศรษฐกิจซึ่งถูกขับเคลื่อนโดยทุนนิยมยังคงเป็นเป็นหนทางหลักสาหรับการกินดี
อยู่ดี ดังที่ได้รับการยืนยันโดย บารัค โอบามา ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา ผ่านบทความของเขาที่
ชื่อ “The way ahead” ในวารสาร The Economist เมื่อวันที่ 16 ตุลาคมที่ผ่านมา ในบทความนี้มีประโยค
ทองที่ว่า “ทุนนิยมยังคงเป็นแรงผลักสาคัญที่สุดของโลกสาหรับความมั่งคั่งและโอกาสใหม่ ๆ”
(Capitalism has been the greatest driver of prosperity and opportunity the world has ever known
) และ “แรงจูงใจจากกาไรสามารถเป็นจักรกลสาคัญสาหรับความกินดีอยู่ดีของสังคม…..แต่ โดยตัวมัน
เองแล้วไม่สามารถนาไปสู่การกระจายของความมั่งคั่งและการเติบโต(ทางเศรษฐกิจ)อย่างถ้วนหน้า”
(The profit motive can be a powerful force for the common good,…… But, by itself, this will not
lead to broadly shared prosperity and growth) โดยปัญหาที่เราพูดกันว่าทุนนิยมทาให้เกิดความเหลื่อ
ล้า การผูกขาด ปัญหาสิ่งแวดล้อม ฯลฯ ก็คือสิ่งที่ โอบามา ชี้ให้เห็นในวรรคสุดท้าย ซึ่งเราสามารถ
ลดทอนปัญหาเหล่านี้ลงด้วยการสร้างสถาบันที่เข้ามากาหนดกฎกติกาแก่ทุนนิยม ซึ่งต้องย้าอีกครั้งว่า
เศรษฐกิจจะเติบโตได้ก็ด้วยการลงทุนจากภาคเอกชนเป็นหลัก แล้วรัฐบาลเข้ามากากับดูแล มิใช่พึ่งพา
เงินทุนจากภาครัฐเป็นหลัก
ประวัติศาสตร์ไทยชี้ให้เห็นว่าทุกครั้งที่เศรษฐกิจไทยเจริญรุ่งเรือง ล้วนเกิดมาจากการค้า การ
ลงทุน เทคโนโลยี และสถาบันที่คอยจัดการตลาด โดยเฉพาะการค้าต่างประเทศนับตั้งแต่ยุคพ่อขุนราม
รามคาแหงมหาราชที่เราจดจาพระราชดารัสที่ว่า “ใครจักใคร่ค้าช้าง ค้า ใครจักใคร่ค้าม้า ค้า " ในยุคพระ
นารายมหาราชที่เรามีการค้าขายกับโปรตุเกส ในรัชสมัยรัชกาลที่ 2 และรัชกาลที่ 3 เราค้าขายกับจีน
และมีคนจีนอพยพมาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทยเนื่องจากหนีภัยสงครามฝิ่นและภัยพิบัติทางธรรมชาติ ทา
ให้เกิดชนชั้นพ่อค้าที่เป็นแรงงานอิสระ รัชสมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 เราทาสนธิสัญญาเบาริ่ง มีการ
สร้างสถาบันดูแลการค้าโดยตรง มีการกาหนดกรรมสิทธิ์ มีการส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งหนึ่งในหลวงรัชกาลที่ 5 ทรงเสด็จไปเปิดงานนิทรรศการการค้า ในครั้ง
นั้นมีพ่อค้าได้เข้าเฝ้าแล้วทูลว่าถ้าข้าวที่ส่งออกมีคุณภาพทัดเทียมกับข้าวที่นามาแสดงในงานแสดง
นิทรรศการแล้วเราจะสามารถส่งออกข้าวในราคาที่ดีที่สุด ซึ่งจะทัดเทียมกับข้าวสายพันธ์ Patma จาก
ปากีสถานอันเป็นข้าวที่มีราคาสูงในตลาดโลก ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงมอบทุนเล่าเรียนแก่ชาวไทยเรื่อยมา
เพื่อไปศึกษาด้านเกษตรกรรมในต่างประเทศอย่างต่อเนื่องเพื่อนาความรู้กลับมาพัฒนาสายพันธุ์ข้าวของ
ไทย ซึ่งหนึ่งในผู้ที่สร้างคุณประโยชน์แก่ข้าวไทยมากคือนายตี๋ มิลินทรางกูร ที่ได้รวบรวมพันธุ์ข้าว
มากกว่าร้อยสายพันธุ์ แล้วส่งไปประกวด ณ เมืองเรจินา ประเทศแคนาดา ในปี พ.ศ. 2476 ซึ่งข้าวหอม
8 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
พันธุ์ปิ่นแก้วได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ 1 และก้าวสาคัญอีกขั้นของพันธุ์ข้าวไทยคือ USAID ได้มอบทุน
เพื่อพัฒนาข้าวไทยในทศวรรษ พ.ศ. 2490 ซึ่งอธิบดีกรมการข้าวในขณะนั้นสาเร็จการศึกษาจาก
มหาวิทยาลัยคอแนล โดยหนึ่งในอาจารย์ของท่านคือผู้เชี่ยวชาญด้านการปรับปรุงสายพันธุ์พืชคนแรก
ของโลก เมื่อผู้เชี่ยวชาญด้านการปรับปรุงสายพันธุ์ท่านนี้เกษียณแล้วจึงได้รับเชิญจากอธิบดีกรมการข้าว
เพื่อมาอบรมการพัฒนาสายพันธุ์ข้าวในไทย ซึ่งมีความก้าวหน้ามากเพราะเราสามารถอบรมผู้ชานาญใน
ด้านนี้กว่า 200 คน และมีฐานของพันธุ์ข้าวมากกว่าร้อยสายพันธุ์ที่นายตี๋เคยรวบรวมไว้ ทั้งสองปัจจัยนี้
คือสิ่งสาคัญที่เมื่อกระแสปฏิวัติเขียวแพร่เข้าสู่ประเทศไทยแล้ว ทาให้เราได้พันธุ์ข้าวที่มีผลผลิตสูงและ
รสชาติดี ต่างชาติอื่นที่ได้เพียงพันธุ์ข้าวที่มีผลผลิตสูงเท่านั้น เราจึงเป็นชาติที่ขึ้นชื่อเรื่องข้าวในระดับโลก
ได้สาเร็จ
ดังที่กล่าวแล้วว่าประวัติศาสตร์โลกและประวัติศาสตร์ไทยได้พิสูจน์ว่าทุนนิยมคือแนวทางที่ดี
ที่สุดในการยกระดับคุณภาพชีวิต แต่ไม่สามารถประกันได้ว่าทุกคนจะได้รับความเป็นอยู่ที่ดีโดยเสมอ
ภาคกัน ตลาดทุนนิยมเสรีไม่สามารถป้องกันการผูกขาดตลาดและการขูดรีดทรัพยากรได้ แล้วไทยต้อง
ปรับตัวอย่างไรจึงจะได้รับประโยชน์จากทุนนิยมอย่างแท้จริง ?
ในอดีตเมืองเวนิซถือเป็นเมืองต้นแบบแห่งศูนย์กลางของทุนนิยมโลก เพราะมีสถาบันและ
กฎระเบียบที่เอื้อให้การค้าเสรีเป็นไปโดยราบรื่นดังที่ Jacques Martin Barzun นักประวัติศาสตร์ผู้มี
ชื่อเสียงระบุว่าเมืองเวนิซนั้น “มีผู้ตรวจตราเหรียญกษาปณ์ว่ามีน้าหนักและมูลค่าที่ถูกต้อง มี
อนุญาโตตุลาการคอยไกล่เกลี่ยข้อขัดแย้งทางการค้าและรับเรื่องร้องทุกข์ของคนฝึกงาน มีเจ้าหน้าที่
ตรวจพิจารณาป้ายร้านค้า ร้านสุราตลอดจนงานฝีมือต่างๆ มีคนกาหนดค่าจ้างและคนจัดเก็บภาษีที่
เคร่งครัด...ไม่ว่าจะเป็นข้าราชการ วุฒิสมาชิกหรือรัฐมนตรีต่างก็จะต้องได้รับการฝึกฝนอย่างรอบคอบ
กฎหมายทุกฉบับ บัญชีทุกฉบับจะถูกตรวจซ้าแล้วซ้าอีกเพื่อความถูกต้อง” (J. Barzum, 2000.) หาก
ไทยจะเข้าร่วมแข่งขันในเวทีทุนนิยมโลก ต้องหันกลับมาถามตัวเองว่าเรามีสถาบันที่คอยกาหนดกติกา
เหล่านี้หรือไม่ ? การค้าเสรีภายใต้ระบบทุนนิยมไม่อาจเติบโตและทางานให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมได้
หากปล่อยให้ค้าขายตามใจชอบ (laissez faire) แบบปราศจากกติกาและการกากับดูแลของรัฐ ตลาดจะ
ทางานได้ต่อเมื่อมีสถาบันที่ไม่ใช่ตลาดรองรับ เช่น กฎหมายแพ่งพาณิชย์ ประมวลรัษฎากร การกากับ
การซื้อขายหลักทรัพย์ กฎหมายด้านสาธารณสุขและความปลอดภัย กฎหมายประกันสังคม ระบบ
ราชการแบบมืออาชีพ และการเมืองแบบประชาธิปไตย ฉะนั้นการมีสถาบัน (institution) อันหมายถึง
กติกากาหนดแรงจูงใจ (incentives) ข้อจากัด (constraints) และองค์กร (organization) จึงจาเป็นต้องมี
9 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
ขึ้นเพื่อป้องกันหรือบรรเทาปัญหาดังกล่าวที่อาจเกิดได้ ทุนนิยมจึงสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตได้อย่าง
แท้จริงและยั่งยืน
เมื่อทุนนิยมในปัจจุบันมีลักษณะที่เชื่อมโยงถึงกันในระดับโลก แล้วเราจะปฏิเสธตลาดโลกได้
หรือ? ในปัจจุบันรัฐบาลกาลังเน้นไปที่การพึ่งพาตลาดภายในประเทศอย่างมากซึ่งเป็นการวาง
ยุทธศาสตร์ที่ไม่เหมาะสม เนื่องจากตลาดในประเทศมีขนาดเล็กเกินไป อีกทั้งกาลังอยู่ในภาวะซบเซา
เนื่องจากภาวะหนี้ครัวเรือนที่สูงขึ้นมาตลอด ในปัจจุบันหนี้เพิ่มสูงถึง 85% ของรายได้ครัวเรือนแล้วทา
ให้ประชาชนลดการใช้จ่ายลง เราไม่สามารถหวังการพึ่งพาตลาดในประเทศเป็นหลักเช่นเดียวกับ
ประเทศที่มีขนาดอุปสงค์ภายในที่ใหญ่ เช่น จีน รัสเซีย สหรัฐอเมริกา อินเดีย หรือ บราซิล ได้ เพราะเรา
ไม่ได้มีจานวนประชากรมากมายนักอีกทั้งอัตราการเกิดก็ลดลงเรื่อย ๆ อีกทั้งตลาดภายในประเทศยังถูก
ครอบงาโดยกลุ่มทุนรายใหญ่อีกด้วย แม้จะมีแนวนโยบายที่จะยกระดับตลาดในประเทศก็ควรระวังว่าจะ
เป็นการเสียงบประมาณโดยเปล่าประโยชน์ การขยายขนาดตลาดภายในประเทศเพื่อใช้เป็นกลไกพัฒนา
เศรษฐกิจนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย ประเทศที่กาลังมีปัญหานี้คือจีน ขณะนี้หลายจังหวัดของจีนเจริญขึ้นอย่าง
มาก แต่รัฐบาลกลางกาลังมีปัญหาเรื่องการกระจายความเจริญ แม้รัฐบาลจะทุ่มงบประมาณมหาศาลเพื่อ
อัดฉีดเศรษฐกิจในจังหวัดยากจนแต่ก็ยังไม่สาเร็จนัก เพราะความต้องการสินค้าหลายประเภทนั้นลดลง
ทาให้ตาแหน่งงานลดลงไปด้วย
เมื่อพิจารณาตัวเลขการส่งออกแล้วจะเห็นว่าตลาดโลกนั้นคือแหล่งที่จะนามาซึ่งความมั่งคั่งแก่
ไทย โดยที่มูลค่าของสินค้าที่ส่งออกไปขายยังต่างประเทศอยู่ที่ 120% เมื่อเทียบกับมูลค่าที่เกิดขึ้น
ภายในประเทศ ซึ่งนี่ไม่ใช่ตัวเลขที่มากมายนัก ยังน้อยกว่าสิงคโปร์ที่อยู่ราว 300% ฉะนั้นยังมีความ
เป็นไปได้ที่เราจะเพิ่มมูลค่าการส่งออกให้มากขึ้น แต่การจะค้าขายในตลาดโลกให้ได้ดีเช่นสิงคโปร์นั้น
จาเป็นต้องมีการพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ อยู่เสมอ ซึ่งนี่เป็นข้อจากัดของคนไทยที่เรายังทุ่มเททรัพยากร
เพื่อการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมน้อยเกินไป
ประเด็นต่อมาคือแรงงานไทยกว่า 60% ยังอยู่ในภาคเศรษฐกิจตามอัธยาศัย (informal sector)
อันได้แก่กลุ่มคนที่มีรายได้ไม่ประจา ซึ่งมีคนกลุ่มน้อยในภาคนี้เท่านั้นที่จะมีรายได้มั่นคงและเพียงพอ
ฉะนั้นรัฐบาลต้องมีการวางแผนเพื่อเพิ่มตาแหน่งงานที่มีรายได้ประจา (formal sector) ที่มีความมั่นคง มี
ผลิตภาพและรายได้สูง มิใช่เน้นการสร้างผู้ประกอบการซึ่งไม่ใช่งานที่เหมาะกับคนส่วนใหญ่ อีกประการ
คืออาชีพในกลุ่มเกษตรกรรมที่คนไทยกว่า 32% ทาอยู่นั้นกลับสร้างรายได้เพียง 10% เพราะเกษตรกร
ส่วนใหญ่เข้าไม่ถึงปัจจัยและทรัพยากรที่ทาให้เกษตรกรรมสามารถสร้างรายได้เพียงพอ ไม่มีที่ดินและ
ระบบชลประทานที่เหมาะสม ซึ่งทางแก้ที่เป็นไปได้เพื่อเพิ่มรายได้ประชากรและในขณะเดียวกันยังรักษา
10 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
ความมั่นคงทางอาหารไว้ คือการย้ายคนออกนอกภาคการเกษตรไปสู่ภาคอาชีพอื่น ๆ และเพิ่มผลผลิต
ในภาคการเกษตรให้มากขึ้นโดยใช้เทคโนโลยีเป็นตัวช่วยเพื่อที่เราจะสามารถรักษาความมั่นคงทาง
อาหารให้ได้ดังเดิม ซึ่งในแง่ปฏิบัติเกษตรกรจะดิ้นรนทาโดยตัวเองได้ยาก และภาครัฐส่วนกลางเองก็เข้า
ไม่ถึงเกษตรกรเท่าใดนัก ฉะนั้นจาเป็นที่รัฐต้องสนับสนุนการกระจายอานาจไปยังพื้นที่ชนบทอย่างค่อย
เป็นค่อยไป เพื่อทาให้ทรัพยากรของรัฐถูกบริหารจัดการเพื่อเป็นประโยชน์แก่ประชาชนรากหญ้าอย่าง
แท้จริงโดยชุมชนท้องถิ่นที่เข้าใจปัญหาอย่างลึกซึ้ง
ทุกวันนี้กระบวนการออกนโยบายมักเป็นการรวมศูนย์ตัดสินใจโดยส่วนกลาง มีลักษณะเป็น
“Bangkok biased” ที่กระบวนการทั้งหมดเกิดขึ้นและจบลงในเมืองหลวง โดยข้าราชการระดับสูงที่ขาด
ความเข้าใจในบริบทของท้องถิ่นของต่างจังหวัด ระบบไม่เปิดโอกาสให้ท้องถิ่นกาหนดนโยบายพัฒนา
พื้นที่ตัวเอง จะมีเพียงหน้าที่การสนองนโยบายด้วยการนามาปฏิบัติเท่านั้น ซึ่งบ้างก็สาเร็จด้วยดี บ้างก็
ไม่สาเร็จตามแผนที่วางไว้ บางครั้งเมื่อหน่วยงานท้องถิ่นเห็นว่าบางนโยบายจากส่วนกลางไม่เหมาะสม
กับการปฏิบัติก็จะมีการคืนงบประมาณส่วนนั้นไปได้ แต่เป็นส่วนน้อยเท่านั้นที่จะคานึงถึงความเหมาะสม
ของนโยบาย โดยมากแล้วจะเป็นการทาให้เสร็จสิ้นไปตามที่ได้รับมอบหมายเท่านั้น
การกระจายอานาจจะสาเร็จต่อเมื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอิสระในการตัดสินใจ ปัจจุบัน
เราไม่มี local government อันหมายถึงหน่วยงานท้องถิ่นสามารถกาหนดนโยบายได้เอง มีเงินภาษีที่
เรียกเก็บเองเพื่อนามาใช้พัฒนาท้องถิ่น จะมีเพียง local rural administration หรือหน่วยงานที่คอยรับ
นโยบายจากส่วนกลางเพื่อนามาปฏิบัติเท่านั้น หากยังเป็นแบบนี้ต่อไปภาคส่วนท้องถิ่นก็จะเคยชินกับ
การเป็น“ฝ่ายรับ”นโยบายจากคนนอกพื้นที่ต่อไป จนไม่คิดจะเป็น“ฝ่ายรุก”แก้ปัญหาท้องถิ่นตัวเองด้วย
ตัวเอง
แต่อานาจในการตัดสินใจด้านนโยบายอย่างเดียวไม่เพียงพอที่จะทาให้เกิดผลในภาคปฏิบัติได้
ต้องเพิ่มขีดความสามารถแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มากขึ้นทั้งด้านบุคลากรและงบประมาณ ซึ่ง
ต้องอาศัยอานาจทางกฎหมายและเครื่องมือด้านภาษีเป็นตัวช่วย เช่น การยุบรวมองค์การบริหารท้องถิ่น
ที่มีขนาดเล็กเข้าไว้ด้วยกันเพื่อทาให้เกิดการทรัพยากรร่วมกันได้อย่างคุ้มค่ามากขึ้น การเก็บภาษีที่ดิน
ซึ่งจะกลายเป็นแหล่งงบประมาณสาคัญอีกทางหนึ่ง อย่างไรก็ตามจาเป็นต้องมีการประชาสัมพันธ์ให้
ประชาชนให้เข้าใจอย่างแท้จริงว่าเป็นเรื่องเหมาะสมแล้วที่จะมีการเรียกเก็บภาษี เพราะที่ดินซึ่งใช้
ประโยชน์ได้นั้นจาเป็นต้องพึ่งสาธารณูปโภคพื้นฐานจากภาครัฐทั้งสิ้น
11 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
ระบบการเก็บภาษีในปัจจุบันที่เงินภาษีของประชาชนจะถูกส่งมายังส่วนกลางก่อน ภายหลังจึง
ส่งงบประมาณจากส่วนกลางลงไปยังท้องถิ่นอีกครั้งหนึ่ง เช่นนี้แล้วประชาชนย่อมรู้สึกว่างบประมาณ
เหล่านี้ไม่ใช่เงินของตัวเองหากแต่เป็นเงินของรัฐบาล เมื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเกิดการทุจริตหรือ
ใช้งบประมาณอย่างไม่มีประสิทธิภาพประชาชนจึงไม่สนใจจะตรวจสอบ ฉะนั้นต้องมีการปรับปรุง
กฎหมายให้เงินภาษีจากท้องถิ่นถูกนาไปใช้เพื่อท้องถิ่นโดยตรง เพื่อสร้างความรู้สึกร่วมในความเป็น
เจ้าของงบประมาณแก่ประชาชน เช่นนี้แล้วธรรมาภิบาลอันหมายถึงการปกครองอย่างเป็นธรรมจึงจะ
เกิดขึ้นภายใต้การกากับดูแลของประชาชน
เมื่อใดที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอิสระในการออกนโยบาย มีงบประมาณเพียงพอ มีการ
ตรวจสอบจากภาคประชาชนอย่างต่อเนื่อง จะทาให้การบริหารท้องถิ่นอย่างบูรณาการเป็นไปได้ ทุกวันนี้
เราประสบปัญหาการบริหารอย่างแยกส่วน เช่นกรณีการบริหารจัดการน้าที่มีหลายหน่วยงานเข้ามาดูแล
กลุ่มผู้ใช้น้าโดยกรมทรัพยากรน้าดูแลน้าในระบบชลประทาน กรมควบคุมมลพิษเป็นผู้ดูแลน้าเสีย
องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นดูแลเมื่อเกิดน้าท่วม หากจะโอนย้ายให้ท้องถิ่นเป็นผู้ดูแลทั้งหมดก็ต้องเพิ่ม
อานาจทางกฎหมายและเพิ่มงบประมาณเสียก่อน จึงจะสามารถบริหารน้าอย่างบูรณาการได้อย่างแท้จริง
แน่นอนว่าการยกระดับการปกครองท้องถิ่นย่อมไม่สามารถทาได้อย่างสมบูรณ์ในเวลาอันสั้น อย่างน้อย
ที่สุดรัฐบาลต้องคอยเป็นพี่เลี้ยงประคับประคองการกระจายอานาจนี้จนกว่าจะสาเร็จ
สรุปบทเรียนจากการพัฒนาเศรษฐกิจของไทยในอดีตและข้อเสนอการพัฒนาที่สาคัญ
1.การสร้างสถาบันเพื่อจัดการนโยบายเศรษฐกิจ: กรณีโครงการพัฒนาชายฝั่งทะเล
ตะวันออก
ตลอดมาเราแทบไม่สนใจเรื่องการสร้างสถาบันด้านการบริหารจัดการนโยบาย ยังคงใช้สถาบัน
ดั้งเดิมในการจัดการนโยบาย เช่น การตั้งคณะกรรมการ super board เพื่อบูรณาการการทางาน การใช้
สถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ ฯลฯ ซึ่งสถาบันในลักษณะนี้ที่มีจานวนมากไม่ตอบโจทย์การพัฒนา
เศรษฐกิจเพราะไม่ใช่สถาบันที่มีความสมบูรณ์พร้อม มีความซ้าซ้อน ไม่มีประสิทธิภาพ ไม่มีการ
ประเมินผลอย่างจริงจัง และมักมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานซึ่งในท้ายที่สุดแล้วด้วยภารกิจที่มีทาให้
นายกรัฐมนตรีไม่สามารถมาร่วมประชุมได้
แล้วสถาบันจาเป็นอย่างไร ? เมื่อเรามองย้อนไปในอดีตแล้วจะเห็นว่าความสาเร็จในการพัฒนา
ทางเศรษฐกิจล้วนแต่เกิดจากการสร้างสถาบันการจัดการนโยบายและการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน
12 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
เช่น ในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์ทรงเลิกทาส รวมศูนย์การบริหารราชการ ในสมัยจอมพลสฤษดิ์มีการ
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานครั้งใหญ่ตามแนวนโยบาย “น้าไหล ไฟสว่าง มีงานทา” ในยุค พ.อ.เปรม ติณสู
ลานนท์ ทาโครงการขนาดใหญ่คือนโยบายพัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันออก ซึ่งเป็นก้าวสาคัญที่ยกระดับ
อุตสาหกรรมของไทย และจะกล่าวต่อไปว่าโครงการนี้มีบทเรียนอะไรที่นามาปรับใช้แก่การพัฒนา
เศรษฐกิจในปัจจุบัน โดยเฉพาะกับนโยบาย 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายของรัฐบาล
10 อุตสาหกรรมเป้าหมายคือ กลุ่มอุตสาหกรรม 10 ประเภทที่มีศักยภาพในการเติบโตที่ดี โดย
แผนพัฒนาเศรษฐกิจ 10 อุตสาหกรรมนี้มาจากข้อเสนอของบริษัทที่ปรึกษาทางธุรกิจ McKinsey &
Company ที่ได้ศึกษาและรวบรวมข้อเสนอจาก 80 บริษัทชั้นนาระดับโลก โดยมี 5 ประเภทที่เป็น
อุตสาหกรรมเดิมซึ่งเป็นจุดแข็งของไทย ได้แก่
1) อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ (Next – Generation Automotive)
2) อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (Smart Electronics)
3) อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Affluent,
Medical and Wellness Tourism)
4) การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ (Agriculture and Biotechnology)
5) อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร (Food for the Future)
และอีก 5 ประเภทคือกลุ่มอุตสาหกรรมใหม่ที่สามารถต่อยอดจากฐานอุตสาหกรรมเดิมได้ หาก
ตั้งเป้าหมายว่าไทยจะสามารถยกระดับรายได้ให้พ้นจากประเทศปานกลาง จาเป็นต้องต้องพึ่ง
อุตสาหกรรมใหม่เหล่านี้ ได้แก่
1) อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ (Robotics)
2) อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ (Aviation and Logistics)
3) อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ (Biofuels and Biochemicals)
4) อุตสาหกรรมดิจิตอล (Digital)
5) อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร (Medical Hub)
โดยรัฐบาลหวังว่าอุตสาหกรรม 10 ประเทศนี้จะกลายเป็นกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยให้
เติบโตอย่างยั่งยืนในอนาคต ฉะนั้นจะต้องมีการลงทุนครั้งมหาศาลทั้งจากภาครัฐและเอกชน โดยภาครัฐ
ต้องทุ่มงบประมาณทุกปีอย่างน้อย 10% ของ GDP ซึ่งไม่ใช่ตัวเลขที่สูงจนเกินไปเพราะรัฐเคยลงทุนถึง
ราว 30-40% ของ GDP มาแล้ว
ในส่วนของการบริหารจัดการนโยบายนั้นรัฐบาลพยายามถอดแบบมาจากนโยบายพัฒนา
ชายฝั่งทะเลตะวันออก อย่างไรก็ตามเพียงการจัดโครงสร้างการบริหารงานให้เหมือนกันมิได้หมายรวม
13 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
ว่าจะประสบความสาเร็จเหมือนกัน จาเป็นต้องต้องพิจารณาหลายปัจจัยที่เป็นบริบทของยุคนั้น
ประกอบด้วย ซึ่งสามารถพิจารณาได้ใน 8 ด้านด้วยกัน
1) ประสบการณ์จากการจัดทานโยบายพัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันออก 8 ด้าน
ภาวะเศรษฐกิจและการเมือง: เศรษฐกิจถดถอยอย่างหนัก เกิดภาวะขาดดุล
งบประมาณและดุลชาระเงิน ในบางเดือนรัฐบาลแทบไม่เหลืองบประมาณเพื่อจ่ายเป็น
เงินเดือนข้าราชการ ในภาคเอกชนก็ประสบปัญหาเช่นเดียวกัน เพราะราคาสินค้า
เกษตรตกต่าเป็นระยะเวลานานตลอดทศวรรษ 1980 เนื่องจากภาวะฝนแล้ง นอกจากนี้
ยังมีวิกฤติด้านพลังงานทาให้รัฐบาลออกนโยบายปิดสถานีโทรทัศน์ช่วงเวลา 18.30 น. –
20.00 น. ซึ่งปัญหาเหล่านี้เองเป็นแรงกดดันสาคัญให้รัฐบาลต้องหายุทธศาสตร์พัฒนา
ใหม่เพื่อกู้วิกฤติเศรษฐกิจ แต่ไทยก็ยังพอมีจุดแข็งอยู่บ้างในเรื่องตลาดการค้าเสรีที่
ก้าวหน้ากว่าชาติอาเซียนหลายชาติที่ผ่านพ้นยุคคอมมิวนิสต์มาไม่นาน ทาให้นักลงทุน
ต่างชาติเลือกที่จะสร้างโรงงานในประเทศไทยแทนที่จะเป็นประเทศเพื่อนบ้าน แต่วันนี้
ประเทศเพื่อนบ้านได้ปรับตัวสู่ตลาดเสรีแล้วและพร้อมเป็นคู่แข่งกับไทยในการดึงดูดนัก
ลงทุนต่างชาติ ส่วนในแง่การเมือง พ.อ.เปรม มีอานาจค่อนข้างมากในการกาหนด
นโยบายเนื่องจากเป็นยุคประชาธิปไตยครึ่งใบ
ยุทธศาสตร์ใหม่: เน้นการส่งเสริมการผลิตและส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงาน
เข้มข้น(ใช้แรงงานจานวนมาก) ซึ่งส่งผลดีต่อการจ้างงานแก่แรงงานที่มีวุฒิการศึกษาต่า
ให้มีทางเลือกอื่นนอกจากภาคการเกษตรที่ไม่มีความมั่นคงแน่นอนและสร้างรายได้ไม่
เพียงพอ อีกทั้งยังเป็นการทดแทนการนาเข้าสินค้าอีกด้วย ทาให้ลดการเสียดุลการค้า
กับต่างชาติ
การบูรณาการ: บูรณาการการทางานของหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง เกิดเป็นระบบการ
ทางานที่เชื่อมประสานกันระหว่าง สภาพัฒน์ฯ กระทรวงคมนาคม กระทรวง
อุตสาหกรรม และกระทรวงการคลัง เป็นปัจจัยสาคัญที่เอื้อให้การทางานเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ อีกตัวอย่างหนึ่งที่น่าสนใจคือนโยบาย Visit Thailand Year ซึ่งเกิด
การบูรณาการระหว่างหลายหน่วยงาน เช่น สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
(BOI) กระทรวงต่างประเทศ กรมตารวจ สานักงานตรวจคนเข้าเมือง กระทรวงคมนาคม
จนเราสามารถแก้ไขปัญหาหลายอย่างซึ่งเป็นต้นแบบให้ชาติในอาเซียนได้เรียนรู้ ไม่ว่า
จะเป็นความล่าช้าในการผ่านด่านตรวจคนเข้าเมือง การก่อคดีจี้ปล้น โรงแรมที่ไม่ได้
มาตรฐาน ทั้งหมดนี้เป็นความสาเร็จที่เกิดขึ้นอย่างเป็นกระบวนการผ่านการบูรณาการ
ของหน่วยงานราชการต่าง ๆ
14 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
คุณภาพ technocrats: จุดแข็งของรัฐบาลยุคนั้นคือการมี technocrats ซึ่งหมายถึง
ข้าราชการที่มีความรู้ความสามารถสูงอยู่หลายท่าน เช่น ข้าราชการจากสภาพัฒน์ฯ
ได้แก่ ดร.เสนาะ อูนากูล ผู้เป็นทั้ง “สถาปนิก” และ “ผู้ประสานงาน” ของโครงการ นาย
โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ ดร.สาวิตร โพธิวิหค และ ดร. พิสิฐ ลี้อาธรรม ปลัดกระทรวงการคลัง
มรว.จตุมงคล โสณกุล ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม นายศิววงศ์ จังคศิริ และมี พ.อ.เปรม
คอยกากับโครงการอยู่อีกขั้นหนึ่ง ซึ่งยากจะหาบุคลากรที่มีคุณภาพเช่นนี้ได้อีกใน
ปัจจุบัน
แหล่งเงินทุน: ไทยได้รับเงินกู้จากกองทุนความร่วมมือทางเศรษฐกิจโพ้นทะเลแห่ง
ญี่ปุ่น (OECF) ซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยที่ต่า และข้อดีอีกประการคือทางผู้ให้กู้ได้ทาการ
ประเมินการใช้เงินกู้อย่างละเอียด ทาให้การบริหารงบประมาณเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ ซึ่งการประเมินการใช้งบประมาณควรเป็นหน้าที่ที่สานักงานการตรวจเงิน
แผ่นดิน (สตง.) ทาอย่างต่อเนื่อง มิใช่เพียงการตรวจสอบการทุจริตเท่านั้น การประเมิน
ความคุ้มค่าในการใช้งบประมาณนี่เองที่เป็นจุดแข็งของภาคเอกชนซึ่งภาครัฐควรนามา
ปรับใช้ด้วยเช่นกัน
การลงทุน: ภาครัฐเป็นผู้นาการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานโดยมีภาคเอกชนเป็นผู้
สมทบ เราไม่ได้มีเพียงท่าเรือแหลมฉบับและมาบตะพุดซึ่งเป็นของรัฐเท่านั้นแต่เรายังมี
ท่าเรือของเอกชนด้วย และยังมีรูปแบบการลงทุนที่รัฐและเอกชนร่วมลงขันกัน เช่น
บริษัทปิโตรเคมีแห่งชาติ ซึ่งนับเป็นก้าวแรกที่สาคัญของการร่วมมือระหว่างรัฐและ
เอกชน การขนส่งทางบกผ่านถนนและทางรถไฟมีพัฒนาการที่ล่าช้าแต่ก็ยังได้รับการ
พัฒนาเรื่อยมา ในด้านการขนส่งทางอากาศรัฐสร้างสนามบินสุวรรณภูมิเพื่อหวังเป็น
ช่องทางในการขนส่งสินค้า แต่ระยะแรกในขณะที่ยังก่อสร้างไม่เสร็จสิ้น รัฐบาลมีแผนจะ
ขอใช้สนามบินอู่ตะเภาจากทหารเรือแต่ไม่ได้รับการยินยอม จึงต้องสร้างนิคม
อุตสาหกรรมขึ้นที่อยุธยาเนื่องจากสะดวกต่อการขนส่งมากกว่า การขนส่งทางอากาศมี
ความสาคัญต่อการตั้งโรงงานมาก เพราะชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่ต้องนาเข้าจาก
ต่างประเทศจาเป็นต้องได้รับการขนส่งอย่างรวดเร็ว การที่นิคมอุตสาหกรรมนี้ตั้งอยู่ใน
บริเวณซึ่งที่ดินราคาถูก และอยู่นอกกรุงเทพฯและปริมณฑลซึ่งค่าแรงขั้นต่าไม่สูงนัก จึง
เป็นตัวดึงดูดให้ต่างชาติเข้ามาลงทุนโดยเฉพาะบริษัทสัญชาติญี่ปุ่น แต่ข้อเสียของการ
ตั้งนิคมอุตสาหกรรมขึ้นที่นี่คือปัญหาเรื่องน้าท่วมเพราะเป็นพื้นที่ต่า ปีใดฝนตกมากก็จะ
กลายเป็นพื้นที่รับน้า อย่างไรก็ตามภาคตะวันออกนั้นมีน้าไม่มากนัก เมื่อมีอุตสาหกรรม
ก็ต้องมีการจัดหาแหล่งน้า แต่ในปัจจุบันกลายเป็นการไปแย่งน้ามาจากภาคเกษตรกรรม
15 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
การพัฒนาสาธารณูปการในนิคมอุตสาหกรรมล่าช้ามาก พึ่งมีการพัฒนาอย่างจริงจังใน
สมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ที่เป็นปัญหาที่สุดคือการป้องกันมลพิษที่ล้มเหลว แม้จะมีเขตกันชน
เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของมลพิษแต่สุดท้ายเนื่องด้วยการแทรกแซงจากการเมือง
ทาให้เขตกันชนนี้ถูกยกเลิก จะเห็นได้ว่าการพัฒนาเฉพาะพื้นที่ที่กาหนดโดยพัฒนา
อย่างรอบด้านไม่ว่าจะเป็นการขนส่งคมนาคม สาธารณูปการและสาธารณูปโภคต่าง ๆ
ทาให้ในปัจจุบันพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมชายฝั่งทะเลตะวันออก กลายเป็นแหล่งสร้าง
รายได้สาคัญแก่ประชาชนในพื้นที่ซึ่งทัดเทียมกับรายได้ของประชากรในกรุงเทพฯ
แรงงาน: มีแรงงานเพียงพอต่อความต้องการเนื่องจากมีแรงงานจานวนมากที่ย้ายมา
จากภาคชนบทเข้าสู่นิคมอุตสาหกรรม แต่ภายหลังเกิดปัญหาขาดแคลนแรงงานที่มา
จากภาคอาชีวศึกษาและสายอาชีพวิศวกร รัฐบาลจึงแก้ปัญหาด้วยการสร้างโรงเรียนและ
มหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้น
การขับเคลื่อนโครงการ: จุดเด่นของรัฐบาลในยุคนั้นคือการมีนายกรัฐมนตรีคนเดียว
อยู่ในตาแหน่งต่อเนื่อง 9 ปี (มีนาคม 2523-สิงหาคม 2531) และกลุ่มข้าราชการที่ดูแล
โครงการก็เป็นกลุ่มเดิม ทาให้มีความต่อเนื่องในการบริหารโครงการ ไทยใช้เวลาเจรจา
กับรัฐบาลญี่ปุ่นอย่างต่อเนื่องอยู่หลายปี รวมทั้งมีการเจรจากับหอการค้าและภาคเอกชน
ญี่ปุ่นด้วย โดยมีการจัดทาแผนและปรับปรุงแผนเสนอไปยังญี่ปุ่นหลายครั้งจนสาเร็จใน
ที่สุด ส่วนกระแสต่อต้านจากภายในประเทศนั้น พ.อ.เปรมวางยุทธศาสตร์ให้โฆษก
รัฐบาลและปลัดกระทรวงมหาดไทยในขณะนั้นเป็นผู้รับหน้าไว้ เพื่อให้รัฐบาลสามารถ
ดาเนินงานต่อไปได้โดยลดแรงเสียดทานให้เหลือน้อยที่สุด
2) ปัจจัยแวดล้อมด้านการจัดทานโยบาย 10 อุตสาหกรรม
บริบททั้งแปดด้านที่กล่าวมาข้างต้น คือบริบทของนโยบายพัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันออก
ที่ทาให้โครงการดังกล่าวประสบความสาเร็จ ซึ่งเราสามารถนามาเทียบกับบริบทปัจจุบันที่
รัฐบาลจะดาเนินโครงการ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายได้ดังนี้
ภาวะเศรษฐกิจและการเมือง: มีแรงกดดันคล้ายคลึงกันจากภาวะเศรษฐกิจตกต่า แต่
ที่ต่างออกไปคือเราไม่ได้มีจุดเด่นเรื่องการค้าเสรีและเข้าถึงทุนนิยมมากกว่าชาติเพื่อน
บ้านเหมือนในยุครัฐบาล พ.อ.เปรม อีกแล้ว และโชคยังดีที่ความตกลงหุ้นส่วน
ยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (TPP) ที่เวียดนามและมาเลเซียเข้าร่วมนั้นมี
แนวโน้มที่จะล้มเหลว ซึ่งหากความตกลงนี้บรรลุด้วยดีไทยจะเสียเปรียบมากเพราะ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559Klangpanya
 
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...Klangpanya
 
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนKlangpanya
 
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020Klangpanya
 
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558 World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558 Klangpanya
 
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558Klangpanya
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางUSMAN WAJI
 
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว  บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว USMAN WAJI
 
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558Klangpanya
 
OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่ายุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่าKlangpanya
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559Klangpanya
 
World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560
World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560
World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560Klangpanya
 
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560Klangpanya
 
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...Klangpanya
 
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v12013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1Nopporn Thepsithar
 
World Think Tank Monitor ฉบับที่ 25 ประจำเดือนกันยายน 2560
World Think Tank Monitor ฉบับที่ 25 ประจำเดือนกันยายน 2560World Think Tank Monitor ฉบับที่ 25 ประจำเดือนกันยายน 2560
World Think Tank Monitor ฉบับที่ 25 ประจำเดือนกันยายน 2560Klangpanya
 

La actualidad más candente (19)

World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
 
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
 
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
 
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
 
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
 
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558 World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
 
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว  บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
 
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
 
OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559
 
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่ายุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
 
World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560
World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560
World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560
 
หลักประกันคุณภาพการศึกษา(Tqf)
หลักประกันคุณภาพการศึกษา(Tqf)หลักประกันคุณภาพการศึกษา(Tqf)
หลักประกันคุณภาพการศึกษา(Tqf)
 
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
 
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
 
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v12013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
 
World Think Tank Monitor ฉบับที่ 25 ประจำเดือนกันยายน 2560
World Think Tank Monitor ฉบับที่ 25 ประจำเดือนกันยายน 2560World Think Tank Monitor ฉบับที่ 25 ประจำเดือนกันยายน 2560
World Think Tank Monitor ฉบับที่ 25 ประจำเดือนกันยายน 2560
 

Similar a ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ

การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิมการผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิมKlangpanya
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559Klangpanya
 
Still coldwar
Still coldwarStill coldwar
Still coldwarTeeranan
 
ทางข้ามเหว : แนวคิดสำหรับแก้วิกฤติไทย
ทางข้ามเหว : แนวคิดสำหรับแก้วิกฤติไทยทางข้ามเหว : แนวคิดสำหรับแก้วิกฤติไทย
ทางข้ามเหว : แนวคิดสำหรับแก้วิกฤติไทยWiseKnow Thailand
 
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ... ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...Klangpanya
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางKlangpanya
 
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559Klangpanya
 
Term paper ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจระหว่างสหรัฐกับรัสเซียในสมัยโอบาม่า
Term paper ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจระหว่างสหรัฐกับรัสเซียในสมัยโอบาม่าTerm paper ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจระหว่างสหรัฐกับรัสเซียในสมัยโอบาม่า
Term paper ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจระหว่างสหรัฐกับรัสเซียในสมัยโอบาม่าNoppharat Thong-urai
 
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาThammasat University
 

Similar a ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ (11)

การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิมการผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
 
Still coldwar
Still coldwarStill coldwar
Still coldwar
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
ทางข้ามเหว : แนวคิดสำหรับแก้วิกฤติไทย
ทางข้ามเหว : แนวคิดสำหรับแก้วิกฤติไทยทางข้ามเหว : แนวคิดสำหรับแก้วิกฤติไทย
ทางข้ามเหว : แนวคิดสำหรับแก้วิกฤติไทย
 
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ... ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
 
Term paper ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจระหว่างสหรัฐกับรัสเซียในสมัยโอบาม่า
Term paper ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจระหว่างสหรัฐกับรัสเซียในสมัยโอบาม่าTerm paper ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจระหว่างสหรัฐกับรัสเซียในสมัยโอบาม่า
Term paper ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจระหว่างสหรัฐกับรัสเซียในสมัยโอบาม่า
 
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
 
กุดชุม
กุดชุมกุดชุม
กุดชุม
 

Más de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Más de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ

  • 2. การประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 3 ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ จัดโดย สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 12 ตุลาคม 2559 รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขต จตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864 บรรณาธิการ: ยุวดี คาดการณ์ไกล ถอดความและเรียบเรียง : อุสมาน วาจิ ผู้ช่วยบรรณาธิการ : ปลายฟ้า บุนนาค และ ปาณัท ทองพ่วง เผยแพร่: พฤศจิกายน 2559
  • 3. สารบัญ หน้า บทนา ส่วนที่ 1 ภาพรวมเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน 1 และการสร้างสถาบันเพื่อจัดการนโยบายเศรษฐกิจ 1. เศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน ปีหน้า และผลต่อเศรษฐกิจไทย 2 2. ปัญหาสาคัญของเศรษฐกิจไทยในระยะกลาง-ยาว 4 3. แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจไทย 7 1) การสร้างสถาบันเพื่อจัดการนโยบายเศรษฐกิจ : 13 กรณีโครงการพัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันออก 2) บทบาทของรัฐกับการเลือกผู้ชนะ (Picking the winners) 17 3) ทาอย่างไรให้ไทยน่าลงทุน 18 ส่วนที่ 2 บทสรุป 21 ส่วนที่ 3 บทอภิปราย 23 ข้อคิดเห็นจากผู้ร่วมประชุม 24 ภาคผนวก รายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม 28 แผนภาพนาเสนอ 29
  • 4. บทนา ปัญหาสาคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจไทยคือการขาดการบริหารนโยบายเศรษฐกิจเชิงองค์รวม และต่อเนื่อง ที่ผ่านมารัฐบาลมักจะเน้นการดาเนินนโยบายในระยะสั้นเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้า แต่หาก ต้องการพัฒนาเศรษฐกิจของไทยให้มีความมั่นคงและมั่งคั่ง จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องก่อตั้ง“สถาบันเพื่อ จัดการนโยบายเศรษฐกิจ”เพื่อให้การแก้ปัญหาเศรษฐกิจเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดการบูรณาการ และมีความต่อเนื่อง วันพุธที่ 12 ตุลาคม 2559 ที่ผ่านมา สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้จัดเวทีระดม สมอง เรื่อง ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ณ ห้องประชุมมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร โดยได้รับเกียรติจากผู้ทรงคุณวุฒิในหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคนักวิชาการ อาทิ ศ.นพ.ประเวศ วะสี ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ อธิการวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต รศ.วิวัฒน์ มุ่งการดี อดีตที่ปรึกษา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นพ.สมศักดิ์ชุณหรัศมิ์อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงสาธารณสุข พล.ท.เจิดวุธ คราประยูร รองผู้บัญชาการสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ คุณ ปรีดา เตียสุวรรณ์ กรรมการมูลนิธิพฤษภาประชาธรรม และผู้ทรงคุณวุฒิอีกหลายท่าน เข้าร่วมรับฟัง ข้อเสนอและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็นเรื่อง “ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจไทย” จาก รศ.ดร. นิพนธ์ พัวพงศกร นักวิชาการเกียรติคุณของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ศ.นพ.ประเวศ วะสี ได้เริ่มกล่าวนาการประชุมเวทียุทธศาสตร์ด้วยการกล่าวถึงความจาเป็นที่ ไทยต้องมีสถาบันเพื่อการศึกษาและวางแผนยุทธศาสตร์พัฒนาประเทศอย่างจริงจัง เพราะความรู้ต่าง ๆ ที่มาจากต่างประเทศนั้นในบางครั้งไม่มีมีความเหมาะสมกับบริบทจาเพาะของประเทศไทย ฉะนั้นเราจึง จาเป็นต้องมีสถาบันที่จัดการองค์ความรู้ต่าง ๆ ให้มีความเหมาะสมกับบริบทเหล่านี้ ซึ่งหนึ่งใน ความสาเร็จที่สามารถผลักดันให้เกิดขึ้นได้คือสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ ภายใต้วิทยาลัยบริหาร รัฐกิจและรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต อันได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยที่มีพันธกิจหนึ่งคือการจัดเวทีประชุมด้านยุทธศาสตร์ชาติ ดังเช่นที่จัดใน วันนี้ในหัวข้อด้านยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจอันได้รับความร่วมมืออย่างดีจากทั้งภาคพลเรือนและ ฝ่ายความมั่นคง ซึ่งเราจาเป็นต้องร่วมกันทั้งสองฝ่ายเพราะภาคพลเรือนอย่างเดียวไม่มีบุคลากรเพียงพอ หลายท่านมีความสามารถแต่ติดภารกิจในการสอนจนไม่มีเวลาทาวิจัย ในขณะที่ฝ่ายความมั่นคงเองก็มี การวิจัยที่หลากหลายและมีการทาในระดับนานาชาติด้วย
  • 5. ในอนาคตโลกของเรามีความเป็นไปได้สูงที่จะเกิดความไม่มั่นคงในหลายประการ เช่น ความ มั่นคงด้านอาหาร ซึ่งการที่ไทยจะอยู่รอดอย่างมั่นคงภายใต้วิกฤติการณ์ต่าง ๆ ได้นั้นจาเป็นที่เราต้องทา ตัวให้เหมาะสม ซึ่ง “เหมาะสม” คืออะไร และ อย่างไร นี่คือสิ่งที่สถาบันวิจัยต้องตอบโจทย์
  • 7. 2 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ภาพรวมเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน และการสร้างสถาบันเพื่อจัดการนโยบายเศรษฐกิจ นาเสนอโดย รศ.ดร.นิพนธ์ พัวพงศกร 1.เศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน ปีหน้า และผลต่อเศรษฐกิจไทย รศ.ดร.นิพนธ์ พัวพงศกร นักวิชาการเกียรติคุณของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ได้เริ่มแสดงทรรศนะด้วยการนาเสนอถึงภาวะชะลอตัวของประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ เนื่องจากภาวะผันผวนจากวิกฤติการณ์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการเจรจา Brexit ที่ยังไม่มีความชัดเจนอีกทั้ง ต้องอยู่ในขั้นเจรจาอีกอย่างน้อยสองปี, ทิศทางการเมืองยุโรปที่เริ่มเอนเอียงไปทางฝ่ายขวาจากปัญหาผู้ ลี้ภัยและการก่อการร้าย, การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาที่ทาให้การเจรจาต่าง ๆ ชะงักงัน จนกว่าจะมีประธานาธิบดีคนใหม่ และปัญหาสุดท้ายคือความขัดแย้งในภูมิภาคต่าง ๆ โดยเฉพาะใน ภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งคาดว่าเศรษฐกิจโลกจะอยู่ในภาวะไม่เติบโตเช่นนี้ไปอีกราว 10 ปี นอกจากนี้ ในระดับภูมิภาคยังมีปัญหาอีกประการนั่นคือประเทศกลุ่ม CLMV (Cambodia, Laos, Myanmar, Vietnam) ซึ่งเป็นเพื่อนบ้านของไทยกาลังประสบภาวะซบเซาเช่นเดียวกันเนื่องจากถูกสินค้าราคาถูก จากจีนซึ่งครอบคลุมในหลายประเภทสินค้าเข้าตีตลาด ทาให้เศรษฐกิจไทยได้รับผลกระทบในทางอ้อม เนื่องจาก CLMV เป็นตลาดส่งออกสาคัญสินค้าของไทยเช่นกัน นอกจากนั้นการที่ประเทศซึ่งมีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ดาเนินนโยบายที่แตกต่างกัน ยิ่งทาให้เกิด การผันผวนในตลาดการเงินโลกมากขึ้น ส่งผลให้เงินทุนย้ายฐานไปมาตามนโยบายที่เปลี่ยนไปของแต่ละ ประเทศ ความผันผวนนี้สืบเนื่องมาจากวิกฤติการเงินโลกในปี พ.ศ.2550 ที่ผ่านมาทาให้มีการพิมพ์เงิน จานวนมากสู่ตลาดเพื่อพยุงเศรษฐกิจไว้ แต่ตลาดที่มีปริมาณเงินมากเกินไปนั้นไม่สามารถคงอยู่ได้ใน ระยะยาว ทาให้รัฐบาลกลางแต่ละประเทศต้องออกนโยบายเพื่อลดปริมาณเงินลง สหรัฐอเมริกาที่เคย เพิ่มปริมาณเงินในตลาดมาก่อนมีแผนดาเนินนโยบายขึ้นอัตราดอกเบี้ยเพื่อลดภาวะเงินเฟ้อในปลายปีนี้ แต่ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป (EU) ก็ยังดาเนินนโยบายขยายปริมาณเงินและดอกเบี้ยต่าต่อไป เพราะ ยังมีปัญหา Brexit ที่ยังไม่ชัดเจน และ ธนาคาร Deutsche Bank ที่รัฐบาลเยอรมนีต้องเข้ามาโอบอุ้ม ส่วนประเทศญี่ปุ่นก็ยังเพิ่มปริมาณเงินในตลาดเช่นกัน ปัจจุบันนี้มีการคาดการณ์กันว่าจะขยายอัตราเงิน เฟ้อจาก 2% ไปสู่ 4% และเมื่อใดก็ตามที่อัตราเงินเฟ้อเพิ่มไปจนถึงจุดวิกฤติแล้วชาติต่าง ๆ ก็ต้องเริ่มดึง เงินออกจากตลาดเช่นเดียวกับสหรัฐอเมริกา ถึงตอนนั้นจะเกิดวิกฤติเศรษฐกิจโลกอีกครั้ง อย่างไรก็ตาม
  • 8. 3 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ยังพอมีข่าวดีสาหรับประเทศไทยอยู่บ้าง คือเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาเริ่มมีสัญญาณที่ดีขึ้น อัตราการ ว่างงานน้อยลง ทาให้ไทยได้รับประโยชน์จากการส่งออกสินค้าเนื่องจากสหรัฐอเมริกาคือตลาดใหญ่ที่สุด ของไทย รวมถึงประเทศอื่น ๆ ในเอเชียด้วยเช่นกัน สาหรับประเทศจีนที่มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ดีมาตลอด และเป็นกลไกสาคัญที่ผลักดัน เศรษฐกิจโลกให้เติบโตไปด้วยก็ยังเลี่ยงภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจไม่ได้เพราะเศรษฐกิจพื้นฐานของ ประเทศกาลังมีปัญหา เนื่องจากอัตราความต้องการสินค้าของตลาดในประเทศลดลงมาก เช่น ความ ต้องการสินค้ากลุ่มแร่และเหล็กต่าง ๆ ที่เป็นผลจากภาวะซบเซาในภาคอุตสาหกรรม ฉะนั้นการที่จีนจะมี อัตราการเพิ่มขึ้นของ GDP มากกว่า 10% จึงเป็นไปไม่ได้อีกแล้ว และมีแนวโน้มจะคงการเติบโตจะอยู่ที่ ราว 6.5 เท่านั้น แม้จะมีการลงทุนครั้งมหาศาลโดยรัฐบาลกลางในเมืองที่มีการเจริญเติบโตน้อยแต่ก็ยัง ไม่สามารถกระตุ้นเศรษฐกิจได้ บางเมืองและบางนิคมอุตสาหกรรมกลายเป็นพื้นที่ร้างที่มีสิ่งปลูกสร้าง มากมายแต่ไร้ผู้อยู่อาศัย ส่วนประเทศอินเดียที่เศรษฐกิจกาลังเติบโตก็ยังไม่สามารถทัดเทียมประเทศจีน ได้ เพราะกลไกการบริหารประเทศมีความซับซ้อน แต่ละรัฐมีกฎระเบียบไม่เหมือนกันทาให้เกิดความ ยุ่งยากและล้าช้าในการลงทุน จึงทาให้นักลงทุนต่างชาติเลือกลงทุนในประเทศอื่นมากกว่า ซึ่งต่างจากจีน ที่กฎระเบียบต่าง ๆ ถูกออกแบบให้เอื้อต่อการลงทุน เมื่อจีนและอินเดียไม่สามารถเป็นจักรกลในการเร่ง การเติบของเศรษฐกิจโลกได้ จึงจาเป็นต้องตระหนักว่าเรากาลังเข้าสู่ความปกติในรูปแบบใหม่ (New Normal) ที่โลกจะอยู่ภาวะชะลอตัวทางเศรษฐกิจไม่ต่ากว่า 10 ปี ซึ่งนี่เป็นวัฏจักรที่เกิดขึ้นมาตลอด ประวัติศาสตร์ ในส่วนของราคาสินค้าโภคภัณฑ์ ราคาน้ามันจะเพิ่มขึ้นอีกเล็กน้อยซึ่งจะกระทบต่อไทยไม่มาก นัก แต่จะเป็นข่าวดีสาหรับชาวสวนยางเพราะยางจะมีราคาสูงขึ้น อย่างไรก็ตามราคาน้าตาลกับข้าวยังคง ตกต่าต่อไปไม่น้อยกว่า 5-10 ปี ส่วนราคาสินค้าเกษตรอื่น ๆ ยังทรงตัว แม้จะเกิดภาวะเอลนิญโญที่ทา ให้ผลผลิตทางเกษตรเสียหายก็ยังไม่ทาให้ราคาสินค้าเกษตรสูงขึ้นแต่อย่างใด ในภาวะเศรษฐกิจซบเซาทั่วโลกเช่นนี้ไทยจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับนโยบายทางเศรษฐกิจ ใหม่เพื่อให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน ด้วยการพึ่งกลไกลในระบบทุนนิยมโลกและขนาด เดียวกันก็มีการจัดการเศรษฐกิจที่ดี นั่นคือการก่อตั้งสถาบันเพื่อจัดการนโยบายเศรษฐกิจเป็นการ เฉพาะ ซึ่งรัฐบาลในอดีตเคยทาสาเร็จมาแล้ว เช่น โครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก หรือ Eastern Seaboard Development Program (ESB) ที่เกิดขึ้นในรัฐบาลของ พล.อ.เปรม ติณสูลา นนท์
  • 9. 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 2.ปัญหาสาคัญของเศรษฐกิจไทยในระยะกลาง-ยาว ในอดีตประเทศไทยมีอัตราการเติบโตของ GDP อยู่ที่ราว 6% แต่ภายหลังลดลงมาอยู่ที่ราว 3% เท่านั้นเนื่องจากประสบปัญหาสาคัญซึ่งเป็นปัญหาร่วมของประเทศกาลังพัฒนา คือการไม่ สามารถเพิ่มรายได้ต่อหัวประชากรให้สูงขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ได้อีก แม้ในอดีตประเทศกาลังพัฒนา สามารถสร้างงานและรายได้แก่ประชาชนจากการขยายตัวของภาคการผลิตและส่งออกสินค้า แต่ เมื่อขยายตัวระดับหนึ่งแล้วกลับไม่สามารถเพิ่มรายได้ให้สูงขึ้นไปอีกได้ เนื่องจากขาดการวิจัย นวัตกรรมของตัวเองเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าอันเป็นการเพิ่มรายได้แก่ประชากรต่อไป ซึ่งปัจจุบันนี้ รายได้ต่อหัวของคนไทยอยู่ที่ 6,000 เหรียญสหรัฐอเมริกาต่อปี ส่วนรายได้ประเทศพัฒนาแล้วอยู่ที่ 12,000 เหรียญสหรัฐอเมริกาต่อปี หากรายได้คนไทยเพิ่มขึ้น 4% ต่อปีก็ยังต้องใช้เวลาอีกกว่า 20 ปี เพื่อยกระดับรายได้ให้ทัดเทียมประเทศพัฒนาแล้ว ปัญหาประการต่อมาเป็นแนวโน้มที่เกิดขึ้นหรือกาลังจะเกิดขึ้นในหลายประเทศเช่นกัน คือ การที่ประชากรตัดสินใจมีลูกน้อยลงหรือไม่มีลูก ทาให้ในอนาคตมีแนวโน้มที่จะเกิดการขาดแคลน ประชากรวัยแรงงานซึ่งเป็นกาลังหลักของชาติ อีกทั้งความก้าวหน้าทางการแพทย์ทาให้คนอายุยืน ขึ้นส่งผลให้โครงสร้างประชากรมีผู้สูงวัยเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ฉะนั้นต้องคิดหาวิธีเพิ่มแรงงานในตลาด ตั้งแต่วันนี้เพื่อรับมือกับแนวโน้มปัญหาในอนาคต ปัญหาประการที่สามคือความเหลื่อมล้า เมื่อมองประเด็นความเหลื่อมล้าในมุมครัวเรือนแล้วโดย ภาพรวมมีทิศทางที่ดีขึ้น ครัวเรือนที่เคยมีรายได้ต่ากว่าค่าเฉลี่ยเริ่มมีรายได้ที่สูงขึ้น ส่วนครัวเรียนที่ ร่ารวยมีแนวโน้มที่จะมีรายได้ลดลง หมายรวมว่าไทยมีชนชั้นกลางมากกว่าในอดีต ซึ่งนี่เป็นไปตาม กลไกต่าง ๆ ที่ทาให้รายได้ของประชากรใกล้เคียงกัน อย่างไรก็ตามแม้สถานการณ์โดยรวมจะดีขึ้น ก็ยัง ถือว่ามีความเหลื่อมล้าค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ด้วยค่าดัชนี GINI ที่ระดับ 0.47 นั้นเป็น ค่าที่สูงทัดเทียมกับประเทศในกลุ่มลาตินอเมริกาเลยทีเดียว ซึ่งกลุ่มที่เร่งความเหลื่อมล้าของไทยมาก ที่สุดคือครัวเรือน 2% ที่ร่ารวยที่สุด ครัวเรือนกลุ่มนี้นั้นร่ารวยเพิ่มขึ้นอย่างมากมาโดยตลอด ซึ่งส่วนหนึ่ง มาจากการที่ครัวเรือนกลุ่มนี้สามารถเข้าไปมีบทบาทในการกาหนดนโยบายของรัฐบาลให้เอื้อต่อ ผลประโยชน์ของกลุ่มตนมากกว่าคนกลุ่มอื่น ๆ ไม่ว่าพรรคใดก็ตามได้เป็นรัฐบาล ครัวเรือนกลุ่มนี้ก็ สามารถเข้าไปมีบทบาทได้ด้วยการใช้สายสัมพันธ์อันดีที่มีอยู่ ฉะนั้นเพื่อสร้างความเป็นธรรมให้เกิด ขึ้นกับสังคมโดยถ้วนหน้า จาเป็นที่ต้องออกกฎหมายเพื่อป้องกันการแทรกแซงนโยบายและสร้างกติกาที่ ไม่เอื้อประโยชน์ให้คนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเป็นการเฉพาะ ในทางกลับกันกลุ่มคนที่จนที่สุด 5% แรกกลับจนลงอย่างมีนัยยะสาคัญ เนื่องจากเข้าไม่ถึง โอกาสในการยกระดับชีวิตตัวเอง แม้จะมีนโยบายแก้ความยากจนโดยรัฐบาลแต่น่าเสียดายที่มักไม่ได้ผล เป็นที่น่าพอใจ เช่น นโยบายแจกจ่ายที่ดิน ส.ป.ก.4-01 เพื่อการทาการเกษตรแก่คนยากจน ซึ่งสุดท้าย
  • 10. 5 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ แล้วที่ดินต่าง ๆ ไม่สามารถเพาะปลูกได้ดีเนื่องจากที่ดินที่มักจะเป็นพื้นที่ป่ามาก่อน หน้าดินมีลักษณะ ตื้นไม่มีความเหมาะสมในการทาการเกษตร เมื่อทาเกษตรไม่ได้ทาให้ที่ดินถูกขายต่ออีกทอดหนึ่งไปยัง กลุ่มนายทุน โดยนายทุนจะนาที่ดินไปทาอย่างอื่นที่ไม่ใช่การเกษตรซึ่งผิดจุดประสงค์ของ ส.ป.ก.4-01 และเมื่อรัฐบาลปราบปรามการครอบครองที่ดินผิดกฎหมายอย่างจริงจังแล้ว ที่ดินที่ถูกยึดคืนจากนายทุน จะถูกแจกจ่ายไปยังคนยากจนเพื่อทาการเกษตรอีกครั้ง ซึ่งท้ายที่สุดก็จะถูกขายแก่นายทุนเช่นเดิม เพราะไม่เหมาะสมในการทาการเกษตร กลายเป็นวงจรอุบาทว์ที่ดาเนินซ้าแล้วซ้าเล่า ซึ่งนโยบาย แจกจ่ายที่ดินเพื่อทาการเกษตรที่ประเทศอื่น ๆ ได้ทดลองทาในลักษณะคล้ายกันโดยมากแล้วก็ไม่ได้ผล เช่นกัน เมื่อเป็นดังที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าหลายนโยบายเอื้อต่อคนที่ร่ารวยอยู่แล้วให้ร่ารวยยิ่งขึ้น ส่วน หลายนโยบายเพื่อแก้ปัญหาความยากจนกลับไม่ได้ผล ส่วนความเหลื่อมล้าในมุมมองระดับภาคก็ยังมีปัญหามากเช่นกัน มีเพียงภาคตะวันออกเท่านั้นที่ ประชากรมีรายได้ต่อใกล้เคียงกรุงเทพฯ ส่วนภาคอื่น ๆ ยังต่ากว่ามาก โดยเฉพาะภาค ตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือที่มีรายได้ต่อหัวเทียบได้เพียง 17% ของภาคตะวันออกเท่านั้น ซึ่ง ปัจจัยสาคัญที่ทาให้ภาคกลางและภาคตะวันออกมีรายได้ที่สูงกว่าภาคอื่น ๆ ก็คือภาคอุตสาหกรรม ส่วน ภาคเกษตรกรรมที่เป็นอาชีพพื้นฐานของคนไทยมาตลอดกลับเป็นภาคที่สร้างร้ายได้ให้คนไทยน้อยที่สุด แต่กลับเป็นภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการที่เป็นจักรกลสาคัญที่คอยผลักดันการความมั่งคั่งของชาติ ซึ่งปัจจุบันอัตราการเพิ่มขึ้นของ GDP ในพื้นที่ภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สูงกว่า กรุงเทพฯ ไปแล้วด้วยรายได้จากภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ แต่พื้นที่ภาคเหนือและภาคใต้ ยังโตช้ากว่าภาคอื่น ๆ เพราะยังพึ่งภาคเกษตรกรรมมากเกินไป ปัญหาส่วนหนึ่งเป็นเพราะเรามีค่า TFP ผลิต (ภาพรวม; Total Factor Productivity) ที่ต่ากว่า 2% ซึ่งเป็นค่าที่ต่ามาก โดยเฉพาะภาคการเกษตร ที่ติดลบเสียด้วยซ้าต่างจากอดีตที่มีค่าเป็นบวกค่อนข้างสูง ซึ่งประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่น สหรัฐอเมริกามี ค่านี้อยู่ที่ราว 2% หากไทยต้องการที่จะเพิ่มผลิตภาพให้ทัดเทียมกันก็ต้องเร่งเพิ่มค่า TFP ให้มากกว่า 2% ให้ได้ ค่า TFP นี้สามารถอธิบายได้อย่างง่ายว่าคือค่าที่วัดความสามารถในการเพิ่มผลิตภาพโดยใช้ ปัจจัยเชิงคุณภาพ เช่น ผลิตสินค้าได้มากขึ้นเพราะพนักงานมีทักษะที่ดีขึ้น หรือสินค้ามีมูลค่ามากขึ้น เพราะผลิตโดยเทคนิคใหม่ มิใช่การเพิ่มจานวนปัจจัยการผลิตเช่นการจ้างแรงงานเพิ่มหรือสั่งซื้อ เครื่องจักร ฉะนั้นการที่เราจะเติบโตอย่างยั่งยืนได้การวัดเพียงค่า GDP อย่างเดียวไม่เพียงพอเพราะ สะท้อนเฉพาะเพียงตัวเลขการเติบโตทางเศรษฐกิจเท่านั้น ต้องพิจารณาร่วมกับค่า TFP ด้วยที่สะท้อน ‘ความสามารถ’ในการเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนนี้เป็นหนึ่งในประเด็นการ พัฒนาอย่างยั่งยืน 17 ประการของสหประชาชาติด้วย ซึ่งรัฐบาลจะใช้เป็นหมุดหมายสาคัญในการ วางแผนในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งสิ่งที่จะเพิ่มผลิตภาพให้สูงขึ้นได้ก็คือการวิจัยและสร้างนวัตกรรม ใหม่ หาไม่แล้วค่า TFP ก็จะลดต่าลงไปเรื่อย ๆ เช่นที่เกิดอย่างชัดเจนกับภาคการเกษตร น่าเสียดายที่ประเทศไทยไม่เห็นความสาคัญของ(ฐาน)ข้อมูล ไม่มีงบประมาณที่เพียงพอเพื่อ สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูลทางเศรษฐกิจอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น ในภาคการเกษตรที่อย่างน้อยที่สุด
  • 11. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ควรมีการเก็บข้อมูลค่า TFP แยกเป็นสามประเภท คือ ประเภทพืชผล ปศุสัตว์ และประมง แต่เนื่องด้วย ข้อกัดทางงบประมาณทาให้หน่วยงานราชการที่มีหน้าที่โดยตรงในการจัดเก็บข้อมูล ไม่สามารถจัดเก็บ ข้อมูลแบบแยกประเภทได้ การที่เรามีฐานข้อมูลไม่สมบูรณ์เพียงพอเช่นนี้จะทาให้ยากที่จะประเมิน ผลสัมฤทธิ์ของนโยบายหลังจากที่ได้นาไปปฏิบัติแล้ว เมื่อประเมินนโยบายไม่ได้ก็เป็นไปได้ว่า งบประมาณมหาศาลที่ใช้ในการดาเนินนโยบายก็อาจไม่คุ้มค่าแล้วกลายเป็น “นโยบายการตลาด” ที่ แก้ปัญหาระยะสั้นเท่านั้น ในบางปีหน่วยงานราชการได้รับงบประมาณเพื่อดาเนินงานจัดเก็บข้อมูล แต่ ในปีต่อ ๆ มากลับโดนตัดงบประมาณส่วนดังกล่าว ทาให้ไม่มีความต่อเนื่องในการจัดทาข้อมูลทั้งที่ความ เป็นจริงควรทาทุก ๆ 2-3 ปี และส่งผลให้ไม่สามารถใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลที่มีได้เท่าใดนัก มีกรณีที่ น่าสนใจคือเมื่อปลายปีที่แล้วสถาบันวิจัยเศรษฐกิจ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ภายใต้ธนาคารแห่งประเทศไทย ได้ ทาโครงการสารวจความเหมาะสมของระบบประกันภัยพืชผล โดยใช้ฐานข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมจาก สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ GISTDA มาประมวลผล จนสามารถระบุได้ว่าในแต่ละปีเรามีการเพาะปลูกในช่วงใด เป็นพื้นที่เท่าใด และเกิดความเสียหายเท่าใด ในแต่ละปี ซึ่งภาพถ่ายเหล่านี้มีการถ่ายเก็บมาตลอด 17 ปี แต่ไม่เคยมีการนาภาพเหล่านั้นมา ประมวลผลเนื่องจากขาดงบประมาณ ระเบียบในการเบิกจ่ายงบประมาณเองก็เป็นปัญหาใหญ่อีกปัญหาหนึ่ง เพราะมีธรรมเนียมใน การจัดสรรงบประมาณที่ขึ้นอยู่กับการเจรจากับสานักงบประมาณ หากหน่วยงานใดมีผู้เจรจาด้วยที่มี อิทธิต่อสานักงบประมาณก็จะมีแนวโน้มที่จะได้งบประมาณมากกว่า เช่น งบประมาณสาหรับ กระทรวงกลาโหมที่มักไม่ถูกคัดค้าน ส่วนงบประมาณสาหรับหน่วยงานที่ทางานเชิงข้อมูลหรือการวิจัย มักจะถูกตัดทอนอยู่เสมอเมื่อรัฐมีงบประมาณน้อยลง ทาให้เกิดปัญหาดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เช่น รัฐบาลในยุคสมัย นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ มีนโยบายสร้างมหาวิทยาลัยแห่งการวิจัย มีการเบิกจ่าย งบประมาณจานวนมากแก่มหาวิทยาลัยเพื่อสนับสนุนการวิจัย เมื่อมหาลัยได้งบประมาณมาแล้วจึงทา การเปิดหลักสูตรปริญญาเอกและพัฒนาการวิจัย แต่เมื่อรัฐบาลต่อมารัฐมีงบประมาณน้อยลง งบประมาณสาหรับโครงการนี้ถูกตัดทอนทาให้โครงการต่าง ๆ ที่มหาวิทยาลัยทามาต้องชะงักงัน กลางคัน ระบบการจัดสรรงบประมาณที่บุคคลผู้เจรจาเป็นปัจจัยพิจารณาการจัดสรรนโยบาย จึงไม่ เหมาะสมกับการพัฒนาประเทศในระยะยาวอย่างแน่นอน
  • 12. 7 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 3.แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจไทย ความเจริญทางเศรษฐกิจซึ่งถูกขับเคลื่อนโดยทุนนิยมยังคงเป็นเป็นหนทางหลักสาหรับการกินดี อยู่ดี ดังที่ได้รับการยืนยันโดย บารัค โอบามา ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา ผ่านบทความของเขาที่ ชื่อ “The way ahead” ในวารสาร The Economist เมื่อวันที่ 16 ตุลาคมที่ผ่านมา ในบทความนี้มีประโยค ทองที่ว่า “ทุนนิยมยังคงเป็นแรงผลักสาคัญที่สุดของโลกสาหรับความมั่งคั่งและโอกาสใหม่ ๆ” (Capitalism has been the greatest driver of prosperity and opportunity the world has ever known ) และ “แรงจูงใจจากกาไรสามารถเป็นจักรกลสาคัญสาหรับความกินดีอยู่ดีของสังคม…..แต่ โดยตัวมัน เองแล้วไม่สามารถนาไปสู่การกระจายของความมั่งคั่งและการเติบโต(ทางเศรษฐกิจ)อย่างถ้วนหน้า” (The profit motive can be a powerful force for the common good,…… But, by itself, this will not lead to broadly shared prosperity and growth) โดยปัญหาที่เราพูดกันว่าทุนนิยมทาให้เกิดความเหลื่อ ล้า การผูกขาด ปัญหาสิ่งแวดล้อม ฯลฯ ก็คือสิ่งที่ โอบามา ชี้ให้เห็นในวรรคสุดท้าย ซึ่งเราสามารถ ลดทอนปัญหาเหล่านี้ลงด้วยการสร้างสถาบันที่เข้ามากาหนดกฎกติกาแก่ทุนนิยม ซึ่งต้องย้าอีกครั้งว่า เศรษฐกิจจะเติบโตได้ก็ด้วยการลงทุนจากภาคเอกชนเป็นหลัก แล้วรัฐบาลเข้ามากากับดูแล มิใช่พึ่งพา เงินทุนจากภาครัฐเป็นหลัก ประวัติศาสตร์ไทยชี้ให้เห็นว่าทุกครั้งที่เศรษฐกิจไทยเจริญรุ่งเรือง ล้วนเกิดมาจากการค้า การ ลงทุน เทคโนโลยี และสถาบันที่คอยจัดการตลาด โดยเฉพาะการค้าต่างประเทศนับตั้งแต่ยุคพ่อขุนราม รามคาแหงมหาราชที่เราจดจาพระราชดารัสที่ว่า “ใครจักใคร่ค้าช้าง ค้า ใครจักใคร่ค้าม้า ค้า " ในยุคพระ นารายมหาราชที่เรามีการค้าขายกับโปรตุเกส ในรัชสมัยรัชกาลที่ 2 และรัชกาลที่ 3 เราค้าขายกับจีน และมีคนจีนอพยพมาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทยเนื่องจากหนีภัยสงครามฝิ่นและภัยพิบัติทางธรรมชาติ ทา ให้เกิดชนชั้นพ่อค้าที่เป็นแรงงานอิสระ รัชสมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 เราทาสนธิสัญญาเบาริ่ง มีการ สร้างสถาบันดูแลการค้าโดยตรง มีการกาหนดกรรมสิทธิ์ มีการส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งหนึ่งในหลวงรัชกาลที่ 5 ทรงเสด็จไปเปิดงานนิทรรศการการค้า ในครั้ง นั้นมีพ่อค้าได้เข้าเฝ้าแล้วทูลว่าถ้าข้าวที่ส่งออกมีคุณภาพทัดเทียมกับข้าวที่นามาแสดงในงานแสดง นิทรรศการแล้วเราจะสามารถส่งออกข้าวในราคาที่ดีที่สุด ซึ่งจะทัดเทียมกับข้าวสายพันธ์ Patma จาก ปากีสถานอันเป็นข้าวที่มีราคาสูงในตลาดโลก ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงมอบทุนเล่าเรียนแก่ชาวไทยเรื่อยมา เพื่อไปศึกษาด้านเกษตรกรรมในต่างประเทศอย่างต่อเนื่องเพื่อนาความรู้กลับมาพัฒนาสายพันธุ์ข้าวของ ไทย ซึ่งหนึ่งในผู้ที่สร้างคุณประโยชน์แก่ข้าวไทยมากคือนายตี๋ มิลินทรางกูร ที่ได้รวบรวมพันธุ์ข้าว มากกว่าร้อยสายพันธุ์ แล้วส่งไปประกวด ณ เมืองเรจินา ประเทศแคนาดา ในปี พ.ศ. 2476 ซึ่งข้าวหอม
  • 13. 8 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ พันธุ์ปิ่นแก้วได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ 1 และก้าวสาคัญอีกขั้นของพันธุ์ข้าวไทยคือ USAID ได้มอบทุน เพื่อพัฒนาข้าวไทยในทศวรรษ พ.ศ. 2490 ซึ่งอธิบดีกรมการข้าวในขณะนั้นสาเร็จการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยคอแนล โดยหนึ่งในอาจารย์ของท่านคือผู้เชี่ยวชาญด้านการปรับปรุงสายพันธุ์พืชคนแรก ของโลก เมื่อผู้เชี่ยวชาญด้านการปรับปรุงสายพันธุ์ท่านนี้เกษียณแล้วจึงได้รับเชิญจากอธิบดีกรมการข้าว เพื่อมาอบรมการพัฒนาสายพันธุ์ข้าวในไทย ซึ่งมีความก้าวหน้ามากเพราะเราสามารถอบรมผู้ชานาญใน ด้านนี้กว่า 200 คน และมีฐานของพันธุ์ข้าวมากกว่าร้อยสายพันธุ์ที่นายตี๋เคยรวบรวมไว้ ทั้งสองปัจจัยนี้ คือสิ่งสาคัญที่เมื่อกระแสปฏิวัติเขียวแพร่เข้าสู่ประเทศไทยแล้ว ทาให้เราได้พันธุ์ข้าวที่มีผลผลิตสูงและ รสชาติดี ต่างชาติอื่นที่ได้เพียงพันธุ์ข้าวที่มีผลผลิตสูงเท่านั้น เราจึงเป็นชาติที่ขึ้นชื่อเรื่องข้าวในระดับโลก ได้สาเร็จ ดังที่กล่าวแล้วว่าประวัติศาสตร์โลกและประวัติศาสตร์ไทยได้พิสูจน์ว่าทุนนิยมคือแนวทางที่ดี ที่สุดในการยกระดับคุณภาพชีวิต แต่ไม่สามารถประกันได้ว่าทุกคนจะได้รับความเป็นอยู่ที่ดีโดยเสมอ ภาคกัน ตลาดทุนนิยมเสรีไม่สามารถป้องกันการผูกขาดตลาดและการขูดรีดทรัพยากรได้ แล้วไทยต้อง ปรับตัวอย่างไรจึงจะได้รับประโยชน์จากทุนนิยมอย่างแท้จริง ? ในอดีตเมืองเวนิซถือเป็นเมืองต้นแบบแห่งศูนย์กลางของทุนนิยมโลก เพราะมีสถาบันและ กฎระเบียบที่เอื้อให้การค้าเสรีเป็นไปโดยราบรื่นดังที่ Jacques Martin Barzun นักประวัติศาสตร์ผู้มี ชื่อเสียงระบุว่าเมืองเวนิซนั้น “มีผู้ตรวจตราเหรียญกษาปณ์ว่ามีน้าหนักและมูลค่าที่ถูกต้อง มี อนุญาโตตุลาการคอยไกล่เกลี่ยข้อขัดแย้งทางการค้าและรับเรื่องร้องทุกข์ของคนฝึกงาน มีเจ้าหน้าที่ ตรวจพิจารณาป้ายร้านค้า ร้านสุราตลอดจนงานฝีมือต่างๆ มีคนกาหนดค่าจ้างและคนจัดเก็บภาษีที่ เคร่งครัด...ไม่ว่าจะเป็นข้าราชการ วุฒิสมาชิกหรือรัฐมนตรีต่างก็จะต้องได้รับการฝึกฝนอย่างรอบคอบ กฎหมายทุกฉบับ บัญชีทุกฉบับจะถูกตรวจซ้าแล้วซ้าอีกเพื่อความถูกต้อง” (J. Barzum, 2000.) หาก ไทยจะเข้าร่วมแข่งขันในเวทีทุนนิยมโลก ต้องหันกลับมาถามตัวเองว่าเรามีสถาบันที่คอยกาหนดกติกา เหล่านี้หรือไม่ ? การค้าเสรีภายใต้ระบบทุนนิยมไม่อาจเติบโตและทางานให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมได้ หากปล่อยให้ค้าขายตามใจชอบ (laissez faire) แบบปราศจากกติกาและการกากับดูแลของรัฐ ตลาดจะ ทางานได้ต่อเมื่อมีสถาบันที่ไม่ใช่ตลาดรองรับ เช่น กฎหมายแพ่งพาณิชย์ ประมวลรัษฎากร การกากับ การซื้อขายหลักทรัพย์ กฎหมายด้านสาธารณสุขและความปลอดภัย กฎหมายประกันสังคม ระบบ ราชการแบบมืออาชีพ และการเมืองแบบประชาธิปไตย ฉะนั้นการมีสถาบัน (institution) อันหมายถึง กติกากาหนดแรงจูงใจ (incentives) ข้อจากัด (constraints) และองค์กร (organization) จึงจาเป็นต้องมี
  • 14. 9 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ขึ้นเพื่อป้องกันหรือบรรเทาปัญหาดังกล่าวที่อาจเกิดได้ ทุนนิยมจึงสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตได้อย่าง แท้จริงและยั่งยืน เมื่อทุนนิยมในปัจจุบันมีลักษณะที่เชื่อมโยงถึงกันในระดับโลก แล้วเราจะปฏิเสธตลาดโลกได้ หรือ? ในปัจจุบันรัฐบาลกาลังเน้นไปที่การพึ่งพาตลาดภายในประเทศอย่างมากซึ่งเป็นการวาง ยุทธศาสตร์ที่ไม่เหมาะสม เนื่องจากตลาดในประเทศมีขนาดเล็กเกินไป อีกทั้งกาลังอยู่ในภาวะซบเซา เนื่องจากภาวะหนี้ครัวเรือนที่สูงขึ้นมาตลอด ในปัจจุบันหนี้เพิ่มสูงถึง 85% ของรายได้ครัวเรือนแล้วทา ให้ประชาชนลดการใช้จ่ายลง เราไม่สามารถหวังการพึ่งพาตลาดในประเทศเป็นหลักเช่นเดียวกับ ประเทศที่มีขนาดอุปสงค์ภายในที่ใหญ่ เช่น จีน รัสเซีย สหรัฐอเมริกา อินเดีย หรือ บราซิล ได้ เพราะเรา ไม่ได้มีจานวนประชากรมากมายนักอีกทั้งอัตราการเกิดก็ลดลงเรื่อย ๆ อีกทั้งตลาดภายในประเทศยังถูก ครอบงาโดยกลุ่มทุนรายใหญ่อีกด้วย แม้จะมีแนวนโยบายที่จะยกระดับตลาดในประเทศก็ควรระวังว่าจะ เป็นการเสียงบประมาณโดยเปล่าประโยชน์ การขยายขนาดตลาดภายในประเทศเพื่อใช้เป็นกลไกพัฒนา เศรษฐกิจนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย ประเทศที่กาลังมีปัญหานี้คือจีน ขณะนี้หลายจังหวัดของจีนเจริญขึ้นอย่าง มาก แต่รัฐบาลกลางกาลังมีปัญหาเรื่องการกระจายความเจริญ แม้รัฐบาลจะทุ่มงบประมาณมหาศาลเพื่อ อัดฉีดเศรษฐกิจในจังหวัดยากจนแต่ก็ยังไม่สาเร็จนัก เพราะความต้องการสินค้าหลายประเภทนั้นลดลง ทาให้ตาแหน่งงานลดลงไปด้วย เมื่อพิจารณาตัวเลขการส่งออกแล้วจะเห็นว่าตลาดโลกนั้นคือแหล่งที่จะนามาซึ่งความมั่งคั่งแก่ ไทย โดยที่มูลค่าของสินค้าที่ส่งออกไปขายยังต่างประเทศอยู่ที่ 120% เมื่อเทียบกับมูลค่าที่เกิดขึ้น ภายในประเทศ ซึ่งนี่ไม่ใช่ตัวเลขที่มากมายนัก ยังน้อยกว่าสิงคโปร์ที่อยู่ราว 300% ฉะนั้นยังมีความ เป็นไปได้ที่เราจะเพิ่มมูลค่าการส่งออกให้มากขึ้น แต่การจะค้าขายในตลาดโลกให้ได้ดีเช่นสิงคโปร์นั้น จาเป็นต้องมีการพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ อยู่เสมอ ซึ่งนี่เป็นข้อจากัดของคนไทยที่เรายังทุ่มเททรัพยากร เพื่อการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมน้อยเกินไป ประเด็นต่อมาคือแรงงานไทยกว่า 60% ยังอยู่ในภาคเศรษฐกิจตามอัธยาศัย (informal sector) อันได้แก่กลุ่มคนที่มีรายได้ไม่ประจา ซึ่งมีคนกลุ่มน้อยในภาคนี้เท่านั้นที่จะมีรายได้มั่นคงและเพียงพอ ฉะนั้นรัฐบาลต้องมีการวางแผนเพื่อเพิ่มตาแหน่งงานที่มีรายได้ประจา (formal sector) ที่มีความมั่นคง มี ผลิตภาพและรายได้สูง มิใช่เน้นการสร้างผู้ประกอบการซึ่งไม่ใช่งานที่เหมาะกับคนส่วนใหญ่ อีกประการ คืออาชีพในกลุ่มเกษตรกรรมที่คนไทยกว่า 32% ทาอยู่นั้นกลับสร้างรายได้เพียง 10% เพราะเกษตรกร ส่วนใหญ่เข้าไม่ถึงปัจจัยและทรัพยากรที่ทาให้เกษตรกรรมสามารถสร้างรายได้เพียงพอ ไม่มีที่ดินและ ระบบชลประทานที่เหมาะสม ซึ่งทางแก้ที่เป็นไปได้เพื่อเพิ่มรายได้ประชากรและในขณะเดียวกันยังรักษา
  • 15. 10 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ความมั่นคงทางอาหารไว้ คือการย้ายคนออกนอกภาคการเกษตรไปสู่ภาคอาชีพอื่น ๆ และเพิ่มผลผลิต ในภาคการเกษตรให้มากขึ้นโดยใช้เทคโนโลยีเป็นตัวช่วยเพื่อที่เราจะสามารถรักษาความมั่นคงทาง อาหารให้ได้ดังเดิม ซึ่งในแง่ปฏิบัติเกษตรกรจะดิ้นรนทาโดยตัวเองได้ยาก และภาครัฐส่วนกลางเองก็เข้า ไม่ถึงเกษตรกรเท่าใดนัก ฉะนั้นจาเป็นที่รัฐต้องสนับสนุนการกระจายอานาจไปยังพื้นที่ชนบทอย่างค่อย เป็นค่อยไป เพื่อทาให้ทรัพยากรของรัฐถูกบริหารจัดการเพื่อเป็นประโยชน์แก่ประชาชนรากหญ้าอย่าง แท้จริงโดยชุมชนท้องถิ่นที่เข้าใจปัญหาอย่างลึกซึ้ง ทุกวันนี้กระบวนการออกนโยบายมักเป็นการรวมศูนย์ตัดสินใจโดยส่วนกลาง มีลักษณะเป็น “Bangkok biased” ที่กระบวนการทั้งหมดเกิดขึ้นและจบลงในเมืองหลวง โดยข้าราชการระดับสูงที่ขาด ความเข้าใจในบริบทของท้องถิ่นของต่างจังหวัด ระบบไม่เปิดโอกาสให้ท้องถิ่นกาหนดนโยบายพัฒนา พื้นที่ตัวเอง จะมีเพียงหน้าที่การสนองนโยบายด้วยการนามาปฏิบัติเท่านั้น ซึ่งบ้างก็สาเร็จด้วยดี บ้างก็ ไม่สาเร็จตามแผนที่วางไว้ บางครั้งเมื่อหน่วยงานท้องถิ่นเห็นว่าบางนโยบายจากส่วนกลางไม่เหมาะสม กับการปฏิบัติก็จะมีการคืนงบประมาณส่วนนั้นไปได้ แต่เป็นส่วนน้อยเท่านั้นที่จะคานึงถึงความเหมาะสม ของนโยบาย โดยมากแล้วจะเป็นการทาให้เสร็จสิ้นไปตามที่ได้รับมอบหมายเท่านั้น การกระจายอานาจจะสาเร็จต่อเมื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอิสระในการตัดสินใจ ปัจจุบัน เราไม่มี local government อันหมายถึงหน่วยงานท้องถิ่นสามารถกาหนดนโยบายได้เอง มีเงินภาษีที่ เรียกเก็บเองเพื่อนามาใช้พัฒนาท้องถิ่น จะมีเพียง local rural administration หรือหน่วยงานที่คอยรับ นโยบายจากส่วนกลางเพื่อนามาปฏิบัติเท่านั้น หากยังเป็นแบบนี้ต่อไปภาคส่วนท้องถิ่นก็จะเคยชินกับ การเป็น“ฝ่ายรับ”นโยบายจากคนนอกพื้นที่ต่อไป จนไม่คิดจะเป็น“ฝ่ายรุก”แก้ปัญหาท้องถิ่นตัวเองด้วย ตัวเอง แต่อานาจในการตัดสินใจด้านนโยบายอย่างเดียวไม่เพียงพอที่จะทาให้เกิดผลในภาคปฏิบัติได้ ต้องเพิ่มขีดความสามารถแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มากขึ้นทั้งด้านบุคลากรและงบประมาณ ซึ่ง ต้องอาศัยอานาจทางกฎหมายและเครื่องมือด้านภาษีเป็นตัวช่วย เช่น การยุบรวมองค์การบริหารท้องถิ่น ที่มีขนาดเล็กเข้าไว้ด้วยกันเพื่อทาให้เกิดการทรัพยากรร่วมกันได้อย่างคุ้มค่ามากขึ้น การเก็บภาษีที่ดิน ซึ่งจะกลายเป็นแหล่งงบประมาณสาคัญอีกทางหนึ่ง อย่างไรก็ตามจาเป็นต้องมีการประชาสัมพันธ์ให้ ประชาชนให้เข้าใจอย่างแท้จริงว่าเป็นเรื่องเหมาะสมแล้วที่จะมีการเรียกเก็บภาษี เพราะที่ดินซึ่งใช้ ประโยชน์ได้นั้นจาเป็นต้องพึ่งสาธารณูปโภคพื้นฐานจากภาครัฐทั้งสิ้น
  • 16. 11 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ระบบการเก็บภาษีในปัจจุบันที่เงินภาษีของประชาชนจะถูกส่งมายังส่วนกลางก่อน ภายหลังจึง ส่งงบประมาณจากส่วนกลางลงไปยังท้องถิ่นอีกครั้งหนึ่ง เช่นนี้แล้วประชาชนย่อมรู้สึกว่างบประมาณ เหล่านี้ไม่ใช่เงินของตัวเองหากแต่เป็นเงินของรัฐบาล เมื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเกิดการทุจริตหรือ ใช้งบประมาณอย่างไม่มีประสิทธิภาพประชาชนจึงไม่สนใจจะตรวจสอบ ฉะนั้นต้องมีการปรับปรุง กฎหมายให้เงินภาษีจากท้องถิ่นถูกนาไปใช้เพื่อท้องถิ่นโดยตรง เพื่อสร้างความรู้สึกร่วมในความเป็น เจ้าของงบประมาณแก่ประชาชน เช่นนี้แล้วธรรมาภิบาลอันหมายถึงการปกครองอย่างเป็นธรรมจึงจะ เกิดขึ้นภายใต้การกากับดูแลของประชาชน เมื่อใดที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอิสระในการออกนโยบาย มีงบประมาณเพียงพอ มีการ ตรวจสอบจากภาคประชาชนอย่างต่อเนื่อง จะทาให้การบริหารท้องถิ่นอย่างบูรณาการเป็นไปได้ ทุกวันนี้ เราประสบปัญหาการบริหารอย่างแยกส่วน เช่นกรณีการบริหารจัดการน้าที่มีหลายหน่วยงานเข้ามาดูแล กลุ่มผู้ใช้น้าโดยกรมทรัพยากรน้าดูแลน้าในระบบชลประทาน กรมควบคุมมลพิษเป็นผู้ดูแลน้าเสีย องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นดูแลเมื่อเกิดน้าท่วม หากจะโอนย้ายให้ท้องถิ่นเป็นผู้ดูแลทั้งหมดก็ต้องเพิ่ม อานาจทางกฎหมายและเพิ่มงบประมาณเสียก่อน จึงจะสามารถบริหารน้าอย่างบูรณาการได้อย่างแท้จริง แน่นอนว่าการยกระดับการปกครองท้องถิ่นย่อมไม่สามารถทาได้อย่างสมบูรณ์ในเวลาอันสั้น อย่างน้อย ที่สุดรัฐบาลต้องคอยเป็นพี่เลี้ยงประคับประคองการกระจายอานาจนี้จนกว่าจะสาเร็จ สรุปบทเรียนจากการพัฒนาเศรษฐกิจของไทยในอดีตและข้อเสนอการพัฒนาที่สาคัญ 1.การสร้างสถาบันเพื่อจัดการนโยบายเศรษฐกิจ: กรณีโครงการพัฒนาชายฝั่งทะเล ตะวันออก ตลอดมาเราแทบไม่สนใจเรื่องการสร้างสถาบันด้านการบริหารจัดการนโยบาย ยังคงใช้สถาบัน ดั้งเดิมในการจัดการนโยบาย เช่น การตั้งคณะกรรมการ super board เพื่อบูรณาการการทางาน การใช้ สถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ ฯลฯ ซึ่งสถาบันในลักษณะนี้ที่มีจานวนมากไม่ตอบโจทย์การพัฒนา เศรษฐกิจเพราะไม่ใช่สถาบันที่มีความสมบูรณ์พร้อม มีความซ้าซ้อน ไม่มีประสิทธิภาพ ไม่มีการ ประเมินผลอย่างจริงจัง และมักมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานซึ่งในท้ายที่สุดแล้วด้วยภารกิจที่มีทาให้ นายกรัฐมนตรีไม่สามารถมาร่วมประชุมได้ แล้วสถาบันจาเป็นอย่างไร ? เมื่อเรามองย้อนไปในอดีตแล้วจะเห็นว่าความสาเร็จในการพัฒนา ทางเศรษฐกิจล้วนแต่เกิดจากการสร้างสถาบันการจัดการนโยบายและการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน
  • 17. 12 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ เช่น ในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์ทรงเลิกทาส รวมศูนย์การบริหารราชการ ในสมัยจอมพลสฤษดิ์มีการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานครั้งใหญ่ตามแนวนโยบาย “น้าไหล ไฟสว่าง มีงานทา” ในยุค พ.อ.เปรม ติณสู ลานนท์ ทาโครงการขนาดใหญ่คือนโยบายพัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันออก ซึ่งเป็นก้าวสาคัญที่ยกระดับ อุตสาหกรรมของไทย และจะกล่าวต่อไปว่าโครงการนี้มีบทเรียนอะไรที่นามาปรับใช้แก่การพัฒนา เศรษฐกิจในปัจจุบัน โดยเฉพาะกับนโยบาย 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายของรัฐบาล 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายคือ กลุ่มอุตสาหกรรม 10 ประเภทที่มีศักยภาพในการเติบโตที่ดี โดย แผนพัฒนาเศรษฐกิจ 10 อุตสาหกรรมนี้มาจากข้อเสนอของบริษัทที่ปรึกษาทางธุรกิจ McKinsey & Company ที่ได้ศึกษาและรวบรวมข้อเสนอจาก 80 บริษัทชั้นนาระดับโลก โดยมี 5 ประเภทที่เป็น อุตสาหกรรมเดิมซึ่งเป็นจุดแข็งของไทย ได้แก่ 1) อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ (Next – Generation Automotive) 2) อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (Smart Electronics) 3) อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Affluent, Medical and Wellness Tourism) 4) การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ (Agriculture and Biotechnology) 5) อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร (Food for the Future) และอีก 5 ประเภทคือกลุ่มอุตสาหกรรมใหม่ที่สามารถต่อยอดจากฐานอุตสาหกรรมเดิมได้ หาก ตั้งเป้าหมายว่าไทยจะสามารถยกระดับรายได้ให้พ้นจากประเทศปานกลาง จาเป็นต้องต้องพึ่ง อุตสาหกรรมใหม่เหล่านี้ ได้แก่ 1) อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ (Robotics) 2) อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ (Aviation and Logistics) 3) อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ (Biofuels and Biochemicals) 4) อุตสาหกรรมดิจิตอล (Digital) 5) อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร (Medical Hub) โดยรัฐบาลหวังว่าอุตสาหกรรม 10 ประเทศนี้จะกลายเป็นกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยให้ เติบโตอย่างยั่งยืนในอนาคต ฉะนั้นจะต้องมีการลงทุนครั้งมหาศาลทั้งจากภาครัฐและเอกชน โดยภาครัฐ ต้องทุ่มงบประมาณทุกปีอย่างน้อย 10% ของ GDP ซึ่งไม่ใช่ตัวเลขที่สูงจนเกินไปเพราะรัฐเคยลงทุนถึง ราว 30-40% ของ GDP มาแล้ว ในส่วนของการบริหารจัดการนโยบายนั้นรัฐบาลพยายามถอดแบบมาจากนโยบายพัฒนา ชายฝั่งทะเลตะวันออก อย่างไรก็ตามเพียงการจัดโครงสร้างการบริหารงานให้เหมือนกันมิได้หมายรวม
  • 18. 13 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ว่าจะประสบความสาเร็จเหมือนกัน จาเป็นต้องต้องพิจารณาหลายปัจจัยที่เป็นบริบทของยุคนั้น ประกอบด้วย ซึ่งสามารถพิจารณาได้ใน 8 ด้านด้วยกัน 1) ประสบการณ์จากการจัดทานโยบายพัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันออก 8 ด้าน ภาวะเศรษฐกิจและการเมือง: เศรษฐกิจถดถอยอย่างหนัก เกิดภาวะขาดดุล งบประมาณและดุลชาระเงิน ในบางเดือนรัฐบาลแทบไม่เหลืองบประมาณเพื่อจ่ายเป็น เงินเดือนข้าราชการ ในภาคเอกชนก็ประสบปัญหาเช่นเดียวกัน เพราะราคาสินค้า เกษตรตกต่าเป็นระยะเวลานานตลอดทศวรรษ 1980 เนื่องจากภาวะฝนแล้ง นอกจากนี้ ยังมีวิกฤติด้านพลังงานทาให้รัฐบาลออกนโยบายปิดสถานีโทรทัศน์ช่วงเวลา 18.30 น. – 20.00 น. ซึ่งปัญหาเหล่านี้เองเป็นแรงกดดันสาคัญให้รัฐบาลต้องหายุทธศาสตร์พัฒนา ใหม่เพื่อกู้วิกฤติเศรษฐกิจ แต่ไทยก็ยังพอมีจุดแข็งอยู่บ้างในเรื่องตลาดการค้าเสรีที่ ก้าวหน้ากว่าชาติอาเซียนหลายชาติที่ผ่านพ้นยุคคอมมิวนิสต์มาไม่นาน ทาให้นักลงทุน ต่างชาติเลือกที่จะสร้างโรงงานในประเทศไทยแทนที่จะเป็นประเทศเพื่อนบ้าน แต่วันนี้ ประเทศเพื่อนบ้านได้ปรับตัวสู่ตลาดเสรีแล้วและพร้อมเป็นคู่แข่งกับไทยในการดึงดูดนัก ลงทุนต่างชาติ ส่วนในแง่การเมือง พ.อ.เปรม มีอานาจค่อนข้างมากในการกาหนด นโยบายเนื่องจากเป็นยุคประชาธิปไตยครึ่งใบ ยุทธศาสตร์ใหม่: เน้นการส่งเสริมการผลิตและส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงาน เข้มข้น(ใช้แรงงานจานวนมาก) ซึ่งส่งผลดีต่อการจ้างงานแก่แรงงานที่มีวุฒิการศึกษาต่า ให้มีทางเลือกอื่นนอกจากภาคการเกษตรที่ไม่มีความมั่นคงแน่นอนและสร้างรายได้ไม่ เพียงพอ อีกทั้งยังเป็นการทดแทนการนาเข้าสินค้าอีกด้วย ทาให้ลดการเสียดุลการค้า กับต่างชาติ การบูรณาการ: บูรณาการการทางานของหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง เกิดเป็นระบบการ ทางานที่เชื่อมประสานกันระหว่าง สภาพัฒน์ฯ กระทรวงคมนาคม กระทรวง อุตสาหกรรม และกระทรวงการคลัง เป็นปัจจัยสาคัญที่เอื้อให้การทางานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ อีกตัวอย่างหนึ่งที่น่าสนใจคือนโยบาย Visit Thailand Year ซึ่งเกิด การบูรณาการระหว่างหลายหน่วยงาน เช่น สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) กระทรวงต่างประเทศ กรมตารวจ สานักงานตรวจคนเข้าเมือง กระทรวงคมนาคม จนเราสามารถแก้ไขปัญหาหลายอย่างซึ่งเป็นต้นแบบให้ชาติในอาเซียนได้เรียนรู้ ไม่ว่า จะเป็นความล่าช้าในการผ่านด่านตรวจคนเข้าเมือง การก่อคดีจี้ปล้น โรงแรมที่ไม่ได้ มาตรฐาน ทั้งหมดนี้เป็นความสาเร็จที่เกิดขึ้นอย่างเป็นกระบวนการผ่านการบูรณาการ ของหน่วยงานราชการต่าง ๆ
  • 19. 14 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ คุณภาพ technocrats: จุดแข็งของรัฐบาลยุคนั้นคือการมี technocrats ซึ่งหมายถึง ข้าราชการที่มีความรู้ความสามารถสูงอยู่หลายท่าน เช่น ข้าราชการจากสภาพัฒน์ฯ ได้แก่ ดร.เสนาะ อูนากูล ผู้เป็นทั้ง “สถาปนิก” และ “ผู้ประสานงาน” ของโครงการ นาย โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ ดร.สาวิตร โพธิวิหค และ ดร. พิสิฐ ลี้อาธรรม ปลัดกระทรวงการคลัง มรว.จตุมงคล โสณกุล ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม นายศิววงศ์ จังคศิริ และมี พ.อ.เปรม คอยกากับโครงการอยู่อีกขั้นหนึ่ง ซึ่งยากจะหาบุคลากรที่มีคุณภาพเช่นนี้ได้อีกใน ปัจจุบัน แหล่งเงินทุน: ไทยได้รับเงินกู้จากกองทุนความร่วมมือทางเศรษฐกิจโพ้นทะเลแห่ง ญี่ปุ่น (OECF) ซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยที่ต่า และข้อดีอีกประการคือทางผู้ให้กู้ได้ทาการ ประเมินการใช้เงินกู้อย่างละเอียด ทาให้การบริหารงบประมาณเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ ซึ่งการประเมินการใช้งบประมาณควรเป็นหน้าที่ที่สานักงานการตรวจเงิน แผ่นดิน (สตง.) ทาอย่างต่อเนื่อง มิใช่เพียงการตรวจสอบการทุจริตเท่านั้น การประเมิน ความคุ้มค่าในการใช้งบประมาณนี่เองที่เป็นจุดแข็งของภาคเอกชนซึ่งภาครัฐควรนามา ปรับใช้ด้วยเช่นกัน การลงทุน: ภาครัฐเป็นผู้นาการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานโดยมีภาคเอกชนเป็นผู้ สมทบ เราไม่ได้มีเพียงท่าเรือแหลมฉบับและมาบตะพุดซึ่งเป็นของรัฐเท่านั้นแต่เรายังมี ท่าเรือของเอกชนด้วย และยังมีรูปแบบการลงทุนที่รัฐและเอกชนร่วมลงขันกัน เช่น บริษัทปิโตรเคมีแห่งชาติ ซึ่งนับเป็นก้าวแรกที่สาคัญของการร่วมมือระหว่างรัฐและ เอกชน การขนส่งทางบกผ่านถนนและทางรถไฟมีพัฒนาการที่ล่าช้าแต่ก็ยังได้รับการ พัฒนาเรื่อยมา ในด้านการขนส่งทางอากาศรัฐสร้างสนามบินสุวรรณภูมิเพื่อหวังเป็น ช่องทางในการขนส่งสินค้า แต่ระยะแรกในขณะที่ยังก่อสร้างไม่เสร็จสิ้น รัฐบาลมีแผนจะ ขอใช้สนามบินอู่ตะเภาจากทหารเรือแต่ไม่ได้รับการยินยอม จึงต้องสร้างนิคม อุตสาหกรรมขึ้นที่อยุธยาเนื่องจากสะดวกต่อการขนส่งมากกว่า การขนส่งทางอากาศมี ความสาคัญต่อการตั้งโรงงานมาก เพราะชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่ต้องนาเข้าจาก ต่างประเทศจาเป็นต้องได้รับการขนส่งอย่างรวดเร็ว การที่นิคมอุตสาหกรรมนี้ตั้งอยู่ใน บริเวณซึ่งที่ดินราคาถูก และอยู่นอกกรุงเทพฯและปริมณฑลซึ่งค่าแรงขั้นต่าไม่สูงนัก จึง เป็นตัวดึงดูดให้ต่างชาติเข้ามาลงทุนโดยเฉพาะบริษัทสัญชาติญี่ปุ่น แต่ข้อเสียของการ ตั้งนิคมอุตสาหกรรมขึ้นที่นี่คือปัญหาเรื่องน้าท่วมเพราะเป็นพื้นที่ต่า ปีใดฝนตกมากก็จะ กลายเป็นพื้นที่รับน้า อย่างไรก็ตามภาคตะวันออกนั้นมีน้าไม่มากนัก เมื่อมีอุตสาหกรรม ก็ต้องมีการจัดหาแหล่งน้า แต่ในปัจจุบันกลายเป็นการไปแย่งน้ามาจากภาคเกษตรกรรม
  • 20. 15 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ การพัฒนาสาธารณูปการในนิคมอุตสาหกรรมล่าช้ามาก พึ่งมีการพัฒนาอย่างจริงจังใน สมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ที่เป็นปัญหาที่สุดคือการป้องกันมลพิษที่ล้มเหลว แม้จะมีเขตกันชน เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของมลพิษแต่สุดท้ายเนื่องด้วยการแทรกแซงจากการเมือง ทาให้เขตกันชนนี้ถูกยกเลิก จะเห็นได้ว่าการพัฒนาเฉพาะพื้นที่ที่กาหนดโดยพัฒนา อย่างรอบด้านไม่ว่าจะเป็นการขนส่งคมนาคม สาธารณูปการและสาธารณูปโภคต่าง ๆ ทาให้ในปัจจุบันพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมชายฝั่งทะเลตะวันออก กลายเป็นแหล่งสร้าง รายได้สาคัญแก่ประชาชนในพื้นที่ซึ่งทัดเทียมกับรายได้ของประชากรในกรุงเทพฯ แรงงาน: มีแรงงานเพียงพอต่อความต้องการเนื่องจากมีแรงงานจานวนมากที่ย้ายมา จากภาคชนบทเข้าสู่นิคมอุตสาหกรรม แต่ภายหลังเกิดปัญหาขาดแคลนแรงงานที่มา จากภาคอาชีวศึกษาและสายอาชีพวิศวกร รัฐบาลจึงแก้ปัญหาด้วยการสร้างโรงเรียนและ มหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้น การขับเคลื่อนโครงการ: จุดเด่นของรัฐบาลในยุคนั้นคือการมีนายกรัฐมนตรีคนเดียว อยู่ในตาแหน่งต่อเนื่อง 9 ปี (มีนาคม 2523-สิงหาคม 2531) และกลุ่มข้าราชการที่ดูแล โครงการก็เป็นกลุ่มเดิม ทาให้มีความต่อเนื่องในการบริหารโครงการ ไทยใช้เวลาเจรจา กับรัฐบาลญี่ปุ่นอย่างต่อเนื่องอยู่หลายปี รวมทั้งมีการเจรจากับหอการค้าและภาคเอกชน ญี่ปุ่นด้วย โดยมีการจัดทาแผนและปรับปรุงแผนเสนอไปยังญี่ปุ่นหลายครั้งจนสาเร็จใน ที่สุด ส่วนกระแสต่อต้านจากภายในประเทศนั้น พ.อ.เปรมวางยุทธศาสตร์ให้โฆษก รัฐบาลและปลัดกระทรวงมหาดไทยในขณะนั้นเป็นผู้รับหน้าไว้ เพื่อให้รัฐบาลสามารถ ดาเนินงานต่อไปได้โดยลดแรงเสียดทานให้เหลือน้อยที่สุด 2) ปัจจัยแวดล้อมด้านการจัดทานโยบาย 10 อุตสาหกรรม บริบททั้งแปดด้านที่กล่าวมาข้างต้น คือบริบทของนโยบายพัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันออก ที่ทาให้โครงการดังกล่าวประสบความสาเร็จ ซึ่งเราสามารถนามาเทียบกับบริบทปัจจุบันที่ รัฐบาลจะดาเนินโครงการ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายได้ดังนี้ ภาวะเศรษฐกิจและการเมือง: มีแรงกดดันคล้ายคลึงกันจากภาวะเศรษฐกิจตกต่า แต่ ที่ต่างออกไปคือเราไม่ได้มีจุดเด่นเรื่องการค้าเสรีและเข้าถึงทุนนิยมมากกว่าชาติเพื่อน บ้านเหมือนในยุครัฐบาล พ.อ.เปรม อีกแล้ว และโชคยังดีที่ความตกลงหุ้นส่วน ยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (TPP) ที่เวียดนามและมาเลเซียเข้าร่วมนั้นมี แนวโน้มที่จะล้มเหลว ซึ่งหากความตกลงนี้บรรลุด้วยดีไทยจะเสียเปรียบมากเพราะ