SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 6
Descargar para leer sin conexión
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
ผู้ช่วยนักวิจัย
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
หากจะกล่าวถึง Think Tank คานี้ย่อมหมายถึงคลังสมองที่เป็นแหล่งสร้างองค์ความรู้ อันก่อให้เกิดการ
พัฒนาในด้านต่างๆ โดยเฉพาะในปัจจุบัน คลังสมองได้กลายเป็นสถาบันที่มีบทบาทสาคัญอย่างมากต่อ
กระบวนการกาหนดนโยบายสาธารณะ ทั้งนี้ก็ด้วยการศึกษาและวิจัยเพื่อเสนอทางเลือกที่เหมาะสมสาหรับการ
พัฒนาและการแก้ไขปัญหาในสังคม ดังนั้น ในการสร้างความก้าวหน้าทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม จึงมี
ความจาเป็นอย่างยิ่งที่ประเทศต่างๆ รวมทั้งประเทศไทยจะต้องให้ความสาคัญกับสนับสนุนให้เกิดสถาบันคลัง
สมองที่มีความเชี่ยวชาญในหลากหลายสาขาอย่างต่อเนื่อง เพราะคลังสมองเป็นเสมือนกลไกสาคัญที่จะนาไปสู่
ความสาเร็จแห่งการพัฒนา ดังจะเห็นได้ชัดเจนจากการที่ประเทศพัฒนาแล้วแทบทั้งหมดล้วนก้าวข้ามความล้า
หลังได้โดยการมีสถาบันคลังสมองที่ผลิตองค์ความรู้ใหม่ๆ ออกมาสม่าเสมอ ซึ่งปัจจุบันประเทศเหล่านี้มีจานวน
คลังสมองรวมนับร้อยแห่ง
การจัดอันดับคลังสมอง (Think Tank) ทั่วโลกประจาปีค.ศ. 2014
จากการดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดย The Lauder Institute ของมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย พบว่า
ในปีค.ศ. 2014 คลังสมองทั่วโลกมีจานวนทั้งหมด 6,618 แห่ง โดยภูมิภาคอเมริกาเหนือมีจานวนมากที่สุด 1,989
แห่ง รองลงมาคือยุโรป มีจานวน 1,822 แห่ง เอเชียจานวน 1,106 แห่ง อเมริกากลางและใต้จานวน 674 แห่ง
ตะวันออกกลางและอเมริกาเหนือ 521 แห่ง ภูมิภาคแอฟริกาจานวน 467 แห่ง และน้อยที่สุดคือโอเชียเนีย มี
เพียง 39 แห่งเท่านั้น โดยประเทศที่มีคลังสมองมากที่สุดยังคงเป็นสหรัฐอเมริกา มีจานวนทั้งสิ้น 1,830 แห่ง
รองลงมาคือ ประเทศจีนและประเทศอังกฤษ มีคลังสมอง 429 และ 287 แห่งตามลาดับ ในขณะเดียวกัน ประเทศ
ที่เหลือส่วนใหญ่ในโลกล้วนมีจานวนคลังสมองโดยเฉลี่ยไม่ถึง 100 สถาบัน ทั้งนี้ไทยก็เป็นหนึ่งในประเทศ
เหล่านั้น โดยปัจจุบันคลังสมองเพียง 8 แห่ง ซึ่งถือว่ายังเป็นสัดส่วนที่สะท้อนถึงการพัฒนาในระดับค่อนข้างต่า
จากการสารวจและเก็บข้อมูล มีการรายงานว่าคลังสมองที่ดีที่สุดในโลกประจาปีค.ศ. 2014 คือ Brook-
ings Institution ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งปัจจุบันภูมิภาคอเมริกาเหนือและยุโรปก็ยังคงผูกขาดการเป็นผู้นาด้าน
สถาบันคลังสมองที่มีคุณภาพอันดับต้นๆ ของโลกมาโดยตลอด อย่างไรก็ตาม ประเทศในเอเชียก็ได้เดินหน้า
พัฒนาสถาบันคลังสมองอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะญี่ปุ่นและจีนที่ล่าสุดในปี ค.ศ. 2014 สถาบันคลังสมองของทั้ง
สองประเทศได้ก้าวขึ้นมาติดอันดับ 20 อันดับแรกของโลก
โดย นางสาว จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
ผู้ช่วยนักวิจัยโครงการคลังปัญญาฯ
3โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
นอกจากข้อมูลที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ในการจัดอันดับคลังสมองทั่วโลกครั้งนี้ยังมีตัวชี้วัดที่ประกอบ
ไปด้วยหลักเกณฑ์ที่หลากหลายและแตกต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น
 คลังสมองที่ดีที่สุดในกรณีที่ไม่รวมสหรัฐอเมริกาคือ Chatham House ของสหราชอาณาจักร
 คลังสมองที่ดีที่สุดในกรณีที่นับเฉพาะจีน อินเดีย ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ คือ Korea Development
Institute (KDI) ของเกาหลีใต้
 คลังสมองที่ดีที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแปซิฟิก คือ Australian Institute for Inter-
national Affairs (AIIA) ของออสเตรเลีย นอกจากนี้ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
ของไทยก็ได้รับการจัดอันดับให้เป็นหนึ่งในสถาบันคลังสมองที่ดีที่สุดตามเกณฑ์นี้ด้วยเช่นกัน โดย
อยู่ในอันดับที่ 15
 คลังสมองที่ดีที่สุดทางด้านนโยบายเศรษฐกิจภายในประเทศ คือ Brookings Institution ของ
สหรัฐอเมริกา
 คลังสมองที่ดีที่สุดทางด้านนโยบายการศึกษา คือ Urban Institute ของสหรัฐอเมริกา ทั้งนี้
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ของไทยอยู่ในอันดับที่ 20
 คลังสมองที่ดีที่สุดทางด้านนโยบายพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ คือ Oxford Institute for Ener-
gy Studies (OIES) ของอังกฤษ ทั้งนี้ Center for Energy Environment Resources Develop-
ment (CEERD) ของไทยติดอันดับที่ 20
 คลังสมองที่ดีที่สุดด้านสิ่งแวดล้อม คือ World Resources Institute (WRI) อย่างไรก็ตาม การ
สารวจครั้งนี้พบว่าสถาบันคลังสมองจากแอฟริกาก็สามารถพัฒนาจนติดอันดับด้วย สถาบันดัง
กล่าวคือ United Nations Environment Programme (UNEP) จากประเทศเคนย่า โดยอยู่ในอันดับ
ที่ 16
 คลังสมองที่ดีที่สุดด้านนโยบายต่างประเทศและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คือ Brookings Insti-
tution ของสหรัฐอเมริกา
 คลังสมองที่ดีที่สุดด้านนโยบายสาธารณสุขภายในประเทศ คือ Cambridge Centre for Health Ser-
vices Research (CCHSR) ของอังกฤษ
 คลังสมองที่ดีที่สุดด้านนโยบายสาธารณสุขระดับสากล ยังคงเป็น Cambridge Centre for Health
Services Research (CCHSR) ของอังกฤษ
 คลังสมองที่ดีที่สุดด้านการพัฒนาระหว่างประเทศ คือ Brookings Institution ของสหรัฐอเมริกา
 สถาบันคลังสมองที่ดีที่สุดด้านนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ คือ Peterson Institute for Inter-
national Economies (PIIE) ของสหรัฐอเมริกา
 คลังสมองที่ดีที่สุดด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คือ Max Planck Institute ของเยอรมัน
 คลังสมองที่ดีที่สุดด้านนโยบายทางสังคม คือ Urban Institute ของสหรัฐอเมริกา
 คลังสมองที่ดีที่สุดด้านการพัฒนาแนวทางและกระบวนทัศน์ใหม่ คือ Camegie Endowment for
International Peace ของสหรัฐอเมริกา
 คลังสมองที่ดีที่สุดด้านการสร้างเครือข่าย คือ Konrad Adenauer Foundation (KAS) ของเยอรมัน
 คลังสมองหน้าใหม่ที่ดีที่สุด คือ Borde Politico โดยสถาบันคลังสมองที่อยู่ในกลุ่มนี้มีความน่าสนใจ
ตรงที่ส่วนใหญ่แล้วล้วนมาจากประเทศกาลังพัฒนาทั่วโลก เช่น เคนย่า ชิลี อิรัก หรือแม้กระทั่งพม่า
ซึ่งถือเป็นแนวโน้มที่ดีที่นโยบายการพัฒนาสถาบันคลังสมองใหม่ๆ ได้รับความสนใจจากประเทศ
เหล่านี้มากขึ้นเรื่อยๆ
4
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
ความเป็นมาและการริเริ่มคลังสมอง (Think Tank)
การก่อตั้งคลังสมอง (Think Tank) หรือสถาบันวิจัยนโยบายเริ่มต้นครั้งแรกในอังกฤษ โดยมี
วิวัฒนาการมาจากการตั้งสถาบันวิจัย Royal United Services Institute for Defense and Security
ในปีค.ศ. 1863 ซึ่งมีภารกิจหลักเกี่ยวกับการดูแลความมั่นคงของประเทศ แต่ยังถือว่าสถาบัน
ดังกล่าวมิได้มีฐานะเป็นคลังสมองอย่างสมบูรณ์เท่าใดนัก จนกระทั่งต้นทศวรรษที่ 1910 ได้เกิด Fa-
bian Society ซึ่งเป็นกระแสแนวคิดสังคมนิยมในอังกฤษโดยเริ่มต้นมาจากพรรคแรงงาน มี
วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการตั้งคณะกรรมการแรงงานและขยายอิทธิพลของสังคมนิยมในคณะ
รัฐบาล แนวคิดดังกล่าวได้รับความนิยมอย่างมากจนขยายไปยังสหรัฐอเมริกา ซึ่งต่อมาได้มีการตั้ง
Fabian Society เป็นสถาบันคลังสมองอย่างเป็นทางการแห่งแรกในสหรัฐอเมริกา นับตั้งแต่ที่มีการ
ริเริ่มก่อตั้งครั้งแรกในอังกฤษจนถึงช่วงสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปีค.ศ. 1945 มีคลังสมองเกิดขึ้น
ทั่วโลกนับได้ราว 12 แห่ง ซึ่งส่วนใหญ่ยังมีวงจากัดอยู่ในภูมิภาคอเมริกาเหนือและยุโรป โดยในช่วง
สงครามโลกครั้งที่ 2 ฝ่ายต่างๆ ได้ตั้ง War Room ขึ้นมาเพื่อทาหน้าที่กาหนดนโยบายและ
ยุทธศาสตร์การทหารและการต่างประเทศควบคู่กัน หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มหายุทธศาสตร์
(Grand Strategy) ซึ่งการดาเนินงานของ War Room ดังกล่าวมีลักษณะแบบคลังสมองและต่อมาได้
พัฒนามาเป็นสถาบันวิจัยนโยบาย (Policy Institute)
คลังสมอง(Think Tank) ในประเทศต่างๆ
1. สหรัฐอเมริกา
ในช่วงแรกเริ่มคลังสมองในสหรัฐอเมริกาตั้งขึ้นโดยได้รับอิทธิพลมาจากอังกฤษ ปัจจุบัน
สหรัฐอเมริกายังเป็นประเทศที่มีคลังสมองมากที่สุดถึง 1,830 แห่งซึ่งล้วนแล้วแต่มีคุณภาพติดอันดับ
โลกในหลายสาขา คลังสมองเหล่านี้ทางานแบบอิสระ (Independent) เงินสนับสนุนส่วนใหญ่มาจาก
ภาคเอกชน โดยหนึ่งในสถาบันคลังสมองที่มีความโดดเด่นในขณะนี้ คือ Rand Corporation มีฐานะ
เป็น Comprehensive Think Tank ที่เน้นการวิจัยและพัฒนาแบบบูรณาการทุกสาขา ซึ่งมีเป้าหมาย
หลักเพื่อให้บริการต่อสาธารณะและเน้นความโปร่งใส ด้วยเหตุนี้ ในการทาวิจัยทุกครั้งจึงต้องเปิดเผย
ข้อมูลแก่ประชาชนเสมอ
2. จีน
ปัจจุบันจีนพยายามสร้างบทบาทในระดับสากลจึงจาเป็นต้องใช้คลังสมองเพื่อทาวิจัยเชิง
นโยบายและพัฒนาในด้านต่างๆ ส่งผลให้ให้การขยายตัวของคลังสมองในจีนเพิ่มขึ้นแบบก้าว
กระโดดจากเดิมที่มีเพียง 75 แห่งขึ้นมาเป็น 429 แห่ง ซึ่งมากเป็นอันดับ 2 ของโลกในปีค.ศ. 2014
โดยคลังสมองที่ดีที่สุดของจีนคือ Development Research Center of the State Council (DRC)
3. ภูมิภาคละตินอเมริกาและตะวันออกกลาง
ภูมิภาคละตินอเมริกามีอัตราการเกิดใหม่และเติบโตของคลังสมองอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดย
ปีที่ผ่านมามีจานวนเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเช่น ในบราซิล เม็กซิโก เปรู ขณะที่ในภูมิภาคตะวันออกกลาง
ยังคงมีจานวนคลังสมองเท่าเดิมและส่วนใหญ่กระจุกตัวอยู่ในประเทศที่ค่อนข้างพัฒนา เช่น อียิปต์
อิสราเอล จอร์แดน
5โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สถานการณ์คลังสมองในประเทศไทยและแนวโน้มการพัฒนา
ปัจจุบัน ประเทศไทยเริ่มมีแนวโน้มตื่นตัวในการพัฒนาคลังสมองทีละน้อย เนื่องจากมี
เป้าหมายเพื่อให้หน่วยงานเหล่านี้ทาหน้าที่ศึกษา วิจัย และวิเคราะห์นโยบายสาธารณะทั้งที่เป็น
ประเด็นภายในและระหว่างประเทศเพื่อนาไปสู่ข้อเสนอเชิงนโยบายที่สนองตอบปัญหาและก่อให้เกิด
การพัฒนา โดยคลังสมองของประเทศไทยในปัจจุบันที่ถูกจัดอันดับในระดับสากลมีทั้งหมด 8 แห่ง
ได้แก่
1. สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือ Thailand Development Research Institute
(TDRI)
2. สถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ หรือ Institute of Security and International Studied
(ISIS)
3. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU)
4. Chula Global Network (CGN) ในสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
5. Center for Energy Environment Resources Development (CEERD)
6. Thailand Environment Institute (TEI)
7. Asia Pacific Research and Training Network on Trade (ARTNet)
8. International Institute for Trade and Development (ITD)
อย่างไรก็ตาม การพัฒนาสถาบันคลังสมองในไทยก็ยังมีข้อจากัดอยู่ไม่น้อย เงื่อนไขสาคัญ
ประการหนึ่งคือการที่ภาคส่วนต่างๆ ไม่ให้ความสาคัญกับการศึกษาวิจัยในเรื่องนโยบายรวมถึงไม่มี
กระบวนการกระตุ้นให้เกิดการคิด ถกเถียงและวิพากษ์วิจารณ์บนพื้นฐานของการใช้ความรู้และ
งานวิจัย สังคมจึงยังไม่มีค่านิยมแห่งการแสวงหาความรู้ นอกจากนั้นภาครัฐยังสนใจแต่เพียงปัญหา
และสถานการณ์ภายในประเทศมากเกินไปโดยมิได้เชื่อมโยงปัญหาภายในเหล่านั้นเข้ากับความ
เคลื่อนไหวระหว่างประเทศซึ่งตามหลักการแล้วคลังสมองควรทางานทั้งใน 2 มิติประกอบกัน เงื่อนไข
ทั้งสองประการข้างต้นจึงเป็นอุปสรรคสาคัญที่ทาให้คลังสมองในประเทศไทยมิอาจพัฒนาได้เท่าที่ควร
แม้จะมีอุปสรรคในการพัฒนา แต่รัฐบาลไทยก็มีความพยายามสร้างความร่วมมือด้านคลัง
สมองกับต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง โดยมีสถาบันการต่างประเทศสราญรมย์ สังกัดกระทรวงการ
ต่างประเทศเป็นหัวหอกสาคัญในการเดินหน้าสร้างเครือข่ายความร่วมมือโดยการทาบันทึกความเข้าใจ
(Memorandum of Understanding: MOU) กับคลังสมองชั้นนาระดับโลกซึ่งปัจจุบันมีสถาบันคลังสมอง
ที่เป็นเครือข่ายกับไทยมากกว่า 20 แห่ง เช่น Brooking CSIS AEI Heritage Foundation เป็นต้น
ทั้งนี้ ความก้าวหน้าด้านความร่วมมือดังกล่าวได้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมในการประชุม Thailand-US
Think Tank Summit ในปีค.ศ. 2008 ซึ่งนอกจากจะเป็นการฉลองความสัมพันธ์-สหรัฐอเมริกา
ครบรอบ 175 ปีแล้ว ยังเป็นการสร้างเครือข่ายระหว่างคลังสมองไทย-สหรัฐอเมริกาอย่างเป็นทางการ
ครั้งแรกอีกด้วย
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
6
เอกสารอ้างอิง
James G. McGann, (2015). 2014 Global Go To Think Tank Index Report. Pennsylvania:
Think Tanks and Civil Societies Program The Lauder Institute, University of
Pennsylvania.
ปาริชาติ โชคเกิด. 2554. บทบาท “Think Tanks” ในการพัฒนาประเทศ (ออนไลน์). แหล่งที่มา:
http://www.siamintelligence.com/think-tanks/. 1 เมษายน 2558.
ภาพหน้าปก
ที่มา: Think Tanks and Civil Societies Program The Lauder Institute, University
of Pennsylvania และ Sheffield Urban Think Tank
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยรังสิต
อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064

Más contenido relacionado

Más de Klangpanya

World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKlangpanya
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfKlangpanya
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfKlangpanya
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfKlangpanya
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....Klangpanya
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชKlangpanya
 

Más de Klangpanya (20)

World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdf
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
 

คลังสมอง (Think Tank) : พัฒนาการและการจัดอันดับปีล่าสุด

  • 2. 2โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต หากจะกล่าวถึง Think Tank คานี้ย่อมหมายถึงคลังสมองที่เป็นแหล่งสร้างองค์ความรู้ อันก่อให้เกิดการ พัฒนาในด้านต่างๆ โดยเฉพาะในปัจจุบัน คลังสมองได้กลายเป็นสถาบันที่มีบทบาทสาคัญอย่างมากต่อ กระบวนการกาหนดนโยบายสาธารณะ ทั้งนี้ก็ด้วยการศึกษาและวิจัยเพื่อเสนอทางเลือกที่เหมาะสมสาหรับการ พัฒนาและการแก้ไขปัญหาในสังคม ดังนั้น ในการสร้างความก้าวหน้าทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม จึงมี ความจาเป็นอย่างยิ่งที่ประเทศต่างๆ รวมทั้งประเทศไทยจะต้องให้ความสาคัญกับสนับสนุนให้เกิดสถาบันคลัง สมองที่มีความเชี่ยวชาญในหลากหลายสาขาอย่างต่อเนื่อง เพราะคลังสมองเป็นเสมือนกลไกสาคัญที่จะนาไปสู่ ความสาเร็จแห่งการพัฒนา ดังจะเห็นได้ชัดเจนจากการที่ประเทศพัฒนาแล้วแทบทั้งหมดล้วนก้าวข้ามความล้า หลังได้โดยการมีสถาบันคลังสมองที่ผลิตองค์ความรู้ใหม่ๆ ออกมาสม่าเสมอ ซึ่งปัจจุบันประเทศเหล่านี้มีจานวน คลังสมองรวมนับร้อยแห่ง การจัดอันดับคลังสมอง (Think Tank) ทั่วโลกประจาปีค.ศ. 2014 จากการดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดย The Lauder Institute ของมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย พบว่า ในปีค.ศ. 2014 คลังสมองทั่วโลกมีจานวนทั้งหมด 6,618 แห่ง โดยภูมิภาคอเมริกาเหนือมีจานวนมากที่สุด 1,989 แห่ง รองลงมาคือยุโรป มีจานวน 1,822 แห่ง เอเชียจานวน 1,106 แห่ง อเมริกากลางและใต้จานวน 674 แห่ง ตะวันออกกลางและอเมริกาเหนือ 521 แห่ง ภูมิภาคแอฟริกาจานวน 467 แห่ง และน้อยที่สุดคือโอเชียเนีย มี เพียง 39 แห่งเท่านั้น โดยประเทศที่มีคลังสมองมากที่สุดยังคงเป็นสหรัฐอเมริกา มีจานวนทั้งสิ้น 1,830 แห่ง รองลงมาคือ ประเทศจีนและประเทศอังกฤษ มีคลังสมอง 429 และ 287 แห่งตามลาดับ ในขณะเดียวกัน ประเทศ ที่เหลือส่วนใหญ่ในโลกล้วนมีจานวนคลังสมองโดยเฉลี่ยไม่ถึง 100 สถาบัน ทั้งนี้ไทยก็เป็นหนึ่งในประเทศ เหล่านั้น โดยปัจจุบันคลังสมองเพียง 8 แห่ง ซึ่งถือว่ายังเป็นสัดส่วนที่สะท้อนถึงการพัฒนาในระดับค่อนข้างต่า จากการสารวจและเก็บข้อมูล มีการรายงานว่าคลังสมองที่ดีที่สุดในโลกประจาปีค.ศ. 2014 คือ Brook- ings Institution ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งปัจจุบันภูมิภาคอเมริกาเหนือและยุโรปก็ยังคงผูกขาดการเป็นผู้นาด้าน สถาบันคลังสมองที่มีคุณภาพอันดับต้นๆ ของโลกมาโดยตลอด อย่างไรก็ตาม ประเทศในเอเชียก็ได้เดินหน้า พัฒนาสถาบันคลังสมองอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะญี่ปุ่นและจีนที่ล่าสุดในปี ค.ศ. 2014 สถาบันคลังสมองของทั้ง สองประเทศได้ก้าวขึ้นมาติดอันดับ 20 อันดับแรกของโลก โดย นางสาว จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ช่วยนักวิจัยโครงการคลังปัญญาฯ
  • 3. 3โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต นอกจากข้อมูลที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ในการจัดอันดับคลังสมองทั่วโลกครั้งนี้ยังมีตัวชี้วัดที่ประกอบ ไปด้วยหลักเกณฑ์ที่หลากหลายและแตกต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น  คลังสมองที่ดีที่สุดในกรณีที่ไม่รวมสหรัฐอเมริกาคือ Chatham House ของสหราชอาณาจักร  คลังสมองที่ดีที่สุดในกรณีที่นับเฉพาะจีน อินเดีย ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ คือ Korea Development Institute (KDI) ของเกาหลีใต้  คลังสมองที่ดีที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแปซิฟิก คือ Australian Institute for Inter- national Affairs (AIIA) ของออสเตรเลีย นอกจากนี้ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ของไทยก็ได้รับการจัดอันดับให้เป็นหนึ่งในสถาบันคลังสมองที่ดีที่สุดตามเกณฑ์นี้ด้วยเช่นกัน โดย อยู่ในอันดับที่ 15  คลังสมองที่ดีที่สุดทางด้านนโยบายเศรษฐกิจภายในประเทศ คือ Brookings Institution ของ สหรัฐอเมริกา  คลังสมองที่ดีที่สุดทางด้านนโยบายการศึกษา คือ Urban Institute ของสหรัฐอเมริกา ทั้งนี้ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ของไทยอยู่ในอันดับที่ 20  คลังสมองที่ดีที่สุดทางด้านนโยบายพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ คือ Oxford Institute for Ener- gy Studies (OIES) ของอังกฤษ ทั้งนี้ Center for Energy Environment Resources Develop- ment (CEERD) ของไทยติดอันดับที่ 20  คลังสมองที่ดีที่สุดด้านสิ่งแวดล้อม คือ World Resources Institute (WRI) อย่างไรก็ตาม การ สารวจครั้งนี้พบว่าสถาบันคลังสมองจากแอฟริกาก็สามารถพัฒนาจนติดอันดับด้วย สถาบันดัง กล่าวคือ United Nations Environment Programme (UNEP) จากประเทศเคนย่า โดยอยู่ในอันดับ ที่ 16  คลังสมองที่ดีที่สุดด้านนโยบายต่างประเทศและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คือ Brookings Insti- tution ของสหรัฐอเมริกา  คลังสมองที่ดีที่สุดด้านนโยบายสาธารณสุขภายในประเทศ คือ Cambridge Centre for Health Ser- vices Research (CCHSR) ของอังกฤษ  คลังสมองที่ดีที่สุดด้านนโยบายสาธารณสุขระดับสากล ยังคงเป็น Cambridge Centre for Health Services Research (CCHSR) ของอังกฤษ  คลังสมองที่ดีที่สุดด้านการพัฒนาระหว่างประเทศ คือ Brookings Institution ของสหรัฐอเมริกา  สถาบันคลังสมองที่ดีที่สุดด้านนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ คือ Peterson Institute for Inter- national Economies (PIIE) ของสหรัฐอเมริกา  คลังสมองที่ดีที่สุดด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คือ Max Planck Institute ของเยอรมัน  คลังสมองที่ดีที่สุดด้านนโยบายทางสังคม คือ Urban Institute ของสหรัฐอเมริกา  คลังสมองที่ดีที่สุดด้านการพัฒนาแนวทางและกระบวนทัศน์ใหม่ คือ Camegie Endowment for International Peace ของสหรัฐอเมริกา  คลังสมองที่ดีที่สุดด้านการสร้างเครือข่าย คือ Konrad Adenauer Foundation (KAS) ของเยอรมัน  คลังสมองหน้าใหม่ที่ดีที่สุด คือ Borde Politico โดยสถาบันคลังสมองที่อยู่ในกลุ่มนี้มีความน่าสนใจ ตรงที่ส่วนใหญ่แล้วล้วนมาจากประเทศกาลังพัฒนาทั่วโลก เช่น เคนย่า ชิลี อิรัก หรือแม้กระทั่งพม่า ซึ่งถือเป็นแนวโน้มที่ดีที่นโยบายการพัฒนาสถาบันคลังสมองใหม่ๆ ได้รับความสนใจจากประเทศ เหล่านี้มากขึ้นเรื่อยๆ
  • 4. 4 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ ความเป็นมาและการริเริ่มคลังสมอง (Think Tank) การก่อตั้งคลังสมอง (Think Tank) หรือสถาบันวิจัยนโยบายเริ่มต้นครั้งแรกในอังกฤษ โดยมี วิวัฒนาการมาจากการตั้งสถาบันวิจัย Royal United Services Institute for Defense and Security ในปีค.ศ. 1863 ซึ่งมีภารกิจหลักเกี่ยวกับการดูแลความมั่นคงของประเทศ แต่ยังถือว่าสถาบัน ดังกล่าวมิได้มีฐานะเป็นคลังสมองอย่างสมบูรณ์เท่าใดนัก จนกระทั่งต้นทศวรรษที่ 1910 ได้เกิด Fa- bian Society ซึ่งเป็นกระแสแนวคิดสังคมนิยมในอังกฤษโดยเริ่มต้นมาจากพรรคแรงงาน มี วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการตั้งคณะกรรมการแรงงานและขยายอิทธิพลของสังคมนิยมในคณะ รัฐบาล แนวคิดดังกล่าวได้รับความนิยมอย่างมากจนขยายไปยังสหรัฐอเมริกา ซึ่งต่อมาได้มีการตั้ง Fabian Society เป็นสถาบันคลังสมองอย่างเป็นทางการแห่งแรกในสหรัฐอเมริกา นับตั้งแต่ที่มีการ ริเริ่มก่อตั้งครั้งแรกในอังกฤษจนถึงช่วงสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปีค.ศ. 1945 มีคลังสมองเกิดขึ้น ทั่วโลกนับได้ราว 12 แห่ง ซึ่งส่วนใหญ่ยังมีวงจากัดอยู่ในภูมิภาคอเมริกาเหนือและยุโรป โดยในช่วง สงครามโลกครั้งที่ 2 ฝ่ายต่างๆ ได้ตั้ง War Room ขึ้นมาเพื่อทาหน้าที่กาหนดนโยบายและ ยุทธศาสตร์การทหารและการต่างประเทศควบคู่กัน หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มหายุทธศาสตร์ (Grand Strategy) ซึ่งการดาเนินงานของ War Room ดังกล่าวมีลักษณะแบบคลังสมองและต่อมาได้ พัฒนามาเป็นสถาบันวิจัยนโยบาย (Policy Institute) คลังสมอง(Think Tank) ในประเทศต่างๆ 1. สหรัฐอเมริกา ในช่วงแรกเริ่มคลังสมองในสหรัฐอเมริกาตั้งขึ้นโดยได้รับอิทธิพลมาจากอังกฤษ ปัจจุบัน สหรัฐอเมริกายังเป็นประเทศที่มีคลังสมองมากที่สุดถึง 1,830 แห่งซึ่งล้วนแล้วแต่มีคุณภาพติดอันดับ โลกในหลายสาขา คลังสมองเหล่านี้ทางานแบบอิสระ (Independent) เงินสนับสนุนส่วนใหญ่มาจาก ภาคเอกชน โดยหนึ่งในสถาบันคลังสมองที่มีความโดดเด่นในขณะนี้ คือ Rand Corporation มีฐานะ เป็น Comprehensive Think Tank ที่เน้นการวิจัยและพัฒนาแบบบูรณาการทุกสาขา ซึ่งมีเป้าหมาย หลักเพื่อให้บริการต่อสาธารณะและเน้นความโปร่งใส ด้วยเหตุนี้ ในการทาวิจัยทุกครั้งจึงต้องเปิดเผย ข้อมูลแก่ประชาชนเสมอ 2. จีน ปัจจุบันจีนพยายามสร้างบทบาทในระดับสากลจึงจาเป็นต้องใช้คลังสมองเพื่อทาวิจัยเชิง นโยบายและพัฒนาในด้านต่างๆ ส่งผลให้ให้การขยายตัวของคลังสมองในจีนเพิ่มขึ้นแบบก้าว กระโดดจากเดิมที่มีเพียง 75 แห่งขึ้นมาเป็น 429 แห่ง ซึ่งมากเป็นอันดับ 2 ของโลกในปีค.ศ. 2014 โดยคลังสมองที่ดีที่สุดของจีนคือ Development Research Center of the State Council (DRC) 3. ภูมิภาคละตินอเมริกาและตะวันออกกลาง ภูมิภาคละตินอเมริกามีอัตราการเกิดใหม่และเติบโตของคลังสมองอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดย ปีที่ผ่านมามีจานวนเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเช่น ในบราซิล เม็กซิโก เปรู ขณะที่ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ยังคงมีจานวนคลังสมองเท่าเดิมและส่วนใหญ่กระจุกตัวอยู่ในประเทศที่ค่อนข้างพัฒนา เช่น อียิปต์ อิสราเอล จอร์แดน
  • 5. 5โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สถานการณ์คลังสมองในประเทศไทยและแนวโน้มการพัฒนา ปัจจุบัน ประเทศไทยเริ่มมีแนวโน้มตื่นตัวในการพัฒนาคลังสมองทีละน้อย เนื่องจากมี เป้าหมายเพื่อให้หน่วยงานเหล่านี้ทาหน้าที่ศึกษา วิจัย และวิเคราะห์นโยบายสาธารณะทั้งที่เป็น ประเด็นภายในและระหว่างประเทศเพื่อนาไปสู่ข้อเสนอเชิงนโยบายที่สนองตอบปัญหาและก่อให้เกิด การพัฒนา โดยคลังสมองของประเทศไทยในปัจจุบันที่ถูกจัดอันดับในระดับสากลมีทั้งหมด 8 แห่ง ได้แก่ 1. สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือ Thailand Development Research Institute (TDRI) 2. สถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ หรือ Institute of Security and International Studied (ISIS) 3. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU) 4. Chula Global Network (CGN) ในสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5. Center for Energy Environment Resources Development (CEERD) 6. Thailand Environment Institute (TEI) 7. Asia Pacific Research and Training Network on Trade (ARTNet) 8. International Institute for Trade and Development (ITD) อย่างไรก็ตาม การพัฒนาสถาบันคลังสมองในไทยก็ยังมีข้อจากัดอยู่ไม่น้อย เงื่อนไขสาคัญ ประการหนึ่งคือการที่ภาคส่วนต่างๆ ไม่ให้ความสาคัญกับการศึกษาวิจัยในเรื่องนโยบายรวมถึงไม่มี กระบวนการกระตุ้นให้เกิดการคิด ถกเถียงและวิพากษ์วิจารณ์บนพื้นฐานของการใช้ความรู้และ งานวิจัย สังคมจึงยังไม่มีค่านิยมแห่งการแสวงหาความรู้ นอกจากนั้นภาครัฐยังสนใจแต่เพียงปัญหา และสถานการณ์ภายในประเทศมากเกินไปโดยมิได้เชื่อมโยงปัญหาภายในเหล่านั้นเข้ากับความ เคลื่อนไหวระหว่างประเทศซึ่งตามหลักการแล้วคลังสมองควรทางานทั้งใน 2 มิติประกอบกัน เงื่อนไข ทั้งสองประการข้างต้นจึงเป็นอุปสรรคสาคัญที่ทาให้คลังสมองในประเทศไทยมิอาจพัฒนาได้เท่าที่ควร แม้จะมีอุปสรรคในการพัฒนา แต่รัฐบาลไทยก็มีความพยายามสร้างความร่วมมือด้านคลัง สมองกับต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง โดยมีสถาบันการต่างประเทศสราญรมย์ สังกัดกระทรวงการ ต่างประเทศเป็นหัวหอกสาคัญในการเดินหน้าสร้างเครือข่ายความร่วมมือโดยการทาบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding: MOU) กับคลังสมองชั้นนาระดับโลกซึ่งปัจจุบันมีสถาบันคลังสมอง ที่เป็นเครือข่ายกับไทยมากกว่า 20 แห่ง เช่น Brooking CSIS AEI Heritage Foundation เป็นต้น ทั้งนี้ ความก้าวหน้าด้านความร่วมมือดังกล่าวได้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมในการประชุม Thailand-US Think Tank Summit ในปีค.ศ. 2008 ซึ่งนอกจากจะเป็นการฉลองความสัมพันธ์-สหรัฐอเมริกา ครบรอบ 175 ปีแล้ว ยังเป็นการสร้างเครือข่ายระหว่างคลังสมองไทย-สหรัฐอเมริกาอย่างเป็นทางการ ครั้งแรกอีกด้วย
  • 6. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 6 เอกสารอ้างอิง James G. McGann, (2015). 2014 Global Go To Think Tank Index Report. Pennsylvania: Think Tanks and Civil Societies Program The Lauder Institute, University of Pennsylvania. ปาริชาติ โชคเกิด. 2554. บทบาท “Think Tanks” ในการพัฒนาประเทศ (ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://www.siamintelligence.com/think-tanks/. 1 เมษายน 2558. ภาพหน้าปก ที่มา: Think Tanks and Civil Societies Program The Lauder Institute, University of Pennsylvania และ Sheffield Urban Think Tank ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยรังสิต อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064