SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 17
Descargar para leer sin conexión
มมมมมม2559 l มมมมม2
CHATHAM HOUSE การวางแผนด้านนวัตกรรมของจีนที่มุ่งสู่ความสาเร็จด้านสิ่งแวดล้อม
BROOKINGS  จีนในฐานะผู้ลงทุนรายใหญ่ของโลก
World
Think Tank
Monitor ปี ที่ 3 ฉบับที่ 1
โมเดล
พรรค
การเมือง
อิสลาม
จีน-รัสเซีย
ศัตรูและ
พันธมิตร
ของตะวันตก
บทเรียนความสัมพันธ์
จีน-อเมริกา
จาก Kissinger และ Albright
ปรับปรุง
ประชาธิปไตย
ด้วยความคิด
ตะวันตกและ
ตะวันออก
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทบรรณาธิการ
สวัสดีท่านผู้อ่านที่น่ารักทุกท่านค่ะ เราภูมิใจที่จะกล่าวว่าในศกใหม่ ปี 2560 นี้
World Think Tank Monitor ได้เดินทางเข้าสู่ปีที่ 3 แล้ว
ปี 2560 นี้เป็นปีที่หลายประเทศมีผู้นาใหม่ เรื่องปกที่ยกมาในฉบับนี้ คือเรื่อง บทเรียน
ความสัมพันธ์จีน-อเมริกา จาก Kissinger และ Albright ถือว่าให้เข้ากับบรรยากาศการตื่นตัวใน
โลกจากการขึ้นสู่ตาแหน่งของทรัมป์ในทาเนียบขาว ทุกภูมิภาคตื่นตัวปนกังวลว่าโลกและภูมิภาคของ
ตนจะเป็นอย่างไรเมื่อทรัมป์ ขึ้นมา หนึ่งในเรื่องที่คนกังวลกันมากที่สุดก็คือ ความสัมพันธ์
สหรัฐอเมริกากับจีน เพราะเป็นความสัมพันธ์ใหญ่ที่มีผลกระทบถ้วนทั่วทุกตัวคน ซึ่งนอกจาก
บทความเรื่องนี้ สถาบันคลังปัญญาฯ ก็ยังได้จัดเวทียุทธศาสตร์เรื่องอาเซียน จีน และไทยในยุค
ประธานาธิบดีทรัมป์ ขึ้นมาเพื่อตอบรับกับบรรยากาศนี้ด้วย
อีกความสัมพันธ์หนึ่งที่สาคัญของโลกก็คือ ความสัมพันธ์ จีน-รัสเซีย ในบทความเรื่อง จีน-
รัสเซีย ศัตรูและพันธมิตรที่สาคัญของตะวันตก เตือนว่าตะวันตกควรผูกมิตรกับจีนและรัสเซียด้วย
ไม่ใช่มองเป็นภัยคุกคามอย่างเดียว
ส่วนความเคลื่อนไหวในโลกมุสลิมที่เราติดตามเป็นประจา กระแสหนึ่งที่น่าสนใจคือ การที่
พรรคการเมืองอิสลามในโลกอาหรับหลายประเทศกาลังพยายามใช้โมเดลของพรรค AKP ในตุรกีใน
การหาสมดุลระหว่างการบริหารปกครองประเทศให้ตอบสนองความต้องการทางโลกของประชาชน
กับการรักษาอุดมการณ์ทางศาสนาเอาไว้ ติดตามเรื่องนี้ได้ใน โมเดลของพรรคการเมืองอิสลาม
ในบทความเรื่อง โครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืนเพื่อการพัฒนาที่ดีและสภาพอากาศที่ดีขึ้น
สถาบัน Brookings เสนอว่าโลกควรเร่งลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแบบยั่งยืนเพื่อเป็นทางออกทั้งด้าน
สิ่งแวดล้อมและการกระตุ้นเศรษฐกิจโลกไปในตัว
ท้ายสุด ติดตามความคิดที่น่าสนใจ เรื่องการปรับปรุงประชาธิปไตยด้วยความคิดตะวันตก
และตะวันออก จากการบรรยายของ ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ประธานสถาบันคลังปัญญาฯ และ
รายละเอียดโดยสังเขปของเวทีเรื่อง อาเซียน จีน และไทยในยุคประธานาธิบดีทรัมป์ ได้ในส่วน
กิจกรรมของสถาบันคลังปัญญา ของ World Think Tank Monitor ฉบับนี้ค่ะ
สุขสันต์ปีระกาค่ะ
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สารบัญ
หน้า
บทบรรณาธิการ
CENTRE FOR EUROPEAN REFORM
จีน-รัสเซีย ศัตรูและพันธมิตรที่สาคัญของตะวันตก 1
BROOKINGS INSTITUTION
โครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืนเพื่อการพัฒนาที่ดีและสภาพอากาศที่ดีขึ้น 3
NATIONAL COMMITEE ON U.S.-CHINA RELATIONS
บทเรียนเรื่องความสัมพันธ์จีน-อเมริกา และการถามคาถามที่ดี
จาก Henry Kissinger และ Madeleine Albright 5
AL JAZEERA CENTRE FOR STUDIES
โมเดลของพรรคการเมืองอิสลาม 9
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
การปรับปรุงประชาธิปไตยด้วยความคิดตะวันตกและตะวันออก 11
เวทียุทธศาสตร์เรื่อง อาเซียน จีน และไทยในยุคประธานาธิบดีทรัมป์ 13
1
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Centre For European Reform
เมื่อเดือนธันวาคม 2016 ที่ผ่านมา
ส ถ า บั น Centre For European Reform ไ ด้
เผยแพร่รายงานที่มีชื่อว่า Russia and China:
partners of choice and necessity? ผู้เขียนได้
นาเสนอมุมมอง โดยพยายามให้ประเทศ
ตะวันตกมองหาความร่วมมือกับจีนและรัสเซีย
มากกว่าดาเนินนโยบายสร้างความกดดันหรือ
เป็นศัตรูกัน
ปัจจุบัน ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับ
รัสเซียดีกว่าในอดีต รัสเซียเป็นประเทศผู้ขาย
อาวุธรายสาคัญให้แก่จีน แต่แม้ว่าความสัมพันธ์
ระหว่างจีนกับรัสเซียจะดูอบอุ่นดี แต่รัสเซียก็ยัง
ขายอาวุธให้กับประเทศคู่แข่งของจีนในเอเชียอีก
ด้วย โดยเฉพาะอินเดียที่รัสเซียขายอาวุธให้
มากกว่าจีน รวมทั้งเวียดนามด้วยเช่นกัน และ
แม้ว่าจีนกับรัสเซียจะมีการซ้อมรบร่วมกัน
รัสเซียก็ยังมีการซ้อมรบภายในของตนซึ่งแสดง
ให้เห็นถึงความกังวลของรัสเซียว่าจีนอาจจะ
รุกรานดินแดนตะวันออกไกลของรัสเซียได้ถ้ามี
โอกาส
ในเอเชียกลาง จีนและรัสเซียมีการ
แข่งขันกันทางเศรษฐกิจ จีนมีโครงการเส้นทาง
สายไหมทางบกเพื่อเชื่อมจีนกับยุโรป ในขณะที่
รัสเซียมีโครงการสหภาพเศรษฐกิจยูเรเซีย
จีน-รัสเซีย ศัตรูและพันธมิตรที่สาคัญของตะวันตก
2
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
(Eurasian Economic Union) เป็นความพยายาม
ที่จะรวมประเทศที่เคยเป็นสหภาพโซเวียตเก่าให้
อยู่ภายใต้ตลาดเดียว ซึ่งประธานาธิบดีวลาดิเมียร์
ปูติน กับประธานาธิบดี สี จิ้น ผิง เห็นร่วมกันว่า
สองโครงการนี้สามารถทาร่วมกันได้ แต่ว่า จน
ปัจจุบัน การผลักดันความร่วมมือดังกล่าวให้เป็น
รูปธรรมมีความคืบหน้าน้อยมาก
ในเวทีระดับโลก จีนกับรัสเซียค่อนข้างเป็น
พันธมิตรที่ดีต่อกัน จีนไม่ก้าวก่ายเรื่องที่รัสเซีย
พยายามจะผนวกไครเมียเป็นส่วนหนึ่งของตน
และรัสเซียก็เข้าข้างจีนอย่างเห็นได้ชัดในกรณี
พิพาททะเลจีนใต้ ในคณะมนตรีความมั่นคงแห่ง
สหประชาชาติหรือ UNSC จีนและรัสเซียมักจะลง
ความเห็นในทิศทางเดียวกัน ส่วนในคณะมนตรี
สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ จีนและรัสเซียก็
มักจะออกเสียงไปในทิศทางเดียวกันสม่าเสมอ
และทั้งสองประเทศยังมีการควบคุมอินเตอร์เน็ต
เพื่อจากัดการเข้าถึงข้อมูลของประชาชนใน
ประเทศเหมือนกันอีกด้วย
สถาบันการเงินระหว่างประเทศของจีนมี
ความเข้มแข็งมากทาให้จีนมีอิทธิพลทางการเงิน
มากกว่ารัสเซีย จีนมีจุดมุ่งหมายที่จะเพิ่มบทบาท
ของตนในสถาบันการเงินระหว่างประเทศและ
ก่อตั้งสถาบันทางการเงิน เช่น ธนาคารเพื่อการ
ลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (Asian Infra-
structure Investment Bank : AIIB) เพื่ อเพิ่ ม
ทางเลือกให้กับประเทศเอเชียที่ไม่ต้องการพึ่ง
ตะวันตกจนเกินไป
ผู้เขียนพยายามชี้ให้เห็นว่าทั้งจีนและรัสเซีย
เป็ นประเทศที่ตะวันตกไม่ควรประมาทหรือ
มองข้ามแม้แต่น้อย หากประเทศตะวันตกดาเนิน
นโยบายที่กดดันให้จีนกับรัสเซียกลายเป็ น
พันธมิตรที่เหนียวแน่นกันโดยไม่จาเป็น อาจทาให้
ประเทศตะวันตกตกที่นั่งลาบากได้ และแม้ว่าจีน
กับรัสเซียจะถูกจัดให้เป็นศัตรูคนสาคัญของ
ประเทศตะวันตก แต่ปัจจุบัน ทั้งสอง
ประเทศกลายมาเป็นหุ้นส่วนสาคัญทางเศรษฐกิจ
กับทั้งสหภาพยุโรปและสหรัฐ ดังนั้น ประเทศ
ตะวันตกจึงควรหันมาสร้างความร่วมมือกับจีน
และรัสเซีย มากกว่าตั้งท่าเป็นปฏิปักษ์เพียงอย่าง
เดียว
ที่มาภาพ
http://www.presstv.ir.Detail/2016/09/17
/485042/Russia-China-drills-Joint-Sea-
2016-South-China-Sea
เอกสารอ้างอิง
Ian Bond . Russia and China: partners
of choice and necessity? Centre For European
Reform . ออนไลน์ https://https://
www.cer.org.uk/publications/archive/
report/2016/russia-and-china-partners-
choice-and-necessity
3
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
BROOKINGS INSTITUTION
ในรายงานเรื่อง Delivering on sustaina-
ble infrastructure for better development and
better climate ของสถาบัน Brookings ได้กล่าวถึง
ความเกี่ยวข้องระหว่างวาระใหม่ของโลกและ
โครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืน ซึ่งอ้างจากการประชุม
ระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อมช่วงปี 2015-
2016 โดยเฉพาะการประชุม COP21 ที่กรุงปารีส
ประเทศฝรั่งเศสเมื่อเดือนธันวาคมที่ผ่านมา ทาให้
เกิดข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อมขึ้น โดยมีวาระสาคัญ
ที่จะต้องบรรลุผล คือ ทาให้เศรษฐกิจของโลก
กลับมาเติบโตอีกครั้ง บรรลุเป้ าหมายการพัฒนา
อย่างยั่งยืน (SDGs) และลงทุนด้านสิ่งแวดล้อม
เพื่ออนาคตผ่านการควบคุมพฤติกรรมทางด้าน
สิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด ซึ่งสิ่งจาเป็นที่จะช่วย
ให้การดาเนินการตามวาระที่กาหนดบรรลุผล คือ
การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืน
ผู้เขียนได้ชี้ให้เห็นข้อดีของโครงสร้าง
พื้นฐานที่ยั่งยืน ว่าเป็นรากฐานสาคัญสาหรับการ
บรรลุเป้ าหมายการเติบโตทางเศรษฐกิจ และ
ส่งเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งหมด อีกทั้งยัง
ช่วยลบข้อจากัดของการเติบโตทางเศรษฐกิจ เพิ่ม
ผลผลิตและความสามารถในการผลิต โครงสร้าง
พื้นฐานที่ยั่งยืน ยังเป็นกุญแจสาคัญสาหรับลด
ความยากจน ทาให้คนเท่าเทียมกันมากขึ้น เพราะ
เข้าถึงบริการขั้นพื้นฐานและพลังงานได้สะดวก
และง่ายขึ้น และมีโอกาสในการจ้างงานมากขึ้น
ด้วย
โครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืนเพื่อการพัฒนาที่ดีและสภาพอากาศที่ดีขึ้น
4
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
นอกจากช่วยลดความยากจนแล้ว ยังช่วยปรับปรุง
ระบบสาธารณสุข การศึกษา และรักษาสิ่งแวดล้อม
ให้ยั่งยืนขึ้นอีกด้วย
ปัจจุบัน กิจกรรมการใช้งานบนโครงสร้าง
พื้นฐานที่มีอยู่แล้ว ปล่อยก๊าซเรือนกระจกกว่าร้อย
ละ 60 ของโลก ดังนั้น การลงทุนในโครงสร้าง
พื้ นฐานครั้งต่อไป ต้ องคานึงถึงการรักษา
สิ่งแวดล้อมและก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่
เศรษฐกิจที่ใช้พลังงานคาร์บอนต่า
ผู้เขียนได้เสนอว่า การลงทุนในโครงสร้าง
พื้นฐานที่ยั่งยืนเป็นสิ่งที่ควรทา และต้องทาในเวลานี้
ด้วย เพราะขณะนี้ เศรษฐกิจทั่วโลกกาลังถดถอย
การลงทุนในทุกภูมิภาคของโลกมีจานวนน้อยลง อีก
ทั้ง เครื่องมือทางนโยบายอื่นๆ ก็มีข้อจากัดไปเสีย
หมด กล่าวคือ ทั้งนโยบายการเงินและนโยบายการ
คลังต่างมีข้อจากัดด้วยกันทั้งสิ้น ส่วนการปฏิรูป
โครงสร้างฝั่ง Supply เป็นสิ่งที่ดีแต่ต้องใช้ระยะ
เวลานานกว่าจะเกิดผล แต่สิ่งสาคัญที่จะทาให้
เศรษฐกิจทั่วโลกกลับมาโตได้อย่างก้าวกระโดด คือ
การร่วมทุนระหว่างรัฐกับเอกชนในโครงสร้าง
พื้ นฐานที่ยั่งยืน เพราะอย่างน้อย ในระยะสั้น
มาตรการการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว จะ
ช่วยกระตุ้นการใช้จ่ายในประเทศ ส่วนในระยะกลาง
การลงทุนดังกล่าวช่วยเพิ่มและปรับปรุงให้พลังงาน
การเดินทางและการขนส่งมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ด้วยวิธีนี้ จะช่วยกระตุ้นการสร้างงาน และ
ความสามารถในการแข่งขันในทุกภาคส่วน รวมถึง
ช่วยกระตุ้นให้เกิดนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์
ใหม่ได้ และยังช่วยส่งเสริมให้มีการเติบโตทาง
เศรษฐกิจอย่างยั่งยืนในระยะยาวอีกด้วย
เอกสารอ้างอิง
Amar Bhattacharya, Joshua P. Melt-
zer, Jeremy Oppenheim, Zia Qureshi,
and Nicholas Stern . Delivering on sustaina-
ble infrastructure for better development and
better climate. Brookings. ออนไลน์ https://
www.brookings.edu/research/delivering-on-
sustainable-infrastructure-for-better-
development-and-better-climate/
5
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เร็วๆ นี้ National Committee on U.S.-
China Relations (NCUSCR) ได้เชิญ Henry Kis-
singer และ Madeleine Albright สองอดีตรัฐมนตรี
ต่างประเทศสหรัฐ มาร่วมเสวนาเรื่องความสัมพันธ์
อเมริกาและจีน ทั้งสองท่านได้ให้ความเห็นและ
ข้อคิดที่มีค่า ซึ่งมาจากประสบการณ์ในการเป็น
ผู้สร้างและดูแลรักษาความสัมพันธ์นี้มาโดยตรง
มิใช่เพี ยงแต่การมองแบบนักวิเคราะห์
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั่วไป โดยทั้งสองมี
ความเห็นสอดคล้องกันในสาระหลักว่า หลักการ
ใหญ่ในการมองความสัมพันธ์สองชาตินี้
คือ อเมริกากับจีนต้องพยายามหาวิธีการเพื่อให้มี
ความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดและเป็ นมิตรต่อกัน เพราะ
สันติภาพของโลกขึ้นอยู่กับความสามารถที่จะทา
สิ่งนี้
บทเรียนเรื่องความสัมพันธ์จีน-อเมริกา และการถามคาถามที่ดี
จาก Henry Kissinger และ Madeleine Albright
National Committee
on U.S.-China Relations
6
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ตอนหนึ่ง Kissinger กล่าวไว้อย่างเรียบง่าย
แต่ลึกซึ้งว่า มิตรภาพระหว่างสองชาตินี้เป็ นเรื่อง
สาคัญเพราะจีนและอเมริกาเป็ นสองประเทศที่
ความตึงเครียดระหว่างพวกเขาสามารถส่งผล
กระทบแพร่กระจายครอบคลุมไปได้ทั้งโลก
Henry Kissinger เ ค ย เ ป็ น รั ฐ ม น ต รี
ต่างประเทศสหรัฐในสมัยประธานาธิบดีนิกสัน
และฟอร์ด ระหว่างปี 1973-1977 ผลงานสาคัญ
คือการตระเตรียมหาช่องทางในการฟื้ นฟู
ความสัมพันธ์สหรัฐกับจีนคอมมิวนิสต์ เมื่อต้น
ทศวรรษ 1970 นาไปสู่การจับมือกันของเหมาและ
นิกสันอันโด่งดัง Dr. Kissinger จึงเป็นเสมือนบิดา
แห่งความสัมพันธ์อเมริกา-จีน ที่วันนี้กลายเป็น
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่มีขนาดใหญ่และ
สาคัญมากที่สุดในโลก Medeliene Albright พูดติด
ตลกในการเสวนาครั้งนี้ว่า ในวงเสวนาเรื่อง
ความสัมพันธ์จีน-อเมริกา Henry Kissinger
เปรียบประหนึ่งเทพเจ้า ในสายตาทั้งจากฝ่ายจีน
และอเมริกา
Kissinger ย้ อนเล่ า ว่ า ความคิดหรื อ
“กระบวนทัศน์” สาคัญที่นามาซึ่งการคิดฟื้ นฟู
ความสัมพันธ์กับจีนในยุคสงครามเย็น อันเป็น
เหตุการณ์ “ช็อคโลก” จนถึงทุกวันนี้นั้น ก็คือ
ความคิดง่ายๆ ว่า ต้องดึงจีนกลับเข้ามาสู่ระบบ
ระหว่างประเทศ (international system) เพราะ
ระบบระหว่างประเทศที่ไม่มีจีน (จีนปิดประเทศ) ก็
เป็นสภาพที่กระไรอยู่ เพราะจีนเป็นประเทศใหญ่
ประชากรมาก มาตอนนี้ก็เป็นเศรษฐกิจอันดับสอง
ด้วย จึงเมินจีนไม่ได้เป็นอันขาด
เขาและ Medeliene Albright ย้าว่า ความคิด
ว่าต้องให้จีนอยู่ในระบบระหว่างประเทศดังกล่าว
เป็นความคิดที่สาคัญมาก นามาสู่กาเนิดของ
ความสัมพันธ์อเมริกา-จีนยุคใหม่ สืบทอดกันมา
ผ่านรัฐบาลชุดแล้วชุดเล่าของสหรัฐ จนกลายเป็น
จารีต เป็นแนวนโยบายการต่างประเทศสหรัฐต่อ
จีน และควรเป็นหลักการที่จะได้ยึดถือไปในการทา
ความสัมพันธ์กับจีนในอนาคต ทั้งสองย้าว่าการ
ปฏิบัติต่อจีนอย่างเคารพในฐานะที่เป็นสมาชิก
หนึ่งของระบบระหว่างประเทศเป็นสิ่งสาคัญมาก
ต่อเรื่องความกังวลที่มีกันทั่วไปในเวลานี้ว่า
ความสัมพันธ์กับจีนจะเสื่อมทรามลงในยุคทรัมป์
และอาจนาไปสู่ความยุ่งยากในโลกได้ Dr. Kissin-
ger เล่ าว่ า ที่ผ่านมานับตั้ งแต่การฟื้ นฟู
ความสัมพันธ์กับจีนในยุคนิกสัน รัฐบาลสหรัฐแต่
ละชุดที่แน่นอนว่ามีนโยบายและจุดยืนในเรื่อง
ต่างๆ ไม่เหมือนกัน แต่ก็ได้พัฒนาความสัมพันธ์
อเมริกา-จีน ให้เจริญก้าวหน้ามาโดยลาดับ ความ
กังวลว่าผู้นาคนใหม่จะประพฤติเบี่ยงเบนไปจาก
แนวนโยบายความสัมพันธ์อันดีกับจีนไม่ใช่เรื่อง
ใหม่ และอันที่จริงอดีตประธานาธิบดีคลินตันเอง
ในสมัยเป็นผู้ท้าชิงตาแหน่งประธานาธิบดีและช่วง
ต้นของการดารงตาแหน่งประธานาธิบดี ก็ได้แสดง
ท่าทีแข็งกร้าวกับจีน (ซึ่งตอนนั้นเพิ่งผ่าน
เหตุการณ์เทียนอันเหมินมา) อย่างไรก็ตาม
ภายในสองปี คลินตันก็เปลี่ยนกลับมาสู่
แนวนโยบายสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีกับจีน
นอกจากให้หลักการในการทาความสัมพันธ์
อเมริกา-จีนว่าต้องสร้างความร่วมมือแล้ว Dr.
Kissinger ยังได้ให้ แนวทางสร้างความร่วมมือ
7
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
กับจีน ไว้ด้วย คือ 1) จีนและอเมริกา ต้อง
เปิดเผยซึ่งกันและกันในเรื่องเป้าหมายและ grand
strategy ในกิจการโลก เพื่อไม่ให้หวาดระแวงกัน
2) คัดค้านการ “เหยียบเท้า” ยั่วยุกันไปมาใน
เรื่องต่างๆ ซึ่งสุดท้าย ความระคายเคืองที่สะสม
ระหว่างกันมากเข้าๆ จากการกระทบกระทั่งเล็ก
บ้างใหญ่บ้างนั้นเคยนาไปสู่มหาสงคราม เมื่อครั้ง
สงครามโลกครั้งที่ 1 มาแล้ว 3) ควรสนใจที่
เป้ าหมายร่วมของจีนและอเมริกา (ถือหลักแสวง
จุดร่วม สงวนจุดต่าง) เช่น ร่วมกันปราบศัตรูของ
รัฐชาติ เช่น ผู้ก่อการร้าย โจรสลัด
ในตอนท้ายของการเสวนา ได้เกิดเรื่องที่ไม่
ใคร่จะมีให้เห็นบ่อยนัก คือ ภายหลังจาก
ผู้ดาเนินการเสวนา ซึ่งก็คือ ประธานของสถาบัน
Think Tank แห่งนี้ ได้พา Dr. Kissinger และ
อดีตรัฐมนตรี Albright เข้าสู่คาถามในประเด็น
ปลีกย่อยและเป็นประเด็นอ่อนไหวยากแก่การ
ตอบให้เหมาะสมจานวนหนึ่ง เช่น เรื่องเกาหลี
เหนือ เรื่องทะเลจีนใต้ และเรื่องพฤติกรรมยั่วยุใน
ทวิตเตอร์และโทรศัพท์กับไต้หวันของทรัมป์ Dr.
Kissinger ซึ่งได้ใช้ความพยายามหาทางหลบหลีก
คาถามเหล่านั้นด้วยไหวพริบทางการทูตหรือ
พยายามตอบอย่างบัวไม่ให้ช้ามานานพอสมควร ก็
ได้ตาหนิผู้ดาเนินรายการว่าไม่ควรพาการเสวนา
เข้าสู่เรื่องปลีกย่อย ซึ่งเขาเห็นว่าไม่ใช่สาระ และไม่
ควรที่จะต้องมาวิเคราะห์ทุกการกระทา ทุกคาพูด
เล็กๆ น้อยๆ ของแต่ละฝ่ายหรือผู้นาแต่ละคน ซึ่ง
ต่อมาอดีตรัฐมนตรี Albright ก็เติมให้ว่า เรื่อง
เหล่านี้ เป็ นเรื่ องอ่อนไหวที่คนสาคัญใน
ความสัมพันธ์สหรัฐ-จีนอย่าง Kissinger พูดไปก็
จะมีผลกระทบได้ เพราะไม่รู้ว่าประเทศอื่นฟังอยู่
หรือไม่ ในตอนนี้เอง ที่ Dr. Kissinger กล่าวว่าสิ่ง
ที่เป็นสาระสาหรับเขาในโอกาสของการพูดคุยเรื่อง
ความสัมพันธ์อเมริกา-จีนครั้งนี้ ก็คือว่า อเมริกา
และจีนต้องพยายามหาทางที่จะร่วมมือและเป็น
มิตรกันให้ดี เพราะสันติภาพของโลกขึ้นอยู่กับสิ่งนี้
ดังที่ได้อ้างถึงแล้ว
เรื่องทั้งหมดนี้ให้ข้อคิดเราได้หลายอย่าง ที่
แน่ น อนคือ คาพู ดของบิ ดาแ ละผู้ ดูแ ล
ความสัมพันธ์อเมริกา-จีน อย่าง Kissinger และ
Albright มีคุณค่าต่อการนาไปใช้ ทาให้เราเห็นว่า
นักปฏิบัติจะพูดไม่เหมือนกับนักวิเคราะห์ทั่วๆ ไป
เพราะนักวิเคราะห์สามารถวิเคราะห์ได้ตามใจ แต่
นักปฏิบัติ ซึ่งเป็นผู้ที่ร่วม “สร้าง” ความสัมพันธ์
เหล่านี้มากับมือ จะทาอะไรก็คานึงถึงผลกระทบ
ต่อความสัมพันธ์นั้นอยู่เสมอ
สุดท้ายนี้ ผู้เขียนขอแสดงความเห็นด้วยกับ
Dr. Kissinger ว่าในการวิเคราะห์เรื่องจีน-อเมริกา
และเรื่องการเมืองระหว่างประเทศอื่นๆ ไม่ควรที่
เราจะทาตัวอ่อนไหวรีบเข้าไปวิเคราะห์ทุกเรื่องทุก
ประเด็น ทุกคาพูด ทุกการกระทา ของใครที่
เกิดขึ้น เพราะจะเป็นการสนใจแต่เรื่องสั้นๆ เกิด
มาชั่ววูบหนึ่งแล้วก็หายไป เป็นกระแส ซึ่งเรื่อง
แบบนี้น่าจะมีมากในยุคทรัมป์ การสนใจแต่เรื่อง
แ บ บ นี้ จ ะ ท า ใ ห้ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข อ ง เ ร า
กระท่อนกระแท่น เสียภาพใหญ่ ตรงกันข้ามเรา
ควรจะจากัดการมองของเราอยู่ในเรื่องยาวๆ ที่
เป็นสาระ และจะดีมากหากรู้ว่าจะวิเคราะห์ไปเพื่อ
อะไร เช่น Dr. Kissinger ที่มองเรื่องความสัมพันธ์
จีน-สหรัฐโดยมีเป้ าหมายให้ความสัมพันธ์
อเมริกา-จีนเจริญก้าวหน้า
8
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
อ้างอิง
National Committee on U.S.-China Rela-
tions https://www.youtube.com/watch?
v=kEL2W_0CLmc&t=321s
9
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Al Jazeera Centre for Studies
โมเดลของพรรคการเมืองอิสลาม
ภายหลังจากเหตุการณ์อาหรับสปริงได้สงบ
ลงในหลายประเทศ พรรคการเมืองที่มีที่มาจาก
ขบวนการเคลื่อนไหวเพื่ออิสลามหลายพรรคได้เข้า
มามีบทบาทในการจัดตั้งรัฐบาลตามระบอบ
ประชาธิปไตย เนื่องจากขบวนการเคลื่อนไหว
เหล่านี้นั้นล้วนมีมวลชนที่อยู่ภายในแนวทางของ
ตนเป็นจานวนมาก จึงสามารถรวบรวมคะแนน
เสียงจนชนะเลือกตั้งได้สาเร็จ แม้ขบวนการเหล่านี้
จะมีประสบการณ์อย่างยาวนานในการเคลื่อนไหว
ในลักษณะองค์กรที่ไม่ใช่รัฐ แต่เมื่อต้องเปลี่ยน
บทบาทใหม่มาสู่ฐานะผู้นารัฐแล้วก็ย่อมต้อง
แสวงหารูปแบบที่สามารถนามาปรับใช้กับตนได้
ซึ่งรูปแบบหนึ่งที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดคือ
พรรคยุติธรรมและการพัฒนา หรือ AKP ของตุรกี
ที่ได้รับการยอมรับจากโลกอิสลามว่าสามารถสร้าง
ความเจริญก้าวหน้าให้กับชาติและในขณะเดียวกัน
ก็ทาให้อิสลามมีบทบาทในพื้นที่สาธารณะมากขึ้น
ไปพร้อมกันด้วย อย่างไรก็ตามบริบทและความ
เป็นมาที่พรรค AKP เผชิญในตุรกีนั้นจะสามารถ
นามาปรับใช้กับพรรคการเมืองอิสลามในภูมิภาค
อาหรับได้ก็ต่อเมื่อเข้าใจถึงลักษณะเฉพาะและ
บริบทที่พรรค AKP เผชิญ
อดีตประธานาธิบดีมุรซีย์แห่งอียิปต์กับประธานาธิบดีเออร์โดกันแห่งตุรกี
10
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เรียนรู้อะไรได้บ้าง ?
ปัจจัยสาคัญประการหนึ่งที่ทาให้พรรค AKP
ได้รับความนิยมอย่างก้าวกระโดดคือการพยายาม
สร้างโลกทัศน์แบบอิสลามให้เกิดขึ้นในตุรกี และ
ในขณะเดียวกันก็ยังรักษาความเป็นประชาธิปไตย
แบบอนุรักษ์นิยมไว้ เพราะในบริบทของตุรกีนั้น
ประชาชนส่วนมากไม่ใช่คนที่เคร่งครัดในศาสนา
และเคยชินกับการปกครองในระบอบที่แยก
ศาสนาออกจากการเมือง การมุ่งแต่ชูภาพลักษณ์
ว่าทาเพื่ออิสลามนั้นจะทาให้เกิดกระแสต่อต้านที่
มากเกินไปจนทาให้กระทบต่อเสถียรภาพของ
รัฐบาลได้ ซึ่งรูปแบบการจัดความสมดุลระหว่าง
การยึดตามอุดมการณ์เพื่ออิสลามและการมอง
ความเป็นจริงในการปฏิบัติทางการเมืองได้
กลายเป็นบทเรียนให้หลายพรรคการเมืองอิสลาม
ในตะวันออกกลาง อย่างไรก็ตามสิ่งที่พรรค
การเมืองเหล่านี้ควรระมัดระวังคือการแสวงหา
การยอมรับจากมวลชนมากเกินไปจนนามาสู่การ
ดัดแปลงคาสอนดั้งเดิมของศาสนา หากเป็น
เช่นนี้แล้วก็เท่ากับว่าพรรคกาลังกลายเป็นเหมือน
พรรคการเมืองอื่น ๆ ที่ไม่ได้มีอุดมการณ์ทาง
ศาสนาแต่อย่างใด
ต้องคานึงบริบทที่แตกต่าง
การเติบโตของพรรค AKP ในเวทีการเมือง
ตุรกีนั้นแตกต่างจากการขึ้นมามีอานาจของพรรค
การเมืองอิสลามในโลกอาหรับโดยสิ้นเชิง เพราะ
ในโลกอาหรับนั้นพรรคการเมืองอิสลามก้าวขึ้นสู่
อานาจได้ในช่วงระยะเวลาอันสั้นจากการปฏิวัติที่
ขัดแย้งรุนแรง และเมื่อเข้าสู่อานาจแล้วแม้รัฐบาล
จะมีอุดมการณ์อิสลามนิยม แต่ภาคส่วนอื่น ๆ ที่
เกี่ยวข้องในการปกครองประเทศนั้นยังคงมี
แนวคิดดั้งเดิมอยู่ ย่อมทาให้เกิดความขัดแย้งที่
กระทบต่อเสถียรภาพของรัฐบาลได้ เราจะเห็นได้
ชัดจากการขึ้นมาสู่อานาจของ มูฮัมหมัด มุรซีย์
ซึ่งเป็นตัวแทนของกลุ่ม Muslim Brotherhood ที่
ไม่นานนักก็ถูกทหารทาการรัฐประหารลงจาก
ตาแหน่ง ต่างจากกรณีของพรรค AKP ที่บริบท
เอื้อให้เข้าสู่อานาจด้วยการเลือกตั้งตามปกติแล้ว
ดารงความเป็นรัฐบาลมาต่อเนื่องจากความสาเร็จ
ในด้านเศรษฐกิจ และค่อยๆ ปรับลดอานาจของ
กองทัพลงจนไม่เป็นภัยต่อเสถียรภาพของรัฐบาล
ที่มาภาพ
https://49yzp92imhtx8radn224z7y1-
wpengine.netdna-ssl.com/wp-content/
uploads/2013/01/Erdogan-Morsi.jpg
เอกสารอ้างอิง
Saeed al-Haj. Al Jazeera Centre for
Studies. Turkish Influence on Arab Islamist
Movements. ออนไลน์ http://
studies.aljazeera.net/en/reports/2016/10/
turkish-influence-arab-islamist-movements-
161023114511150.html
11
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เมื่อวันศุกร์ที่ 13 มกราคม 2560 ณ คณะ
รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศ.ดร.เอนก
เหล่าธรรมทัศน์ ประธานสถาบันคลังปัญญาด้าน
ยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัย
รังสิต บรรยายในวิชาความคิดการเมืองไทย เรื่อง
การปรับปรุงประชาธิปไตยด้วยความคิดตะวันตก
และตะวันออก มีสาระโดยย่อดังนี้
เป็นที่เห็นกันทั่วไปว่าประชาธิปไตยในไทยมี
ปัญหา มีความไม่ลงตัว ในทางหนึ่งอาจมองได้ว่า
มีประชาธิปไตยของคนสองกลุ่มที่ขัดแย้งกันอยู่
คือประชาธิปไตยของคนชั้นกลางในเมืองฝ่ายหนึ่ง
กับประชาธิปไตยของชาวชนบทอีกฝ่ายหนึ่ง และ
ไม่เฉพาะประชาธิปไตยของไทยเท่านั้นที่ยังใช้การ
ไม่ได้ดี แต่ประชาธิปไตยของที่อื่นๆ ในโลก
แม้แต่ประชาธิปไตยในประเทศตะวันตกที่ได้ชื่อ
ว่าเป็นแม่แบบของระบอบการปกครองนี้ ก็ยัง
ประสบปัญหาหลายอย่างในปัจจุบัน ตัวอย่างเช่น
การถูกวิจารณ์ว่าเป็นประชาธิปไตยแต่ผิวเผิน ใช้
แต่การเลือกตั้ง หรือวิพากษ์แบบฝ่ ายซ้ายว่า
แท้จริงเป็นระบอบที่รับใช้กลุ่มทุน ปัญหาทุจริต
คอร์รัปชั่น การได้ผู้นาที่มีคุณภาพไม่ดีมา
ปกครองประเทศ เป็นต้น นี่จึงเป็นที่มาของ
ความคิดที่จะหาวิธีการปรับปรุงประชาธิปไตย
โดยไปค้นหาดูจากความคิดของทั้งฝ่ายตะวันตก
และตะวันออก
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
การปรับปรุงประชาธิปไตย
ด้วยความคิดตะวันตกและตะวันออก
12
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ความคิดทฤษฎีฝ่ายตะวันตกที่ให้ข้อเสนอต่อ
การปรับปรุงประชาธิปไตยไว้มีอยู่ด้วยกันหลาย
สานัก เช่น civic republicanism หรือ liberalism
แต่ที่น่าสนใจคือ English pluralism หรือความคิด
สานักพหุนิยมอังกฤษ ซึ่งเป็นสานักคิดตระกูล
conservative ที่เน้นการกระจายอานาจในสังคม
ไม่ให้กระจุกอยู่ที่รัฐมากเกินไป แต่ไปอยู่ที่ภาค
ส่วนต่างๆ ในสังคม ไม่ว่า กลุ่มอาชีพ กลุ่มศาสนา
สมาคม ท้องถิ่น ฯลฯ หรือ “ประชาสังคม” นั่นเอง
อย่างไรก็ตาม โลกตะวันออกเองก็เป็น
แหล่งอารยธรรมมาหลายพันปี เจริญรุ่งเรืองทาง
ความคิด การเมือง เศรษฐกิจ มาก่อนตะวันตก
และปัจจุบันตะวันออกก็กาลังเจริญรุ่งเรืองขึ้นมา
ทัดเทียมหรือแซงหน้าตะวันตกอีก ตะวันออกจึงมี
ความคิดหลายอย่างที่นามาปรับปรุงประชาธิปไตย
ได้ เช่น ความคิดแบบพุทธ แบบขงจื่อ และแบบ
เต๋า เพราะประชาธิปไตยเองไม่ใช่ของผูกขาดของ
ตะวันตกเท่านั้น แต่เป็นระบอบที่มนุษย์โลกมีสิทธิที่
จะพัฒนาปรับปรุงให้เหมาะสมกับกาลเทศะได้
เท่าๆ กัน
13
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 4
“อาเซียน จีน และไทย ในยุคประธานาธิบดีทรัมป์”
เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2560 สถาบัน
คลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐ
กิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้จัดเวทียุทธศาสตร์
ครั้งที่ 4 ในหัวข้อ “อาเซียน จีน และไทย ใน
ยุคประธานาธิบดีทรัมป์” มี ดร. สุรินทร์ พิศ
สุวรรณ อดีตเลขาธิการอาเซียน เป็นผู้นาการ
เสวนา โดยได้รับเกียรติจากผู้ทรงคุณวุฒิ
หลากหลายวงการเข้าร่วม
เวทียุทธศาสตร์ เป็นเวทีหนึ่งที่สถาบัน
คลังปัญญาฯ จัดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในฐานะ
การขับเคลื่อนทางสังคมรูปแบบหนึ่ง โดย
การเปิ ดเวทีให้ ผู้ ทรงคุณวุฒิผู้ มาก
ประสบการณ์ในวงการต่างๆ มาร่วมกัน
วิเคราะห์สถานการณ์โลก ภูมิภาค และ
สังคมไทย และนาเสนอความคิดเรื่องทิศ
ทางการเดินของไทยในอนาคตให้สอดคล้อง
กับความเปลี่ยนแปลง โดยเน้นขับเคลื่อน
ความรู้ ที่ได้ สู่ภาคประชาสังคม/ภาค
สาธารณะ และส่วนหนึ่งก็สื่อไปยังฝ่ าย
กาหนดนโยบาย-ผู้ตัดสินใจ
ที่ผ่านมาเวทีนี้ได้รับเกียรติจาก ศ.นพ.
ประเวศ วะสี เป็นประธานการประชุม และมี
บุคคลที่มีบทบาทในการปฏิบัติหรือยังมี
บทบาทนาทางความคิดเข้าร่วม เช่น อดีตผู้
บัญชาการทหารสูงสุด อดีตสมาชิกสภานิติ
บัญญัติแห่งชาติ สมาชิกคณะกรรรมการ
ยุทธศาสตร์ชาติของรัฐบาล เป็นต้น
สาหรับสรุปการประชุมเวทียุทธศาสตร์
ในครั้งนี้จะได้เผยแพร่เร็วๆ นี้บนเว็บไซต์
ของสถาบันคลังปัญญาฯ ร่วมกับสรุปการ
ประชุมของเวทียุทธศาสตร์ครั้งก่อนๆ
14
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ที่ปรึกษา: ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: คุณยุวดี คาดการณ์ไกล
เรียบเรียง: นางสาวปลายฟ้า บุนนาค
นายปาณัท ทองพ่วง
นายอุสมาน วาจิ
ภาพปก: http://pic6.dwnews.net/20150318f3388bb2086945532d4797dc204792b8_w.jpg
เผยแพร่: มกราคม 2559
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนน
ลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064

Más contenido relacionado

Destacado

Destacado (20)

World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
 
OBOR Monitor I สิงหาคม 2559
OBOR Monitor I สิงหาคม 2559OBOR Monitor I สิงหาคม 2559
OBOR Monitor I สิงหาคม 2559
 
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
 
ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียน
ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียนประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียน
ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียน
 
ทำอย่างไรให้อาหารเพื่อสุขภาพราคาถูกลง?
ทำอย่างไรให้อาหารเพื่อสุขภาพราคาถูกลง?ทำอย่างไรให้อาหารเพื่อสุขภาพราคาถูกลง?
ทำอย่างไรให้อาหารเพื่อสุขภาพราคาถูกลง?
 
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
OBOR Monitor I พฤศจิกายน 2559
 
OBOR Monitor I ตุลาคม 2559
OBOR Monitor I ตุลาคม 2559OBOR Monitor I ตุลาคม 2559
OBOR Monitor I ตุลาคม 2559
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยแนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
 
World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559
World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559
World Think Tank Monitors l สิงหาคม 2559
 
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
 
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
 
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมืองเบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
 
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
 
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
 
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
 
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
 
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 

Más de Klangpanya

การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
Klangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
Klangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
Klangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
Klangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Klangpanya
 

Más de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

World Think Tank Monitor มกราคม 2560

  • 1. มมมมมม2559 l มมมมม2 CHATHAM HOUSE การวางแผนด้านนวัตกรรมของจีนที่มุ่งสู่ความสาเร็จด้านสิ่งแวดล้อม BROOKINGS  จีนในฐานะผู้ลงทุนรายใหญ่ของโลก World Think Tank Monitor ปี ที่ 3 ฉบับที่ 1 โมเดล พรรค การเมือง อิสลาม จีน-รัสเซีย ศัตรูและ พันธมิตร ของตะวันตก บทเรียนความสัมพันธ์ จีน-อเมริกา จาก Kissinger และ Albright ปรับปรุง ประชาธิปไตย ด้วยความคิด ตะวันตกและ ตะวันออก
  • 2. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต บทบรรณาธิการ สวัสดีท่านผู้อ่านที่น่ารักทุกท่านค่ะ เราภูมิใจที่จะกล่าวว่าในศกใหม่ ปี 2560 นี้ World Think Tank Monitor ได้เดินทางเข้าสู่ปีที่ 3 แล้ว ปี 2560 นี้เป็นปีที่หลายประเทศมีผู้นาใหม่ เรื่องปกที่ยกมาในฉบับนี้ คือเรื่อง บทเรียน ความสัมพันธ์จีน-อเมริกา จาก Kissinger และ Albright ถือว่าให้เข้ากับบรรยากาศการตื่นตัวใน โลกจากการขึ้นสู่ตาแหน่งของทรัมป์ในทาเนียบขาว ทุกภูมิภาคตื่นตัวปนกังวลว่าโลกและภูมิภาคของ ตนจะเป็นอย่างไรเมื่อทรัมป์ ขึ้นมา หนึ่งในเรื่องที่คนกังวลกันมากที่สุดก็คือ ความสัมพันธ์ สหรัฐอเมริกากับจีน เพราะเป็นความสัมพันธ์ใหญ่ที่มีผลกระทบถ้วนทั่วทุกตัวคน ซึ่งนอกจาก บทความเรื่องนี้ สถาบันคลังปัญญาฯ ก็ยังได้จัดเวทียุทธศาสตร์เรื่องอาเซียน จีน และไทยในยุค ประธานาธิบดีทรัมป์ ขึ้นมาเพื่อตอบรับกับบรรยากาศนี้ด้วย อีกความสัมพันธ์หนึ่งที่สาคัญของโลกก็คือ ความสัมพันธ์ จีน-รัสเซีย ในบทความเรื่อง จีน- รัสเซีย ศัตรูและพันธมิตรที่สาคัญของตะวันตก เตือนว่าตะวันตกควรผูกมิตรกับจีนและรัสเซียด้วย ไม่ใช่มองเป็นภัยคุกคามอย่างเดียว ส่วนความเคลื่อนไหวในโลกมุสลิมที่เราติดตามเป็นประจา กระแสหนึ่งที่น่าสนใจคือ การที่ พรรคการเมืองอิสลามในโลกอาหรับหลายประเทศกาลังพยายามใช้โมเดลของพรรค AKP ในตุรกีใน การหาสมดุลระหว่างการบริหารปกครองประเทศให้ตอบสนองความต้องการทางโลกของประชาชน กับการรักษาอุดมการณ์ทางศาสนาเอาไว้ ติดตามเรื่องนี้ได้ใน โมเดลของพรรคการเมืองอิสลาม ในบทความเรื่อง โครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืนเพื่อการพัฒนาที่ดีและสภาพอากาศที่ดีขึ้น สถาบัน Brookings เสนอว่าโลกควรเร่งลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแบบยั่งยืนเพื่อเป็นทางออกทั้งด้าน สิ่งแวดล้อมและการกระตุ้นเศรษฐกิจโลกไปในตัว ท้ายสุด ติดตามความคิดที่น่าสนใจ เรื่องการปรับปรุงประชาธิปไตยด้วยความคิดตะวันตก และตะวันออก จากการบรรยายของ ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ประธานสถาบันคลังปัญญาฯ และ รายละเอียดโดยสังเขปของเวทีเรื่อง อาเซียน จีน และไทยในยุคประธานาธิบดีทรัมป์ ได้ในส่วน กิจกรรมของสถาบันคลังปัญญา ของ World Think Tank Monitor ฉบับนี้ค่ะ สุขสันต์ปีระกาค่ะ ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
  • 3. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สารบัญ หน้า บทบรรณาธิการ CENTRE FOR EUROPEAN REFORM จีน-รัสเซีย ศัตรูและพันธมิตรที่สาคัญของตะวันตก 1 BROOKINGS INSTITUTION โครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืนเพื่อการพัฒนาที่ดีและสภาพอากาศที่ดีขึ้น 3 NATIONAL COMMITEE ON U.S.-CHINA RELATIONS บทเรียนเรื่องความสัมพันธ์จีน-อเมริกา และการถามคาถามที่ดี จาก Henry Kissinger และ Madeleine Albright 5 AL JAZEERA CENTRE FOR STUDIES โมเดลของพรรคการเมืองอิสลาม 9 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ การปรับปรุงประชาธิปไตยด้วยความคิดตะวันตกและตะวันออก 11 เวทียุทธศาสตร์เรื่อง อาเซียน จีน และไทยในยุคประธานาธิบดีทรัมป์ 13
  • 4. 1 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Centre For European Reform เมื่อเดือนธันวาคม 2016 ที่ผ่านมา ส ถ า บั น Centre For European Reform ไ ด้ เผยแพร่รายงานที่มีชื่อว่า Russia and China: partners of choice and necessity? ผู้เขียนได้ นาเสนอมุมมอง โดยพยายามให้ประเทศ ตะวันตกมองหาความร่วมมือกับจีนและรัสเซีย มากกว่าดาเนินนโยบายสร้างความกดดันหรือ เป็นศัตรูกัน ปัจจุบัน ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับ รัสเซียดีกว่าในอดีต รัสเซียเป็นประเทศผู้ขาย อาวุธรายสาคัญให้แก่จีน แต่แม้ว่าความสัมพันธ์ ระหว่างจีนกับรัสเซียจะดูอบอุ่นดี แต่รัสเซียก็ยัง ขายอาวุธให้กับประเทศคู่แข่งของจีนในเอเชียอีก ด้วย โดยเฉพาะอินเดียที่รัสเซียขายอาวุธให้ มากกว่าจีน รวมทั้งเวียดนามด้วยเช่นกัน และ แม้ว่าจีนกับรัสเซียจะมีการซ้อมรบร่วมกัน รัสเซียก็ยังมีการซ้อมรบภายในของตนซึ่งแสดง ให้เห็นถึงความกังวลของรัสเซียว่าจีนอาจจะ รุกรานดินแดนตะวันออกไกลของรัสเซียได้ถ้ามี โอกาส ในเอเชียกลาง จีนและรัสเซียมีการ แข่งขันกันทางเศรษฐกิจ จีนมีโครงการเส้นทาง สายไหมทางบกเพื่อเชื่อมจีนกับยุโรป ในขณะที่ รัสเซียมีโครงการสหภาพเศรษฐกิจยูเรเซีย จีน-รัสเซีย ศัตรูและพันธมิตรที่สาคัญของตะวันตก
  • 5. 2 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต (Eurasian Economic Union) เป็นความพยายาม ที่จะรวมประเทศที่เคยเป็นสหภาพโซเวียตเก่าให้ อยู่ภายใต้ตลาดเดียว ซึ่งประธานาธิบดีวลาดิเมียร์ ปูติน กับประธานาธิบดี สี จิ้น ผิง เห็นร่วมกันว่า สองโครงการนี้สามารถทาร่วมกันได้ แต่ว่า จน ปัจจุบัน การผลักดันความร่วมมือดังกล่าวให้เป็น รูปธรรมมีความคืบหน้าน้อยมาก ในเวทีระดับโลก จีนกับรัสเซียค่อนข้างเป็น พันธมิตรที่ดีต่อกัน จีนไม่ก้าวก่ายเรื่องที่รัสเซีย พยายามจะผนวกไครเมียเป็นส่วนหนึ่งของตน และรัสเซียก็เข้าข้างจีนอย่างเห็นได้ชัดในกรณี พิพาททะเลจีนใต้ ในคณะมนตรีความมั่นคงแห่ง สหประชาชาติหรือ UNSC จีนและรัสเซียมักจะลง ความเห็นในทิศทางเดียวกัน ส่วนในคณะมนตรี สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ จีนและรัสเซียก็ มักจะออกเสียงไปในทิศทางเดียวกันสม่าเสมอ และทั้งสองประเทศยังมีการควบคุมอินเตอร์เน็ต เพื่อจากัดการเข้าถึงข้อมูลของประชาชนใน ประเทศเหมือนกันอีกด้วย สถาบันการเงินระหว่างประเทศของจีนมี ความเข้มแข็งมากทาให้จีนมีอิทธิพลทางการเงิน มากกว่ารัสเซีย จีนมีจุดมุ่งหมายที่จะเพิ่มบทบาท ของตนในสถาบันการเงินระหว่างประเทศและ ก่อตั้งสถาบันทางการเงิน เช่น ธนาคารเพื่อการ ลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (Asian Infra- structure Investment Bank : AIIB) เพื่ อเพิ่ ม ทางเลือกให้กับประเทศเอเชียที่ไม่ต้องการพึ่ง ตะวันตกจนเกินไป ผู้เขียนพยายามชี้ให้เห็นว่าทั้งจีนและรัสเซีย เป็ นประเทศที่ตะวันตกไม่ควรประมาทหรือ มองข้ามแม้แต่น้อย หากประเทศตะวันตกดาเนิน นโยบายที่กดดันให้จีนกับรัสเซียกลายเป็ น พันธมิตรที่เหนียวแน่นกันโดยไม่จาเป็น อาจทาให้ ประเทศตะวันตกตกที่นั่งลาบากได้ และแม้ว่าจีน กับรัสเซียจะถูกจัดให้เป็นศัตรูคนสาคัญของ ประเทศตะวันตก แต่ปัจจุบัน ทั้งสอง ประเทศกลายมาเป็นหุ้นส่วนสาคัญทางเศรษฐกิจ กับทั้งสหภาพยุโรปและสหรัฐ ดังนั้น ประเทศ ตะวันตกจึงควรหันมาสร้างความร่วมมือกับจีน และรัสเซีย มากกว่าตั้งท่าเป็นปฏิปักษ์เพียงอย่าง เดียว ที่มาภาพ http://www.presstv.ir.Detail/2016/09/17 /485042/Russia-China-drills-Joint-Sea- 2016-South-China-Sea เอกสารอ้างอิง Ian Bond . Russia and China: partners of choice and necessity? Centre For European Reform . ออนไลน์ https://https:// www.cer.org.uk/publications/archive/ report/2016/russia-and-china-partners- choice-and-necessity
  • 6. 3 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต BROOKINGS INSTITUTION ในรายงานเรื่อง Delivering on sustaina- ble infrastructure for better development and better climate ของสถาบัน Brookings ได้กล่าวถึง ความเกี่ยวข้องระหว่างวาระใหม่ของโลกและ โครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืน ซึ่งอ้างจากการประชุม ระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อมช่วงปี 2015- 2016 โดยเฉพาะการประชุม COP21 ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสเมื่อเดือนธันวาคมที่ผ่านมา ทาให้ เกิดข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อมขึ้น โดยมีวาระสาคัญ ที่จะต้องบรรลุผล คือ ทาให้เศรษฐกิจของโลก กลับมาเติบโตอีกครั้ง บรรลุเป้ าหมายการพัฒนา อย่างยั่งยืน (SDGs) และลงทุนด้านสิ่งแวดล้อม เพื่ออนาคตผ่านการควบคุมพฤติกรรมทางด้าน สิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด ซึ่งสิ่งจาเป็นที่จะช่วย ให้การดาเนินการตามวาระที่กาหนดบรรลุผล คือ การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืน ผู้เขียนได้ชี้ให้เห็นข้อดีของโครงสร้าง พื้นฐานที่ยั่งยืน ว่าเป็นรากฐานสาคัญสาหรับการ บรรลุเป้ าหมายการเติบโตทางเศรษฐกิจ และ ส่งเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งหมด อีกทั้งยัง ช่วยลบข้อจากัดของการเติบโตทางเศรษฐกิจ เพิ่ม ผลผลิตและความสามารถในการผลิต โครงสร้าง พื้นฐานที่ยั่งยืน ยังเป็นกุญแจสาคัญสาหรับลด ความยากจน ทาให้คนเท่าเทียมกันมากขึ้น เพราะ เข้าถึงบริการขั้นพื้นฐานและพลังงานได้สะดวก และง่ายขึ้น และมีโอกาสในการจ้างงานมากขึ้น ด้วย โครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืนเพื่อการพัฒนาที่ดีและสภาพอากาศที่ดีขึ้น
  • 7. 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต นอกจากช่วยลดความยากจนแล้ว ยังช่วยปรับปรุง ระบบสาธารณสุข การศึกษา และรักษาสิ่งแวดล้อม ให้ยั่งยืนขึ้นอีกด้วย ปัจจุบัน กิจกรรมการใช้งานบนโครงสร้าง พื้นฐานที่มีอยู่แล้ว ปล่อยก๊าซเรือนกระจกกว่าร้อย ละ 60 ของโลก ดังนั้น การลงทุนในโครงสร้าง พื้ นฐานครั้งต่อไป ต้ องคานึงถึงการรักษา สิ่งแวดล้อมและก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่ เศรษฐกิจที่ใช้พลังงานคาร์บอนต่า ผู้เขียนได้เสนอว่า การลงทุนในโครงสร้าง พื้นฐานที่ยั่งยืนเป็นสิ่งที่ควรทา และต้องทาในเวลานี้ ด้วย เพราะขณะนี้ เศรษฐกิจทั่วโลกกาลังถดถอย การลงทุนในทุกภูมิภาคของโลกมีจานวนน้อยลง อีก ทั้ง เครื่องมือทางนโยบายอื่นๆ ก็มีข้อจากัดไปเสีย หมด กล่าวคือ ทั้งนโยบายการเงินและนโยบายการ คลังต่างมีข้อจากัดด้วยกันทั้งสิ้น ส่วนการปฏิรูป โครงสร้างฝั่ง Supply เป็นสิ่งที่ดีแต่ต้องใช้ระยะ เวลานานกว่าจะเกิดผล แต่สิ่งสาคัญที่จะทาให้ เศรษฐกิจทั่วโลกกลับมาโตได้อย่างก้าวกระโดด คือ การร่วมทุนระหว่างรัฐกับเอกชนในโครงสร้าง พื้ นฐานที่ยั่งยืน เพราะอย่างน้อย ในระยะสั้น มาตรการการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว จะ ช่วยกระตุ้นการใช้จ่ายในประเทศ ส่วนในระยะกลาง การลงทุนดังกล่าวช่วยเพิ่มและปรับปรุงให้พลังงาน การเดินทางและการขนส่งมีประสิทธิภาพมากขึ้น ด้วยวิธีนี้ จะช่วยกระตุ้นการสร้างงาน และ ความสามารถในการแข่งขันในทุกภาคส่วน รวมถึง ช่วยกระตุ้นให้เกิดนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ ใหม่ได้ และยังช่วยส่งเสริมให้มีการเติบโตทาง เศรษฐกิจอย่างยั่งยืนในระยะยาวอีกด้วย เอกสารอ้างอิง Amar Bhattacharya, Joshua P. Melt- zer, Jeremy Oppenheim, Zia Qureshi, and Nicholas Stern . Delivering on sustaina- ble infrastructure for better development and better climate. Brookings. ออนไลน์ https:// www.brookings.edu/research/delivering-on- sustainable-infrastructure-for-better- development-and-better-climate/
  • 8. 5 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เร็วๆ นี้ National Committee on U.S.- China Relations (NCUSCR) ได้เชิญ Henry Kis- singer และ Madeleine Albright สองอดีตรัฐมนตรี ต่างประเทศสหรัฐ มาร่วมเสวนาเรื่องความสัมพันธ์ อเมริกาและจีน ทั้งสองท่านได้ให้ความเห็นและ ข้อคิดที่มีค่า ซึ่งมาจากประสบการณ์ในการเป็น ผู้สร้างและดูแลรักษาความสัมพันธ์นี้มาโดยตรง มิใช่เพี ยงแต่การมองแบบนักวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั่วไป โดยทั้งสองมี ความเห็นสอดคล้องกันในสาระหลักว่า หลักการ ใหญ่ในการมองความสัมพันธ์สองชาตินี้ คือ อเมริกากับจีนต้องพยายามหาวิธีการเพื่อให้มี ความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดและเป็ นมิตรต่อกัน เพราะ สันติภาพของโลกขึ้นอยู่กับความสามารถที่จะทา สิ่งนี้ บทเรียนเรื่องความสัมพันธ์จีน-อเมริกา และการถามคาถามที่ดี จาก Henry Kissinger และ Madeleine Albright National Committee on U.S.-China Relations
  • 9. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ตอนหนึ่ง Kissinger กล่าวไว้อย่างเรียบง่าย แต่ลึกซึ้งว่า มิตรภาพระหว่างสองชาตินี้เป็ นเรื่อง สาคัญเพราะจีนและอเมริกาเป็ นสองประเทศที่ ความตึงเครียดระหว่างพวกเขาสามารถส่งผล กระทบแพร่กระจายครอบคลุมไปได้ทั้งโลก Henry Kissinger เ ค ย เ ป็ น รั ฐ ม น ต รี ต่างประเทศสหรัฐในสมัยประธานาธิบดีนิกสัน และฟอร์ด ระหว่างปี 1973-1977 ผลงานสาคัญ คือการตระเตรียมหาช่องทางในการฟื้ นฟู ความสัมพันธ์สหรัฐกับจีนคอมมิวนิสต์ เมื่อต้น ทศวรรษ 1970 นาไปสู่การจับมือกันของเหมาและ นิกสันอันโด่งดัง Dr. Kissinger จึงเป็นเสมือนบิดา แห่งความสัมพันธ์อเมริกา-จีน ที่วันนี้กลายเป็น ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่มีขนาดใหญ่และ สาคัญมากที่สุดในโลก Medeliene Albright พูดติด ตลกในการเสวนาครั้งนี้ว่า ในวงเสวนาเรื่อง ความสัมพันธ์จีน-อเมริกา Henry Kissinger เปรียบประหนึ่งเทพเจ้า ในสายตาทั้งจากฝ่ายจีน และอเมริกา Kissinger ย้ อนเล่ า ว่ า ความคิดหรื อ “กระบวนทัศน์” สาคัญที่นามาซึ่งการคิดฟื้ นฟู ความสัมพันธ์กับจีนในยุคสงครามเย็น อันเป็น เหตุการณ์ “ช็อคโลก” จนถึงทุกวันนี้นั้น ก็คือ ความคิดง่ายๆ ว่า ต้องดึงจีนกลับเข้ามาสู่ระบบ ระหว่างประเทศ (international system) เพราะ ระบบระหว่างประเทศที่ไม่มีจีน (จีนปิดประเทศ) ก็ เป็นสภาพที่กระไรอยู่ เพราะจีนเป็นประเทศใหญ่ ประชากรมาก มาตอนนี้ก็เป็นเศรษฐกิจอันดับสอง ด้วย จึงเมินจีนไม่ได้เป็นอันขาด เขาและ Medeliene Albright ย้าว่า ความคิด ว่าต้องให้จีนอยู่ในระบบระหว่างประเทศดังกล่าว เป็นความคิดที่สาคัญมาก นามาสู่กาเนิดของ ความสัมพันธ์อเมริกา-จีนยุคใหม่ สืบทอดกันมา ผ่านรัฐบาลชุดแล้วชุดเล่าของสหรัฐ จนกลายเป็น จารีต เป็นแนวนโยบายการต่างประเทศสหรัฐต่อ จีน และควรเป็นหลักการที่จะได้ยึดถือไปในการทา ความสัมพันธ์กับจีนในอนาคต ทั้งสองย้าว่าการ ปฏิบัติต่อจีนอย่างเคารพในฐานะที่เป็นสมาชิก หนึ่งของระบบระหว่างประเทศเป็นสิ่งสาคัญมาก ต่อเรื่องความกังวลที่มีกันทั่วไปในเวลานี้ว่า ความสัมพันธ์กับจีนจะเสื่อมทรามลงในยุคทรัมป์ และอาจนาไปสู่ความยุ่งยากในโลกได้ Dr. Kissin- ger เล่ าว่ า ที่ผ่านมานับตั้ งแต่การฟื้ นฟู ความสัมพันธ์กับจีนในยุคนิกสัน รัฐบาลสหรัฐแต่ ละชุดที่แน่นอนว่ามีนโยบายและจุดยืนในเรื่อง ต่างๆ ไม่เหมือนกัน แต่ก็ได้พัฒนาความสัมพันธ์ อเมริกา-จีน ให้เจริญก้าวหน้ามาโดยลาดับ ความ กังวลว่าผู้นาคนใหม่จะประพฤติเบี่ยงเบนไปจาก แนวนโยบายความสัมพันธ์อันดีกับจีนไม่ใช่เรื่อง ใหม่ และอันที่จริงอดีตประธานาธิบดีคลินตันเอง ในสมัยเป็นผู้ท้าชิงตาแหน่งประธานาธิบดีและช่วง ต้นของการดารงตาแหน่งประธานาธิบดี ก็ได้แสดง ท่าทีแข็งกร้าวกับจีน (ซึ่งตอนนั้นเพิ่งผ่าน เหตุการณ์เทียนอันเหมินมา) อย่างไรก็ตาม ภายในสองปี คลินตันก็เปลี่ยนกลับมาสู่ แนวนโยบายสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีกับจีน นอกจากให้หลักการในการทาความสัมพันธ์ อเมริกา-จีนว่าต้องสร้างความร่วมมือแล้ว Dr. Kissinger ยังได้ให้ แนวทางสร้างความร่วมมือ
  • 10. 7 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต กับจีน ไว้ด้วย คือ 1) จีนและอเมริกา ต้อง เปิดเผยซึ่งกันและกันในเรื่องเป้าหมายและ grand strategy ในกิจการโลก เพื่อไม่ให้หวาดระแวงกัน 2) คัดค้านการ “เหยียบเท้า” ยั่วยุกันไปมาใน เรื่องต่างๆ ซึ่งสุดท้าย ความระคายเคืองที่สะสม ระหว่างกันมากเข้าๆ จากการกระทบกระทั่งเล็ก บ้างใหญ่บ้างนั้นเคยนาไปสู่มหาสงคราม เมื่อครั้ง สงครามโลกครั้งที่ 1 มาแล้ว 3) ควรสนใจที่ เป้ าหมายร่วมของจีนและอเมริกา (ถือหลักแสวง จุดร่วม สงวนจุดต่าง) เช่น ร่วมกันปราบศัตรูของ รัฐชาติ เช่น ผู้ก่อการร้าย โจรสลัด ในตอนท้ายของการเสวนา ได้เกิดเรื่องที่ไม่ ใคร่จะมีให้เห็นบ่อยนัก คือ ภายหลังจาก ผู้ดาเนินการเสวนา ซึ่งก็คือ ประธานของสถาบัน Think Tank แห่งนี้ ได้พา Dr. Kissinger และ อดีตรัฐมนตรี Albright เข้าสู่คาถามในประเด็น ปลีกย่อยและเป็นประเด็นอ่อนไหวยากแก่การ ตอบให้เหมาะสมจานวนหนึ่ง เช่น เรื่องเกาหลี เหนือ เรื่องทะเลจีนใต้ และเรื่องพฤติกรรมยั่วยุใน ทวิตเตอร์และโทรศัพท์กับไต้หวันของทรัมป์ Dr. Kissinger ซึ่งได้ใช้ความพยายามหาทางหลบหลีก คาถามเหล่านั้นด้วยไหวพริบทางการทูตหรือ พยายามตอบอย่างบัวไม่ให้ช้ามานานพอสมควร ก็ ได้ตาหนิผู้ดาเนินรายการว่าไม่ควรพาการเสวนา เข้าสู่เรื่องปลีกย่อย ซึ่งเขาเห็นว่าไม่ใช่สาระ และไม่ ควรที่จะต้องมาวิเคราะห์ทุกการกระทา ทุกคาพูด เล็กๆ น้อยๆ ของแต่ละฝ่ายหรือผู้นาแต่ละคน ซึ่ง ต่อมาอดีตรัฐมนตรี Albright ก็เติมให้ว่า เรื่อง เหล่านี้ เป็ นเรื่ องอ่อนไหวที่คนสาคัญใน ความสัมพันธ์สหรัฐ-จีนอย่าง Kissinger พูดไปก็ จะมีผลกระทบได้ เพราะไม่รู้ว่าประเทศอื่นฟังอยู่ หรือไม่ ในตอนนี้เอง ที่ Dr. Kissinger กล่าวว่าสิ่ง ที่เป็นสาระสาหรับเขาในโอกาสของการพูดคุยเรื่อง ความสัมพันธ์อเมริกา-จีนครั้งนี้ ก็คือว่า อเมริกา และจีนต้องพยายามหาทางที่จะร่วมมือและเป็น มิตรกันให้ดี เพราะสันติภาพของโลกขึ้นอยู่กับสิ่งนี้ ดังที่ได้อ้างถึงแล้ว เรื่องทั้งหมดนี้ให้ข้อคิดเราได้หลายอย่าง ที่ แน่ น อนคือ คาพู ดของบิ ดาแ ละผู้ ดูแ ล ความสัมพันธ์อเมริกา-จีน อย่าง Kissinger และ Albright มีคุณค่าต่อการนาไปใช้ ทาให้เราเห็นว่า นักปฏิบัติจะพูดไม่เหมือนกับนักวิเคราะห์ทั่วๆ ไป เพราะนักวิเคราะห์สามารถวิเคราะห์ได้ตามใจ แต่ นักปฏิบัติ ซึ่งเป็นผู้ที่ร่วม “สร้าง” ความสัมพันธ์ เหล่านี้มากับมือ จะทาอะไรก็คานึงถึงผลกระทบ ต่อความสัมพันธ์นั้นอยู่เสมอ สุดท้ายนี้ ผู้เขียนขอแสดงความเห็นด้วยกับ Dr. Kissinger ว่าในการวิเคราะห์เรื่องจีน-อเมริกา และเรื่องการเมืองระหว่างประเทศอื่นๆ ไม่ควรที่ เราจะทาตัวอ่อนไหวรีบเข้าไปวิเคราะห์ทุกเรื่องทุก ประเด็น ทุกคาพูด ทุกการกระทา ของใครที่ เกิดขึ้น เพราะจะเป็นการสนใจแต่เรื่องสั้นๆ เกิด มาชั่ววูบหนึ่งแล้วก็หายไป เป็นกระแส ซึ่งเรื่อง แบบนี้น่าจะมีมากในยุคทรัมป์ การสนใจแต่เรื่อง แ บ บ นี้ จ ะ ท า ใ ห้ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข อ ง เ ร า กระท่อนกระแท่น เสียภาพใหญ่ ตรงกันข้ามเรา ควรจะจากัดการมองของเราอยู่ในเรื่องยาวๆ ที่ เป็นสาระ และจะดีมากหากรู้ว่าจะวิเคราะห์ไปเพื่อ อะไร เช่น Dr. Kissinger ที่มองเรื่องความสัมพันธ์ จีน-สหรัฐโดยมีเป้ าหมายให้ความสัมพันธ์ อเมริกา-จีนเจริญก้าวหน้า
  • 12. 9 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Al Jazeera Centre for Studies โมเดลของพรรคการเมืองอิสลาม ภายหลังจากเหตุการณ์อาหรับสปริงได้สงบ ลงในหลายประเทศ พรรคการเมืองที่มีที่มาจาก ขบวนการเคลื่อนไหวเพื่ออิสลามหลายพรรคได้เข้า มามีบทบาทในการจัดตั้งรัฐบาลตามระบอบ ประชาธิปไตย เนื่องจากขบวนการเคลื่อนไหว เหล่านี้นั้นล้วนมีมวลชนที่อยู่ภายในแนวทางของ ตนเป็นจานวนมาก จึงสามารถรวบรวมคะแนน เสียงจนชนะเลือกตั้งได้สาเร็จ แม้ขบวนการเหล่านี้ จะมีประสบการณ์อย่างยาวนานในการเคลื่อนไหว ในลักษณะองค์กรที่ไม่ใช่รัฐ แต่เมื่อต้องเปลี่ยน บทบาทใหม่มาสู่ฐานะผู้นารัฐแล้วก็ย่อมต้อง แสวงหารูปแบบที่สามารถนามาปรับใช้กับตนได้ ซึ่งรูปแบบหนึ่งที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดคือ พรรคยุติธรรมและการพัฒนา หรือ AKP ของตุรกี ที่ได้รับการยอมรับจากโลกอิสลามว่าสามารถสร้าง ความเจริญก้าวหน้าให้กับชาติและในขณะเดียวกัน ก็ทาให้อิสลามมีบทบาทในพื้นที่สาธารณะมากขึ้น ไปพร้อมกันด้วย อย่างไรก็ตามบริบทและความ เป็นมาที่พรรค AKP เผชิญในตุรกีนั้นจะสามารถ นามาปรับใช้กับพรรคการเมืองอิสลามในภูมิภาค อาหรับได้ก็ต่อเมื่อเข้าใจถึงลักษณะเฉพาะและ บริบทที่พรรค AKP เผชิญ อดีตประธานาธิบดีมุรซีย์แห่งอียิปต์กับประธานาธิบดีเออร์โดกันแห่งตุรกี
  • 13. 10 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เรียนรู้อะไรได้บ้าง ? ปัจจัยสาคัญประการหนึ่งที่ทาให้พรรค AKP ได้รับความนิยมอย่างก้าวกระโดดคือการพยายาม สร้างโลกทัศน์แบบอิสลามให้เกิดขึ้นในตุรกี และ ในขณะเดียวกันก็ยังรักษาความเป็นประชาธิปไตย แบบอนุรักษ์นิยมไว้ เพราะในบริบทของตุรกีนั้น ประชาชนส่วนมากไม่ใช่คนที่เคร่งครัดในศาสนา และเคยชินกับการปกครองในระบอบที่แยก ศาสนาออกจากการเมือง การมุ่งแต่ชูภาพลักษณ์ ว่าทาเพื่ออิสลามนั้นจะทาให้เกิดกระแสต่อต้านที่ มากเกินไปจนทาให้กระทบต่อเสถียรภาพของ รัฐบาลได้ ซึ่งรูปแบบการจัดความสมดุลระหว่าง การยึดตามอุดมการณ์เพื่ออิสลามและการมอง ความเป็นจริงในการปฏิบัติทางการเมืองได้ กลายเป็นบทเรียนให้หลายพรรคการเมืองอิสลาม ในตะวันออกกลาง อย่างไรก็ตามสิ่งที่พรรค การเมืองเหล่านี้ควรระมัดระวังคือการแสวงหา การยอมรับจากมวลชนมากเกินไปจนนามาสู่การ ดัดแปลงคาสอนดั้งเดิมของศาสนา หากเป็น เช่นนี้แล้วก็เท่ากับว่าพรรคกาลังกลายเป็นเหมือน พรรคการเมืองอื่น ๆ ที่ไม่ได้มีอุดมการณ์ทาง ศาสนาแต่อย่างใด ต้องคานึงบริบทที่แตกต่าง การเติบโตของพรรค AKP ในเวทีการเมือง ตุรกีนั้นแตกต่างจากการขึ้นมามีอานาจของพรรค การเมืองอิสลามในโลกอาหรับโดยสิ้นเชิง เพราะ ในโลกอาหรับนั้นพรรคการเมืองอิสลามก้าวขึ้นสู่ อานาจได้ในช่วงระยะเวลาอันสั้นจากการปฏิวัติที่ ขัดแย้งรุนแรง และเมื่อเข้าสู่อานาจแล้วแม้รัฐบาล จะมีอุดมการณ์อิสลามนิยม แต่ภาคส่วนอื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้องในการปกครองประเทศนั้นยังคงมี แนวคิดดั้งเดิมอยู่ ย่อมทาให้เกิดความขัดแย้งที่ กระทบต่อเสถียรภาพของรัฐบาลได้ เราจะเห็นได้ ชัดจากการขึ้นมาสู่อานาจของ มูฮัมหมัด มุรซีย์ ซึ่งเป็นตัวแทนของกลุ่ม Muslim Brotherhood ที่ ไม่นานนักก็ถูกทหารทาการรัฐประหารลงจาก ตาแหน่ง ต่างจากกรณีของพรรค AKP ที่บริบท เอื้อให้เข้าสู่อานาจด้วยการเลือกตั้งตามปกติแล้ว ดารงความเป็นรัฐบาลมาต่อเนื่องจากความสาเร็จ ในด้านเศรษฐกิจ และค่อยๆ ปรับลดอานาจของ กองทัพลงจนไม่เป็นภัยต่อเสถียรภาพของรัฐบาล ที่มาภาพ https://49yzp92imhtx8radn224z7y1- wpengine.netdna-ssl.com/wp-content/ uploads/2013/01/Erdogan-Morsi.jpg เอกสารอ้างอิง Saeed al-Haj. Al Jazeera Centre for Studies. Turkish Influence on Arab Islamist Movements. ออนไลน์ http:// studies.aljazeera.net/en/reports/2016/10/ turkish-influence-arab-islamist-movements- 161023114511150.html
  • 14. 11 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันศุกร์ที่ 13 มกราคม 2560 ณ คณะ รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ประธานสถาบันคลังปัญญาด้าน ยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัย รังสิต บรรยายในวิชาความคิดการเมืองไทย เรื่อง การปรับปรุงประชาธิปไตยด้วยความคิดตะวันตก และตะวันออก มีสาระโดยย่อดังนี้ เป็นที่เห็นกันทั่วไปว่าประชาธิปไตยในไทยมี ปัญหา มีความไม่ลงตัว ในทางหนึ่งอาจมองได้ว่า มีประชาธิปไตยของคนสองกลุ่มที่ขัดแย้งกันอยู่ คือประชาธิปไตยของคนชั้นกลางในเมืองฝ่ายหนึ่ง กับประชาธิปไตยของชาวชนบทอีกฝ่ายหนึ่ง และ ไม่เฉพาะประชาธิปไตยของไทยเท่านั้นที่ยังใช้การ ไม่ได้ดี แต่ประชาธิปไตยของที่อื่นๆ ในโลก แม้แต่ประชาธิปไตยในประเทศตะวันตกที่ได้ชื่อ ว่าเป็นแม่แบบของระบอบการปกครองนี้ ก็ยัง ประสบปัญหาหลายอย่างในปัจจุบัน ตัวอย่างเช่น การถูกวิจารณ์ว่าเป็นประชาธิปไตยแต่ผิวเผิน ใช้ แต่การเลือกตั้ง หรือวิพากษ์แบบฝ่ ายซ้ายว่า แท้จริงเป็นระบอบที่รับใช้กลุ่มทุน ปัญหาทุจริต คอร์รัปชั่น การได้ผู้นาที่มีคุณภาพไม่ดีมา ปกครองประเทศ เป็นต้น นี่จึงเป็นที่มาของ ความคิดที่จะหาวิธีการปรับปรุงประชาธิปไตย โดยไปค้นหาดูจากความคิดของทั้งฝ่ายตะวันตก และตะวันออก สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ การปรับปรุงประชาธิปไตย ด้วยความคิดตะวันตกและตะวันออก
  • 15. 12 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ความคิดทฤษฎีฝ่ายตะวันตกที่ให้ข้อเสนอต่อ การปรับปรุงประชาธิปไตยไว้มีอยู่ด้วยกันหลาย สานัก เช่น civic republicanism หรือ liberalism แต่ที่น่าสนใจคือ English pluralism หรือความคิด สานักพหุนิยมอังกฤษ ซึ่งเป็นสานักคิดตระกูล conservative ที่เน้นการกระจายอานาจในสังคม ไม่ให้กระจุกอยู่ที่รัฐมากเกินไป แต่ไปอยู่ที่ภาค ส่วนต่างๆ ในสังคม ไม่ว่า กลุ่มอาชีพ กลุ่มศาสนา สมาคม ท้องถิ่น ฯลฯ หรือ “ประชาสังคม” นั่นเอง อย่างไรก็ตาม โลกตะวันออกเองก็เป็น แหล่งอารยธรรมมาหลายพันปี เจริญรุ่งเรืองทาง ความคิด การเมือง เศรษฐกิจ มาก่อนตะวันตก และปัจจุบันตะวันออกก็กาลังเจริญรุ่งเรืองขึ้นมา ทัดเทียมหรือแซงหน้าตะวันตกอีก ตะวันออกจึงมี ความคิดหลายอย่างที่นามาปรับปรุงประชาธิปไตย ได้ เช่น ความคิดแบบพุทธ แบบขงจื่อ และแบบ เต๋า เพราะประชาธิปไตยเองไม่ใช่ของผูกขาดของ ตะวันตกเท่านั้น แต่เป็นระบอบที่มนุษย์โลกมีสิทธิที่ จะพัฒนาปรับปรุงให้เหมาะสมกับกาลเทศะได้ เท่าๆ กัน
  • 16. 13 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 4 “อาเซียน จีน และไทย ในยุคประธานาธิบดีทรัมป์” เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2560 สถาบัน คลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐ กิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้จัดเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 ในหัวข้อ “อาเซียน จีน และไทย ใน ยุคประธานาธิบดีทรัมป์” มี ดร. สุรินทร์ พิศ สุวรรณ อดีตเลขาธิการอาเซียน เป็นผู้นาการ เสวนา โดยได้รับเกียรติจากผู้ทรงคุณวุฒิ หลากหลายวงการเข้าร่วม เวทียุทธศาสตร์ เป็นเวทีหนึ่งที่สถาบัน คลังปัญญาฯ จัดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในฐานะ การขับเคลื่อนทางสังคมรูปแบบหนึ่ง โดย การเปิ ดเวทีให้ ผู้ ทรงคุณวุฒิผู้ มาก ประสบการณ์ในวงการต่างๆ มาร่วมกัน วิเคราะห์สถานการณ์โลก ภูมิภาค และ สังคมไทย และนาเสนอความคิดเรื่องทิศ ทางการเดินของไทยในอนาคตให้สอดคล้อง กับความเปลี่ยนแปลง โดยเน้นขับเคลื่อน ความรู้ ที่ได้ สู่ภาคประชาสังคม/ภาค สาธารณะ และส่วนหนึ่งก็สื่อไปยังฝ่ าย กาหนดนโยบาย-ผู้ตัดสินใจ ที่ผ่านมาเวทีนี้ได้รับเกียรติจาก ศ.นพ. ประเวศ วะสี เป็นประธานการประชุม และมี บุคคลที่มีบทบาทในการปฏิบัติหรือยังมี บทบาทนาทางความคิดเข้าร่วม เช่น อดีตผู้ บัญชาการทหารสูงสุด อดีตสมาชิกสภานิติ บัญญัติแห่งชาติ สมาชิกคณะกรรรมการ ยุทธศาสตร์ชาติของรัฐบาล เป็นต้น สาหรับสรุปการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ในครั้งนี้จะได้เผยแพร่เร็วๆ นี้บนเว็บไซต์ ของสถาบันคลังปัญญาฯ ร่วมกับสรุปการ ประชุมของเวทียุทธศาสตร์ครั้งก่อนๆ
  • 17. 14 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่ปรึกษา: ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: คุณยุวดี คาดการณ์ไกล เรียบเรียง: นางสาวปลายฟ้า บุนนาค นายปาณัท ทองพ่วง นายอุสมาน วาจิ ภาพปก: http://pic6.dwnews.net/20150318f3388bb2086945532d4797dc204792b8_w.jpg เผยแพร่: มกราคม 2559 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนน ลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064