SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 15
Descargar para leer sin conexión
ปี ที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม 2561
ปรับมุมมองทาง
ภูมิศาสตร์ :
ก้าวแรกของอินเดียและ
พันธมิตรในการทัดทานจีน
2018
ปีที่สดใสของจีน
โปรตุเกสกับ OBOR
ผู้นาจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชา
ใหญ่พรรคคอมฯ จีน ครั้งที่ 19 :
บทเรียน และทิศทางต่อโลกและไทย
i | WORLD THINK TANK Monitor ธันวาคม 2017
ยุวดี คาดการณ์ไกล
ปลายฟ้า บุนนาค
ปลายฟ้า บุนนาค
ปาณัท ทองพ่วง
อุสมาน วาจิ
ปลายฟ้า บุนนาค
https://img00.deviantart.net/ab69/i/2009/112/
d/a/dragon_vs__tiger_by_thetruefoldedsteel.jpg
http://images4.static-bluray.com/
reviews/15788_5.jpg
มกราคม 2561
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
http://rsu-brain.com/
Tel. (+66) 2938 8826
Fax. (+66) 2938 8864
บรรณาธิการ
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
กองบรรณาธิการ
ออกแบบและจัดรูปเล่ม
ภาพปก
เผยแพร่
CONTACT US
ภาพปกใน
สวัสดีปีใหม่ผู้อ่านทุกท่าน สาหรับปีที่ผ่านมาสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติได้ติดตามสถานการณ์ความ
เคลื่อนไหวของโลกอย่างต่อเนื่องผ่าน World Think Tank Monitor และเช่นกัน สาหรับปี 2018 นี้ สถาบันคลัง
ปัญญาฯ ของเรา ก็ยังคงมุ่งมั่นติดตามสถานการณ์สาคัญทั่วโลกและในไทยมาให้คุณผู้อ่านได้อ่านกัน เชิญติดตามเนื้อหาด้านใน
ได้เลยค่ะ
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
ปรับมุมมองทาง
ภูมิศาสตร์ :
ก้าวแรกของอินเดียและ
พันธมิตรในการทัดทานจีน
2018
ปีที่สดใสของจีน
4
โปรตุเกส
กับ
OBOR
7
ผู้นาจีนคณะใหม่หลัง
การประชุมสมัชชา
พรรคคอมฯ จีน ครั้งที่
19 : บทเรียนและ
ทิศทางต่อโลกและไทย
9
ที่มาภาพ : http://images.all-free-download.com/images/graphiclarge/
peacock_icons_multicolored_feather_decoration_flat_design_6833428.jpg
1 | WORLD THINK TANK Monitor ธันวาคม 2017
ในปัจจุบันอิทธิพลของจีนขยายออกไปยัง
ต่างประเทศมากขึ้นตามขนาดเศรษฐกิจที่เติบโตอย่าง
ต่อเนื่อง โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และ
เอเชียกลางซึ่งเป็นเหมือนหลังบ้านของจีนเนื่องจากมี
พรมแดนและผลประโยชน์ที่เกี่ยวเนื่องกัน และขยาย
อิทธิพลต่อเนื่องไปยังยุโรปด้วยมหายุทธศาสตร์ Belt
& Road ที่ทาให้ภูมิภาคยุโรปและเอเชียเชื่อมโยงกัน
อย่างไม่เคยเป็นมาก่อน โดยภูมิภาคต่าง ๆ ล้วนมี
ความยินดีที่จะร่วมมือกับจีนเนื่องด้วยผลประโยชน์ทาง
เศรษฐกิจ อย่างไรก็ตามในพื้นที่เหล่านี้แต่เดิมนั้น
อินเดีย ญี่ปุ่น และสหรัฐฯ ต่างหมายปองที่จะเป็นผู้นา
ที่มีอิทธิพลในการกาหนดนโยบายต่าง ๆ จึงไม่พอใจ
นักหากจีนจะเข้ามาเบียดแย่งอิทธิพลตรงนี้ไป
แต่จะมีชาติใดสามารถทัดทานจีนได้จริงหรือ
เมื่อมองอินเดีย ที่ผ่านมานั้นกรอบที่อินเดียใช้มอง
โลกมักจะเป็นกรอบที่แบ่งตามภูมิภาคเดี่ยว เช่นการ
มองเอเชียและยุโรปอย่างแยกออกจากกัน ต่างจาก
จีนที่มหายุทธศาสตร์ Belt & Road นั้น
ครอบคลุมทั้งเอเชียและยุโรป ฉะนั้นแล้วอินเดีย
ต้องมองโลกโดยใช้กรอบ “ยูเรเชีย” หรือการมอง
โดยผนวกทั้งสองทวีปให้มากขึ้นจึงจะขยายอิทธิพล
ของตนได้ ในช่วงปลายปี 2017 นี้มีบางเหตุการณ์
ชี้ว่าหากอินเดียจะขยายอิทธิพลของตนแล้วจะต้อง
มองภูมิรัฐศาสตร์อย่างบูรณาการ เช่น การเปิดใช้
ท่าเรือคาบาฮารซึ่งอยู่ทางชายฝั่งทางตะวันออกเฉียง
ใต้ของอิหร่านซึ่งนอกจากจะยกระดับการขนส่งสินค้า
ของประเทศยูเรเชียกลางแล้ว ยังจะส่งเสริมการ
ขนส่งสินค้าระหว่างยูเรเชียกลางและอินเดียมากขึ้น
เหตุการณ์ต่อมาคือการได้รับการรับรองเข้าเป็น
สมาชิกอย่างมีอานาจเต็มเข้าสู่องค์การความร่วมมือ
เซี่ยงไฮ้ ที่นาโดย รัสเซีย จีน อีกทั้งมีประเทศใน
ยูเรเชียกลางเป็นกลุ่มสมาชิกสาคัญ แต่ในการ
ที่มาภาพ https://www.lowyinstitute.org/sites/default/files/india-globe.jpg
WORLD THINK TANK Monitor ธันวาคม 2017| 2
ประชุม C-CEEC ซึ่งเป็นการประชุมร่วมระหว่าง
ชาติยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก 16 ประเทศ
ร่วมกับจีน อินเดียแทบไม่ให้ความสนใจในการ
ประชุมนี้เลย สะท้อนว่านโยบายต่างประเทศของ
อินเดียนั้นยังปรับตัวไม่ทันตามภูมิรัฐศาสตร์ที่
เปลี่ยนแปลงไป
“อินโด-แปซิฟิก”ก็เป็นอีกความพยายามหนึ่ง
ที่มีขึ้นเพื่อทัดทานจีนโดนสหรัฐฯ ในการเยือนสหรัฐฯ
ของประธานาธิบดี นเรนทรา โมดี ในเดือนมิถุนายน
2017 เป็นครั้งแรกที่มีการกล่าวคาว่า “อินโด-
แปซิฟิก” จากฝ่ายสหรัฐฯ หลังจากนั้นเมื่อเดือน
พฤศจิกายนที่ผ่านมา ในการเยือนเอเชียของ
ประธานาธิบดี โดนัล ทรัมป์ ได้กล่าวในการประชุม
APEC ถึงภูมิภาค อินโด-แปซิฟิก อีกหลายครั้ง
โดยจะร่วมมือกับอินเดียญี่ปุ่น และออสเตรเลีย ใน
การสร้างความร่วมมือนี้ขึ้น ซึ่งอินโด-แปซิฟิกนั้น
ครอบคลุมพื้นที่มากกว่า “เอเชีย-แปซิฟิก” โดย
ครอบคลุมตั้งแต่มหาสมุทรอินเดียไปจรดมหาสมุทร
แปซิฟิกแต่ไม่มีจีนเป็นส่วนหนึ่ง จึงมีการตั้งข้อสังเกต
ว่าความร่วมมือนี้มีขึ้นเพื่อทัดทานมหายุทธศาสตร์
Belt & Road ที่ครอบคลุมพื้นที่ทั้งทวีปเอเชีย
และยุโรป
เช่นเดียวกันการขยายอิทธิพลของอินเดียใน
ยูเรเชีย ความร่วมมือ “อินโด-แปซิฟิก”นั้นยังไม่
เป็นที่ชัดเจนว่าสหรัฐฯ จะให้ความสาคัญมากเพียงใด
จะมีเพียงการแสดงออกอย่างชัดเจนประธานาธิบดี
ทรัมป์เท่านั้นเอง อาจจะเป็นไปได้ว่าเมื่อหมดสมัย
ของประธานาธิบดีทรัมป์แล้ว อินโด-แปซิฟิก ก็
อาจจะหมดความสาคัญไปด้วย เช่นเดียวกับข้อตกลง
การค้าเสรี Trans-Pacific Partnership
(TPP) ที่สิ้นสุดลงพร้อมกับสมัยของประธานาธิบดี
โอบามา ยิ่งไปกว่านั้นหากวิเคราะห์แนวโน้มที่
สหรัฐฯ ในยุคของทรัมป์พยายามลดการแบกรับภาระ
ในเวทีระหว่างประเทศลงก็ต้องพิจารณาต่อไปว่าชาติ
พันธมิตรนั้นจะเข้าสนับสนุนมากเพียงใด แต่อินเดีย
และญี่ปุ่นเองก็ไม่ได้มีเศรษฐกิจที่เข้มแข็งพอที่จะทัด
ทานจีนได้ จึงน่าสงสัยว่าความร่วมมือ อินโด-
แปซิฟิก จะซ้ารอยเดิมกับ ข้อตกลงการค้าเสรี
Trans-Pacific Partnership (TPP) ที่
ภาพ : ประเทศในกลุ่มยูเรเชียกลาง
ที่มาภาพ : https://libraries.indiana.edu/central-eurasian-studies-collection-wells-library
3 | WORLD THINK TANK Monitor ธันวาคม 2017
ล้มเหลวไปแล้วหรือไม่ เพราะสหรัฐฯ และชาติ
พันธมิตรขาดความเข้มแข็งทางด้านเศรษฐกิจ
ในมุมของผู้เรียบเรียงเห็นว่าในปัจจุบันที่
กระแสบูรพาภิวัตน์ซึ่งนาโดยจีนกาลังเข้มแข็ง ควร
เป็นเวลาที่สหรัฐฯ และชาติพันธมิตรต้องเข้าใจและ
ปรับตัวให้ได้กับการเป็นหมายเลขสองในบางแง่มุม
การที่สหรัฐฯ และโลกตะวันตกถดถอยลงจนจนทา
ให้ในบางพื้นที่นั้นกลายเป็นเขตอิทธิพลของสหรัฐฯ
เวลานี้เป็นเวลาที่โลกตะวันตกควรหันมุ่งเน้นไปที่การ
แก้ปัญหาภายในประเทศให้ดีขึ้น การที่ทรัมป์ซึ่งมี
แนวคิด “Make American Great Again”
ชนะเลือกตั้งก็เป็นสิ่งที่ชี้วัดได้อย่างหนึ่งว่าประชาชน
ต้องการให้รัฐบาลของตนแก้ปัญหาภายในเป็นอย่าง
แรก อินเดียก็ยังมีปัญหาการว่างงานและความ
ยากจนอยู่มากแม้ในระยะหลังเศรษฐกิจจะเจริญขึ้น
ส่วนญี่ปุ่นอยู่ในภาวะเศรษฐกิจถดถอยมาหลายปีแล้ว
จนนามาสู่ปัญหาอื่น ๆ เช่น ปัญหาสังคมสูงวัยที่มี
ประชากรสูงอายุจานวนมากแต่ไม่มีประชากรวัย
แรงงานที่จะคอยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ แต่จีนนั้นการ
ขยายอิทธิพลออกไปสู่ภายนอกคือการหาตลาดใหม่
และการลงทุนที่จะเป็นประโยชน์ต่อจีนเอง จึงไม่
แปลกอะไรที่จีนจะดาเนินยุทธศาสตร์ที่ครอบคลุม
พื้นที่อย่างกว้างขวางเช่น Belt & Road
ที่มา http://
carnegieindia.org/2017/12/05/raja-
mandala-after-indo-pacific-eurasian-
idea-pub-74904
ภาพ : ประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ กล่าวย้าหลายครั้งถึงความร่วมมือ “อินโด-แปซิฟิก” ในการประชุม APEC
ที่มาภาพ : https://asia.nikkei.com/Spotlight/Trump-s-Asian-visit/Trump-warns-Indo-Pacific-nations-on-trade-abuses
WORLD THINK TANK Monitor ธันวาคม 2017| 4
Liu Zhiqin ส ม า ชิ ก อ า วุ โ ส ข อ ง
Chongyang Institute for Financial
Studies of Renmin University แ ล ะ
อดีตหัวหน้าผู้แทนธนาคาร Zürcher Kantonal
สาขากรุงปักกิ่ง ได้เขียนบทความเรื่อง New Era
will bring a new China in 2018 โดยได้
ให้ความเห็นไว้ว่าในปีนี้ (2017) เป็นปีที่พิเศษกับ
ทั้งจีนและสหรัฐ มันเป็นจุดเริ่มต้นยุคใหม่ของจีน
และยังเป็นปีแรกของการรับตาแหน่งประธานาธิบดี
ของทรัมป์อีกด้วย ทั่วทั้งโลกกาลังจับตามองอย่าง
อยากรู้อยากเห็นและระแวดระวังต่อการพัฒนาและ
ความสัมพันธ์ของทั้งสองยักษ์ใหญ่ด้วย
เมื่อ 18 ธันวาคม 2017 ประธานาธิบดี
สหรัฐอเมริกา โดนัลด์ ทรัมป์ได้ออกแถลงการณ์
ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงแห่งชาติ เน้นว่าจีนจะ
กลายเป็น “คู่แข่ง” ของสหรัฐในอนาคต
แถลงการณ์ฉบับนี้ยืนยันได้ว่าผลการดาเนินงานที่
ผ่านมาของจีน โดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจและ
เทคโนโลยีแสดงให้เห็นถึงความแข็งแกร่งของจีนที่
เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในช่วงสามทศวรรษที่ผ่านมา
และการที่ประเทศเศรษฐกิจแบบตลาดที่ใหญ่ที่สุดใน
โลกเพิ่งลงนามข้อตกลงที่มีมูลค่าที่สุดในโลก
(มูลค่า 2.535 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ) กับ
ประเทศที่ไม่ได้ใช้ระบบตลาดขนาดใหญ่ที่สุดในโลก
(ตามที่สหรัฐและประเทศพัฒนาแล้วให้นิยามไว้)
แสดงให้เห็นความจริงข้อหนึ่งว่า ข้อตกลงทางธุรกิจก็
คือข้อตกลงทางธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นประเทศเศรษฐกิจ
แบบตลาดหรือไม่ใช่ก็ตาม และประเทศจีน ไม่ว่าใน
สายตาคนทั่วโลกจะเป็นอย่างไร ตอนนี้จีนได้สร้าง
เศรษฐกิจขนาดใหญ่ขึ้นมาด้วยกลไกทางการตลาดซึ่ง
นาความเจริญรุ่งเรืองไปทั่วทุกมุมโลก
เหตุผลที่ทาให้สหรัฐเห็นจีนเป็นคู่แข่งที่ต้อง
จับตามอง
1. จีนบรรลุเป้าหมายที่ GDP ต้องสูงถึง
6.7% ซึ่งมีส่วนแบ่งเป็น 33% ของเศรษฐกิจโลก
ทั้งหมด
2018
ปีที่สดใสของจีน
5 | WORLD THINK TANK Monitor ธันวาคม 2017
2. จีนจะทาให้คนจนในประเทศอย่างน้อย
14 ล้านคนหายยากจนภายในปี 2020 และเป็น
ประเทศเดียวที่จะสามารถช่วยให้ UN บรรลุ
เป้าหมายการพัฒนาโลกได้ภายในปี 2030 จีนคือ
ตัวแสดงหลักในเรื่องนี้
3. การปรับโครงสร้างรัฐวิสาหกิจของจีน
(SOEs) ได้กลายมาเป็นหมุดหมายสาคัญของปีนี้
กว่า 80% ของรัฐวิสาหกิจของรัฐบาลกลางได้ปรับ
รูปแบบให้เป็นเจ้าของร่วม (mixed owner-
ship) ภายในปี 2017 นี้ ความสาเร็จนี้จะ
กลายเป็นสิ่งที่สาคัญมากในประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ของจีน เพราะรัฐบาลจีนได้ให้คาสัญญาต่อโลกไว้ว่า
รัฐวิสาหกิจของจีนจะปฏิบัติตามเงื่อนไขทางธุรกิจ
อย่างเป็นธรรมและโปร่งใส นอกจากนี้ยังส่งผล
กระทบอย่างมีนัยสาคัญต่อโครงสร้างทางเศรษฐกิจ
ของโลกด้วย
4. จีนประสบความสาเร็จในการเปลี่ยน
จากการพัฒนาในรูปแบบเก่าไปสู่ยุคการพัฒนาแบบ
ใหม่และการพัฒนาสีเขียว (Green Develop-
ment) จีนได้กลายเป็นกลไกที่สาคัญที่สุดสาหรับ
ข้อตกลงปารีส (Paris Agreement) ซึ่งเป็น
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ส่วนการพัฒนาสีเขียวจะเป็นเรื่องที่รัฐบาลจีนจะให้
ความสาคัญมากที่สุดในอีก 15 ปีต่อจากนี้ไป
สี จิ้นผิง ประกาศว่าจีนมีภารกิจหลัก 3
อย่างที่จะต้องทาในปี 2018 คือ ควบคุมความ
เสี่ยง บรรเทาความยากจน และควบคุมมลพิษ ทั้ง
ชาติต้องมุ่งมั่นที่จะร่วมมือกันเพื่อให้บรรลุภารกิจ
เหล่านี้
จีนกาลังเผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ ที่คาด
ไม่ถึง ซึ่งอาจเกิดจากความเสี่ยงต่างๆ สิ่งสาคัญที่สุด
คือต้องสร้างการป้องกันความเสี่ยงต่อภาคการเงิน
ความปลอดภัยในด้านการเงินและการธนาคารมี
ความสาคัญอย่างยิ่งต่อความมั่นคงของการพัฒนา
ประเด็นที่สองคือ ต้องให้ความสาคัญกับ
การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ โดยเฉพาะเทคโนโลยี
ที่เรียกว่า “เทคโนโลยีมืด” (Dark Technolo-
gy) ซึ่งจะส่งผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อพฤติกรรม
และชีวิตประจาวันของมนุษย์ จีนต้องลงทุนเพิ่มเติม
ในการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่สามารถช่วยให้
มนุษย์ใช้ชีวิตอย่างมีความสุข ซึ่งจีนนั้นมีขนาดใหญ่
พอที่จะพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ทุกประเภทเพื่อ
ตอบสนองความต้องการของตลาดและประชาชน
ที่มาภาพ : http://www.chinadaily.com.cn/dfpd/2010gaotie/images/attachement/jpg/
site1/20101213/0023ae606f170e70263b37.jpg
WORLD THINK TANK Monitor ธันวาคม 2017| 6
จีนและสหรัฐควรเรียนรู้กันและกันและต้อง
พยายามอย่างดีที่สุดที่จะทาความเข้าใจซึ่งกันและกัน
สาหรับการทาธุรกิจแล้วนั้น ความเข้าใจเป็นปัจจัย
สาคัญที่จะทาให้ข้อตกลงทางธุรกิจบรรลุผล เพราะ
ความเข้าใจซึ่งกันและกัน นามาซึ่งความไว้วางใจซึ่ง
กันและกัน ที่จะเป็นรากฐานสาคัญของความร่วมมือ
ที่ลึกซึ้ง
Liu Zhiqin คิดว่าปี 2018 จะเป็นปีที่
สดใสสาหรับจีน เพราะทั้งจีนและสหรัฐอยู่ในสถานะ
ที่ใกล้เคียงกันมาก ความเสี่ยงเดียวสาหรับจีนคือ
ต้องหลีกเลี่ยงการดาเนินนโยบายที่ไม่ถูกต้องที่จะทา
ให้การพัฒนาเศรษฐกิจของจีนต้องชะงัก จีนต้องยึด
ติดกับเป้าหมายและความฝันของตนอย่างใกล้ชิด
และหลีกเลี่ยงการใช้ความรุนแรงหรือปัจจัยต่างๆ
เ ช่ น ลั ท ธิ ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง ท า ง ก า ร ค้ า
(Protectionism) และ ลัทธิโดดเดี่ยวนิยม
(Isolationism) ซึ่งอาจจะทาให้จีนไปสู่ทิศทางที่
ไม่ถูกต้อง
อย่างไรก็ตาม จีนต้องเตรียมตัวให้พร้อม
สาหรับเหตุการณ์ในคาบสมุทรเกาหลีที่อาจเกิดขึ้นได้
ตลอดเวลา ต้องไม่ละทิ้งความพยายามที่จะ
หลีกเลี่ยงสงครามในประเทศเพื่อนบ้านซึ่งจะส่งผล
เสียให้เศรษฐกิจประเทศจีนแน่นอนทรัมป์ได้บอกไว้
ว่า สหรัฐเข้าสู่ยุคใหม่ของการแข่งขันแล้ว ซึ่งนี่
หมายความว่าเขาจะต้องใช้มาตรการทั้งหมดที่
สามารถเป็นไปได้ในการแข่งขันกับจีน เราจะเห็นได้
จากการที่ทรัมป์ชูนโยบาย American Firstทั้ง
สหรัฐและจีนเริ่มเข้าสู่ยุคใหม่ของพวกเขา สหรัฐจะ
เข้าสู่ยุคใหม่แบบอเมริกันจาก American First
ส่วนยุคใหม่ของจีนจะเป็นในรูปแบบ “The
World First” ด้วยการแบ่งปันอนาคตร่วมกันกับ
มนุษยชาติ
สาหรับในปี 2018 ทั่วโลกคงจะเปิดรับจีน
มากขึ้นกว่าเดิม จีนเพียงต้องอยู่ในทางที่ถูกที่ควร
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเป็นประเทศที่ทันสมัย
อย่างที่ใจหวัง
ที่มา ที่มา : http://
en.silkroad.news.cn/2017/1221/75810.sh
tml
ที่มา : http://www.abc.net.au/radionational/programs/rearvision/what-china%E2%80%99s-stock-market-crash-says-about-modern-
china/6677518
7 | WORLD THINK TANK Monitor ธันวาคม 2017
โปรตุเกส กับ OBOR
ยุโรปเป็นจุดหมายปลายทางหลักที่จีนจะเชื่อมต่อด้วยผ่านยุทธศาสตร์ Belt and Road ใน
รายงานเรื่อง Europe and China’s New Silk Roads โดย European Think-tank
Network on China (ETNC) ซึ่งเผยแพร่เมื่อเดือนธันวาคม 2016 ได้รวบรวมรายงานสถานการณ์
ความเป็นไปและปฏิกิริยาต่อยุทธศาสตร์ Belt and Road ของประเทศยุโรปต่างๆ โดยความร่วมมือของ
Think Tank ชั้นนาต่างๆ ของยุโรป ใน World Think Tank ฉบับนี้จะขอนาเรื่อง Belt and
Road กับประเทศโปรตุเกส มาแนะนาโดยสังเขป
ในบทความเรื่อง Portugal and OBOR: Welcoming, but Lacking a Strategy
ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของรายงานชิ้นดังกล่าว Carlos Rodrigues อาจารย์ประจา Department of So-
cial, Political and Territorial Sciences, University of Aveiro ประเทศโปรตุเกส กล่าว
ว่าในภาพรวมนั้น นโยบาย BRI ได้รับปฏิกิริยาบวกจากโปรตุเกส โดยเฉพาะจากภาครัฐ อย่างไรก็ตาม
รัฐบาลโปรตุเกสยังขาดยุทธศาสตร์เชิงรุกที่ชัดเจนในการหาประโยชน์จากนโยบายดังกล่าวของจีน แม้ว่า
โปรตุเกสจะมีต้นทุนและศักยภาพที่ดีเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความสัมพันธ์กับจีน ที่สาคัญคือ ที่ตั้งทาง
กายภาพของประเทศ ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของยุโรปติดมหาสมุทรแอตแลนติก สามารถเป็นจุดเชื่อมต่อของการค้า
ทางทะเลระหว่างยุโรปใต้ แอฟริกา และอเมริกาใต้ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผ่านท่าเรือ Sines ท่าเรือสาคัญ
ของประเทศ ข้อได้เปรียบเรื่องที่ตั้งนี้ ทาให้จีนสนใจเข้ามาลงทุนและหาช่องทางสร้างความร่วมมือกับโปรตุเกส
โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับท่าเรือดังกล่าวอย่างมาก นอกจากนั้น ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา จีนก็เข้ามาค้าขายและ
ที่มาภาพ http://www.portodesines.pt/media/1206/mapas_localiza%C3%A7%C3%A3o.jpg
WORLD THINK TANK Monitor ธันวาคม 2017| 8
ลงทุนกับประเทศโปรตุเกสเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ ต้นทุนสุดท้ายที่สาคัญของโปรตุเกสคือการมีความสัมพันธ์ที่
ดีมาอย่างยาวนานกับจีน
ประเทศไทยคล้ายกับโปรตุเกสในแง่ที่ว่าเป็นที่สนใจของจีนในการเข้ามาเชื่อมต่อสร้างความร่วมมือ
ด้วย ทั้งโดยทั่วไปและผ่านยุทธศาสตร์ Belt and Road เป็นอย่างยิ่ง จากการมีต้นทุนที่ดีทางทาเลที่ตั้งที่
จะเป็นจุดเชื่อมต่อสาคัญของเส้นทางสายไหมใหม่ของจีน และความสัมพันธ์ที่ดีและแน่นแฟ้นยาวนานและ
เพิ่มพูนขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการค้าและเศรษฐกิจในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม หากเราปราศจากความคิด
เชิงยุทธศาสตร์ของภาครัฐและสังคม เราก็ไม่อาจจะใช้ประโยชน์จากศักยภาพที่เรามีให้ได้รับโอกาสการพัฒนา
ที่เต็มที่ได้
ภาพ : ท่าเรือ Sines
ที่มาภาพ http://www.portodesines.pt/en/the-port/characteristics/
อ้างอิง
Carlos Rodrigues.Portugal and OBOR: Welcoming, but Lacking a Strategy. ใน Frans-Paul van
der Putten, John Seaman,Mikko Huotari, Alice Ekman, Miguel Otero-Iglesias. Europe and China’s New
Silk Roads. ออนไลน์https://www.merics.org/fileadmin/user_upload/downloads/Allgemeine_PDF/etnc-report-
2016.PDF
9 | WORLD THINK TANK Monitor ธันวาคม 2017
วิทยากร (ซ้ายไปขวา) เอกอัครราชทูตวิบูลย์ คูสกุล ศ.ดร. สุรเกียรติ์เสถียรไทย และ รศ.ดร. Yu Qun
เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2560 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัย
รังสิต ได้จัดเวทีประชุมเวที Think Tank ครั้งที่ 14 เรื่อง ผู้นาจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่
พรรคคอมมิวนิสต์จีนครั้งที่ 19 : บทเรียน และทิศทางต่อโลกและไทย ณ โรงแรมปทุมวัน ปริ้นเซส กทม.
ได้รับเกียรติจาก ศ.ดร. สุรเกียรติ์ เสถียรไทย ประธานคณะมนตรีเพื่อสันติภาพและความปรองดองแห่งเอเชีย
(APRC) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และอดีตรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงการคลัง อดีตเอกอัครราชทูตวิบูลย์ คูสกุล อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจาประเทศจีน และ รศ.ดร.
Yu Qun นักวิจัย ณ Collaborative Innovation Center of South China Sea Stud-
ies, Nanjing University และอาจารย์แลกเปลี่ยนคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็น
วิทยากรบรรยาย โดยมีนักคิด นักยุทธศาสตร์ นักนโยบาย นักวิชาการ และผู้ทรงคุณวุฒิจากหลากหลาย
วงการและสาขาอาชีพที่เชี่ยวชาญและมีความสนใจเรื่องจีนเข้าร่วมระดมสมองเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์และ
แนวโน้มใหม่ของโลก จีน และไทย ภายหลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีนครั้งที่ 19
ในการนี้ สถาบันคลังปัญญาฯ ได้จัดทารายงานสรุปเนื้อหาการประชุมครั้งนี้เผยแพร่เป็นความรู้สู่ผู้
กาหนดและตัดสินใจทางนโยบาย ภาคส่วนต่างๆ นิสิตนักศึกษาและประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจเรื่องจีน
สามารถดาวน์โหลดได้ที่ www.rsu-brain.com
ไทยในยุคบูรพาภิวัตน์
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
เอนกทรรศน์
ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์
จีนมุ่งลงใต้ อินเดียมุ่งตะวันออก
ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์
เพ่งประชาธิปไตยโลก
พิศประชาธิปไตยไทย
ขบวนการรัฐอิสลาม(Islamic State)
อาทิตย์ ทองอินทร์
สั่งซื้อได้ที่ ...
1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com
2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราชการ)
3) Facebook Page : สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
CPWI Bookstore
วิทยาลัย
รัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริของ
ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุน
จาก ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความ
ปรารถนาที่ต้องการให้เป็นคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ โดยมีพันธกิจ
ดังนี้
เพื่อการพัฒนา
ประเทศอย่างมีสุขภาวะท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคบูรพาภิวัตน์
ระหว่างสถาบันทาง
วิชาการต่างๆ ในประเทศให้เกิดการเชื่อมโยงศึกษาต่อย่อยประเด็นวิชาการเพื่อการพัฒนา
เชิงยุทธศาสตร์
เพื่อร่วมระดมความคิด หาทางออกและชี้แนะแนวทางยุทธศาสตร์
เพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทย
ให้ได้มีโอกาสเรียนรู้
และแลกเปลี่ยนความคิดอย่างสร้างสรรค์
ผ่านช่องทางสื่อสาธารณะเพื่อให้สาธารณะสามารถเข้าถึงเพื่อการเรียนรู้
กับสังคมในวงกว้าง
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ คลังปัญญาเพื่อการอภิวัฒน์ประเทศไทย มีชื่อ
ภาษาอังกฤษว่า “Klangpanya” โดยการสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
มีความปรารถนาที่จะเป็นคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ โดยรวบรวมนักคิด นักยุทธศาสตร์ นักวิชาการ และผู้นาที่มี
ประสบการณ์ มาระดมความคิด เพื่อกรองประเด็นออกมาเป็นทั้งความรู้และข้อเสนอด้านยุทธศาสตร์ ผ่านการจัดเวที
การประชุมต่างๆ เช่น เวทียุทธศาสตร์ ที่มีการจัดมาอย่างต่อเนื่อง
1Full text of President Xi's speech at opening of Belt and Road forum. ออนไลน์ http://news.xinhuanet.com/english/2017-05/14/c_136282982.htm#0-fbook-1-87251-
b182d7286068ff4101843e17368e4b10
2Archeologists Find New Starting Point of 'Silk Road On Sea' ออนไลน์http://www.china.org.cn/english/features/woeld_heritage/23864.htm
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
Website: www.furd-rsu.org
Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864

Más contenido relacionado

Más de Klangpanya

Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
Klangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Klangpanya
 

Más de Klangpanya (20)

Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdf
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
 

World Think Tank Monitor มกราคม 2561

  • 1. ปี ที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม 2561 ปรับมุมมองทาง ภูมิศาสตร์ : ก้าวแรกของอินเดียและ พันธมิตรในการทัดทานจีน 2018 ปีที่สดใสของจีน โปรตุเกสกับ OBOR ผู้นาจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชา ใหญ่พรรคคอมฯ จีน ครั้งที่ 19 : บทเรียน และทิศทางต่อโลกและไทย
  • 2. i | WORLD THINK TANK Monitor ธันวาคม 2017 ยุวดี คาดการณ์ไกล ปลายฟ้า บุนนาค ปลายฟ้า บุนนาค ปาณัท ทองพ่วง อุสมาน วาจิ ปลายฟ้า บุนนาค https://img00.deviantart.net/ab69/i/2009/112/ d/a/dragon_vs__tiger_by_thetruefoldedsteel.jpg http://images4.static-bluray.com/ reviews/15788_5.jpg มกราคม 2561 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 http://rsu-brain.com/ Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864 บรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ ออกแบบและจัดรูปเล่ม ภาพปก เผยแพร่ CONTACT US ภาพปกใน
  • 3. สวัสดีปีใหม่ผู้อ่านทุกท่าน สาหรับปีที่ผ่านมาสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติได้ติดตามสถานการณ์ความ เคลื่อนไหวของโลกอย่างต่อเนื่องผ่าน World Think Tank Monitor และเช่นกัน สาหรับปี 2018 นี้ สถาบันคลัง ปัญญาฯ ของเรา ก็ยังคงมุ่งมั่นติดตามสถานการณ์สาคัญทั่วโลกและในไทยมาให้คุณผู้อ่านได้อ่านกัน เชิญติดตามเนื้อหาด้านใน ได้เลยค่ะ ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ ปรับมุมมองทาง ภูมิศาสตร์ : ก้าวแรกของอินเดียและ พันธมิตรในการทัดทานจีน 2018 ปีที่สดใสของจีน 4 โปรตุเกส กับ OBOR 7 ผู้นาจีนคณะใหม่หลัง การประชุมสมัชชา พรรคคอมฯ จีน ครั้งที่ 19 : บทเรียนและ ทิศทางต่อโลกและไทย 9 ที่มาภาพ : http://images.all-free-download.com/images/graphiclarge/ peacock_icons_multicolored_feather_decoration_flat_design_6833428.jpg
  • 4. 1 | WORLD THINK TANK Monitor ธันวาคม 2017 ในปัจจุบันอิทธิพลของจีนขยายออกไปยัง ต่างประเทศมากขึ้นตามขนาดเศรษฐกิจที่เติบโตอย่าง ต่อเนื่อง โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และ เอเชียกลางซึ่งเป็นเหมือนหลังบ้านของจีนเนื่องจากมี พรมแดนและผลประโยชน์ที่เกี่ยวเนื่องกัน และขยาย อิทธิพลต่อเนื่องไปยังยุโรปด้วยมหายุทธศาสตร์ Belt & Road ที่ทาให้ภูมิภาคยุโรปและเอเชียเชื่อมโยงกัน อย่างไม่เคยเป็นมาก่อน โดยภูมิภาคต่าง ๆ ล้วนมี ความยินดีที่จะร่วมมือกับจีนเนื่องด้วยผลประโยชน์ทาง เศรษฐกิจ อย่างไรก็ตามในพื้นที่เหล่านี้แต่เดิมนั้น อินเดีย ญี่ปุ่น และสหรัฐฯ ต่างหมายปองที่จะเป็นผู้นา ที่มีอิทธิพลในการกาหนดนโยบายต่าง ๆ จึงไม่พอใจ นักหากจีนจะเข้ามาเบียดแย่งอิทธิพลตรงนี้ไป แต่จะมีชาติใดสามารถทัดทานจีนได้จริงหรือ เมื่อมองอินเดีย ที่ผ่านมานั้นกรอบที่อินเดียใช้มอง โลกมักจะเป็นกรอบที่แบ่งตามภูมิภาคเดี่ยว เช่นการ มองเอเชียและยุโรปอย่างแยกออกจากกัน ต่างจาก จีนที่มหายุทธศาสตร์ Belt & Road นั้น ครอบคลุมทั้งเอเชียและยุโรป ฉะนั้นแล้วอินเดีย ต้องมองโลกโดยใช้กรอบ “ยูเรเชีย” หรือการมอง โดยผนวกทั้งสองทวีปให้มากขึ้นจึงจะขยายอิทธิพล ของตนได้ ในช่วงปลายปี 2017 นี้มีบางเหตุการณ์ ชี้ว่าหากอินเดียจะขยายอิทธิพลของตนแล้วจะต้อง มองภูมิรัฐศาสตร์อย่างบูรณาการ เช่น การเปิดใช้ ท่าเรือคาบาฮารซึ่งอยู่ทางชายฝั่งทางตะวันออกเฉียง ใต้ของอิหร่านซึ่งนอกจากจะยกระดับการขนส่งสินค้า ของประเทศยูเรเชียกลางแล้ว ยังจะส่งเสริมการ ขนส่งสินค้าระหว่างยูเรเชียกลางและอินเดียมากขึ้น เหตุการณ์ต่อมาคือการได้รับการรับรองเข้าเป็น สมาชิกอย่างมีอานาจเต็มเข้าสู่องค์การความร่วมมือ เซี่ยงไฮ้ ที่นาโดย รัสเซีย จีน อีกทั้งมีประเทศใน ยูเรเชียกลางเป็นกลุ่มสมาชิกสาคัญ แต่ในการ ที่มาภาพ https://www.lowyinstitute.org/sites/default/files/india-globe.jpg
  • 5. WORLD THINK TANK Monitor ธันวาคม 2017| 2 ประชุม C-CEEC ซึ่งเป็นการประชุมร่วมระหว่าง ชาติยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก 16 ประเทศ ร่วมกับจีน อินเดียแทบไม่ให้ความสนใจในการ ประชุมนี้เลย สะท้อนว่านโยบายต่างประเทศของ อินเดียนั้นยังปรับตัวไม่ทันตามภูมิรัฐศาสตร์ที่ เปลี่ยนแปลงไป “อินโด-แปซิฟิก”ก็เป็นอีกความพยายามหนึ่ง ที่มีขึ้นเพื่อทัดทานจีนโดนสหรัฐฯ ในการเยือนสหรัฐฯ ของประธานาธิบดี นเรนทรา โมดี ในเดือนมิถุนายน 2017 เป็นครั้งแรกที่มีการกล่าวคาว่า “อินโด- แปซิฟิก” จากฝ่ายสหรัฐฯ หลังจากนั้นเมื่อเดือน พฤศจิกายนที่ผ่านมา ในการเยือนเอเชียของ ประธานาธิบดี โดนัล ทรัมป์ ได้กล่าวในการประชุม APEC ถึงภูมิภาค อินโด-แปซิฟิก อีกหลายครั้ง โดยจะร่วมมือกับอินเดียญี่ปุ่น และออสเตรเลีย ใน การสร้างความร่วมมือนี้ขึ้น ซึ่งอินโด-แปซิฟิกนั้น ครอบคลุมพื้นที่มากกว่า “เอเชีย-แปซิฟิก” โดย ครอบคลุมตั้งแต่มหาสมุทรอินเดียไปจรดมหาสมุทร แปซิฟิกแต่ไม่มีจีนเป็นส่วนหนึ่ง จึงมีการตั้งข้อสังเกต ว่าความร่วมมือนี้มีขึ้นเพื่อทัดทานมหายุทธศาสตร์ Belt & Road ที่ครอบคลุมพื้นที่ทั้งทวีปเอเชีย และยุโรป เช่นเดียวกันการขยายอิทธิพลของอินเดียใน ยูเรเชีย ความร่วมมือ “อินโด-แปซิฟิก”นั้นยังไม่ เป็นที่ชัดเจนว่าสหรัฐฯ จะให้ความสาคัญมากเพียงใด จะมีเพียงการแสดงออกอย่างชัดเจนประธานาธิบดี ทรัมป์เท่านั้นเอง อาจจะเป็นไปได้ว่าเมื่อหมดสมัย ของประธานาธิบดีทรัมป์แล้ว อินโด-แปซิฟิก ก็ อาจจะหมดความสาคัญไปด้วย เช่นเดียวกับข้อตกลง การค้าเสรี Trans-Pacific Partnership (TPP) ที่สิ้นสุดลงพร้อมกับสมัยของประธานาธิบดี โอบามา ยิ่งไปกว่านั้นหากวิเคราะห์แนวโน้มที่ สหรัฐฯ ในยุคของทรัมป์พยายามลดการแบกรับภาระ ในเวทีระหว่างประเทศลงก็ต้องพิจารณาต่อไปว่าชาติ พันธมิตรนั้นจะเข้าสนับสนุนมากเพียงใด แต่อินเดีย และญี่ปุ่นเองก็ไม่ได้มีเศรษฐกิจที่เข้มแข็งพอที่จะทัด ทานจีนได้ จึงน่าสงสัยว่าความร่วมมือ อินโด- แปซิฟิก จะซ้ารอยเดิมกับ ข้อตกลงการค้าเสรี Trans-Pacific Partnership (TPP) ที่ ภาพ : ประเทศในกลุ่มยูเรเชียกลาง ที่มาภาพ : https://libraries.indiana.edu/central-eurasian-studies-collection-wells-library
  • 6. 3 | WORLD THINK TANK Monitor ธันวาคม 2017 ล้มเหลวไปแล้วหรือไม่ เพราะสหรัฐฯ และชาติ พันธมิตรขาดความเข้มแข็งทางด้านเศรษฐกิจ ในมุมของผู้เรียบเรียงเห็นว่าในปัจจุบันที่ กระแสบูรพาภิวัตน์ซึ่งนาโดยจีนกาลังเข้มแข็ง ควร เป็นเวลาที่สหรัฐฯ และชาติพันธมิตรต้องเข้าใจและ ปรับตัวให้ได้กับการเป็นหมายเลขสองในบางแง่มุม การที่สหรัฐฯ และโลกตะวันตกถดถอยลงจนจนทา ให้ในบางพื้นที่นั้นกลายเป็นเขตอิทธิพลของสหรัฐฯ เวลานี้เป็นเวลาที่โลกตะวันตกควรหันมุ่งเน้นไปที่การ แก้ปัญหาภายในประเทศให้ดีขึ้น การที่ทรัมป์ซึ่งมี แนวคิด “Make American Great Again” ชนะเลือกตั้งก็เป็นสิ่งที่ชี้วัดได้อย่างหนึ่งว่าประชาชน ต้องการให้รัฐบาลของตนแก้ปัญหาภายในเป็นอย่าง แรก อินเดียก็ยังมีปัญหาการว่างงานและความ ยากจนอยู่มากแม้ในระยะหลังเศรษฐกิจจะเจริญขึ้น ส่วนญี่ปุ่นอยู่ในภาวะเศรษฐกิจถดถอยมาหลายปีแล้ว จนนามาสู่ปัญหาอื่น ๆ เช่น ปัญหาสังคมสูงวัยที่มี ประชากรสูงอายุจานวนมากแต่ไม่มีประชากรวัย แรงงานที่จะคอยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ แต่จีนนั้นการ ขยายอิทธิพลออกไปสู่ภายนอกคือการหาตลาดใหม่ และการลงทุนที่จะเป็นประโยชน์ต่อจีนเอง จึงไม่ แปลกอะไรที่จีนจะดาเนินยุทธศาสตร์ที่ครอบคลุม พื้นที่อย่างกว้างขวางเช่น Belt & Road ที่มา http:// carnegieindia.org/2017/12/05/raja- mandala-after-indo-pacific-eurasian- idea-pub-74904 ภาพ : ประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ กล่าวย้าหลายครั้งถึงความร่วมมือ “อินโด-แปซิฟิก” ในการประชุม APEC ที่มาภาพ : https://asia.nikkei.com/Spotlight/Trump-s-Asian-visit/Trump-warns-Indo-Pacific-nations-on-trade-abuses
  • 7. WORLD THINK TANK Monitor ธันวาคม 2017| 4 Liu Zhiqin ส ม า ชิ ก อ า วุ โ ส ข อ ง Chongyang Institute for Financial Studies of Renmin University แ ล ะ อดีตหัวหน้าผู้แทนธนาคาร Zürcher Kantonal สาขากรุงปักกิ่ง ได้เขียนบทความเรื่อง New Era will bring a new China in 2018 โดยได้ ให้ความเห็นไว้ว่าในปีนี้ (2017) เป็นปีที่พิเศษกับ ทั้งจีนและสหรัฐ มันเป็นจุดเริ่มต้นยุคใหม่ของจีน และยังเป็นปีแรกของการรับตาแหน่งประธานาธิบดี ของทรัมป์อีกด้วย ทั่วทั้งโลกกาลังจับตามองอย่าง อยากรู้อยากเห็นและระแวดระวังต่อการพัฒนาและ ความสัมพันธ์ของทั้งสองยักษ์ใหญ่ด้วย เมื่อ 18 ธันวาคม 2017 ประธานาธิบดี สหรัฐอเมริกา โดนัลด์ ทรัมป์ได้ออกแถลงการณ์ ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงแห่งชาติ เน้นว่าจีนจะ กลายเป็น “คู่แข่ง” ของสหรัฐในอนาคต แถลงการณ์ฉบับนี้ยืนยันได้ว่าผลการดาเนินงานที่ ผ่านมาของจีน โดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจและ เทคโนโลยีแสดงให้เห็นถึงความแข็งแกร่งของจีนที่ เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในช่วงสามทศวรรษที่ผ่านมา และการที่ประเทศเศรษฐกิจแบบตลาดที่ใหญ่ที่สุดใน โลกเพิ่งลงนามข้อตกลงที่มีมูลค่าที่สุดในโลก (มูลค่า 2.535 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ) กับ ประเทศที่ไม่ได้ใช้ระบบตลาดขนาดใหญ่ที่สุดในโลก (ตามที่สหรัฐและประเทศพัฒนาแล้วให้นิยามไว้) แสดงให้เห็นความจริงข้อหนึ่งว่า ข้อตกลงทางธุรกิจก็ คือข้อตกลงทางธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นประเทศเศรษฐกิจ แบบตลาดหรือไม่ใช่ก็ตาม และประเทศจีน ไม่ว่าใน สายตาคนทั่วโลกจะเป็นอย่างไร ตอนนี้จีนได้สร้าง เศรษฐกิจขนาดใหญ่ขึ้นมาด้วยกลไกทางการตลาดซึ่ง นาความเจริญรุ่งเรืองไปทั่วทุกมุมโลก เหตุผลที่ทาให้สหรัฐเห็นจีนเป็นคู่แข่งที่ต้อง จับตามอง 1. จีนบรรลุเป้าหมายที่ GDP ต้องสูงถึง 6.7% ซึ่งมีส่วนแบ่งเป็น 33% ของเศรษฐกิจโลก ทั้งหมด 2018 ปีที่สดใสของจีน
  • 8. 5 | WORLD THINK TANK Monitor ธันวาคม 2017 2. จีนจะทาให้คนจนในประเทศอย่างน้อย 14 ล้านคนหายยากจนภายในปี 2020 และเป็น ประเทศเดียวที่จะสามารถช่วยให้ UN บรรลุ เป้าหมายการพัฒนาโลกได้ภายในปี 2030 จีนคือ ตัวแสดงหลักในเรื่องนี้ 3. การปรับโครงสร้างรัฐวิสาหกิจของจีน (SOEs) ได้กลายมาเป็นหมุดหมายสาคัญของปีนี้ กว่า 80% ของรัฐวิสาหกิจของรัฐบาลกลางได้ปรับ รูปแบบให้เป็นเจ้าของร่วม (mixed owner- ship) ภายในปี 2017 นี้ ความสาเร็จนี้จะ กลายเป็นสิ่งที่สาคัญมากในประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ของจีน เพราะรัฐบาลจีนได้ให้คาสัญญาต่อโลกไว้ว่า รัฐวิสาหกิจของจีนจะปฏิบัติตามเงื่อนไขทางธุรกิจ อย่างเป็นธรรมและโปร่งใส นอกจากนี้ยังส่งผล กระทบอย่างมีนัยสาคัญต่อโครงสร้างทางเศรษฐกิจ ของโลกด้วย 4. จีนประสบความสาเร็จในการเปลี่ยน จากการพัฒนาในรูปแบบเก่าไปสู่ยุคการพัฒนาแบบ ใหม่และการพัฒนาสีเขียว (Green Develop- ment) จีนได้กลายเป็นกลไกที่สาคัญที่สุดสาหรับ ข้อตกลงปารีส (Paris Agreement) ซึ่งเป็น ข้อตกลงเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ส่วนการพัฒนาสีเขียวจะเป็นเรื่องที่รัฐบาลจีนจะให้ ความสาคัญมากที่สุดในอีก 15 ปีต่อจากนี้ไป สี จิ้นผิง ประกาศว่าจีนมีภารกิจหลัก 3 อย่างที่จะต้องทาในปี 2018 คือ ควบคุมความ เสี่ยง บรรเทาความยากจน และควบคุมมลพิษ ทั้ง ชาติต้องมุ่งมั่นที่จะร่วมมือกันเพื่อให้บรรลุภารกิจ เหล่านี้ จีนกาลังเผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ ที่คาด ไม่ถึง ซึ่งอาจเกิดจากความเสี่ยงต่างๆ สิ่งสาคัญที่สุด คือต้องสร้างการป้องกันความเสี่ยงต่อภาคการเงิน ความปลอดภัยในด้านการเงินและการธนาคารมี ความสาคัญอย่างยิ่งต่อความมั่นคงของการพัฒนา ประเด็นที่สองคือ ต้องให้ความสาคัญกับ การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ โดยเฉพาะเทคโนโลยี ที่เรียกว่า “เทคโนโลยีมืด” (Dark Technolo- gy) ซึ่งจะส่งผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อพฤติกรรม และชีวิตประจาวันของมนุษย์ จีนต้องลงทุนเพิ่มเติม ในการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่สามารถช่วยให้ มนุษย์ใช้ชีวิตอย่างมีความสุข ซึ่งจีนนั้นมีขนาดใหญ่ พอที่จะพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ทุกประเภทเพื่อ ตอบสนองความต้องการของตลาดและประชาชน ที่มาภาพ : http://www.chinadaily.com.cn/dfpd/2010gaotie/images/attachement/jpg/ site1/20101213/0023ae606f170e70263b37.jpg
  • 9. WORLD THINK TANK Monitor ธันวาคม 2017| 6 จีนและสหรัฐควรเรียนรู้กันและกันและต้อง พยายามอย่างดีที่สุดที่จะทาความเข้าใจซึ่งกันและกัน สาหรับการทาธุรกิจแล้วนั้น ความเข้าใจเป็นปัจจัย สาคัญที่จะทาให้ข้อตกลงทางธุรกิจบรรลุผล เพราะ ความเข้าใจซึ่งกันและกัน นามาซึ่งความไว้วางใจซึ่ง กันและกัน ที่จะเป็นรากฐานสาคัญของความร่วมมือ ที่ลึกซึ้ง Liu Zhiqin คิดว่าปี 2018 จะเป็นปีที่ สดใสสาหรับจีน เพราะทั้งจีนและสหรัฐอยู่ในสถานะ ที่ใกล้เคียงกันมาก ความเสี่ยงเดียวสาหรับจีนคือ ต้องหลีกเลี่ยงการดาเนินนโยบายที่ไม่ถูกต้องที่จะทา ให้การพัฒนาเศรษฐกิจของจีนต้องชะงัก จีนต้องยึด ติดกับเป้าหมายและความฝันของตนอย่างใกล้ชิด และหลีกเลี่ยงการใช้ความรุนแรงหรือปัจจัยต่างๆ เ ช่ น ลั ท ธิ ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง ท า ง ก า ร ค้ า (Protectionism) และ ลัทธิโดดเดี่ยวนิยม (Isolationism) ซึ่งอาจจะทาให้จีนไปสู่ทิศทางที่ ไม่ถูกต้อง อย่างไรก็ตาม จีนต้องเตรียมตัวให้พร้อม สาหรับเหตุการณ์ในคาบสมุทรเกาหลีที่อาจเกิดขึ้นได้ ตลอดเวลา ต้องไม่ละทิ้งความพยายามที่จะ หลีกเลี่ยงสงครามในประเทศเพื่อนบ้านซึ่งจะส่งผล เสียให้เศรษฐกิจประเทศจีนแน่นอนทรัมป์ได้บอกไว้ ว่า สหรัฐเข้าสู่ยุคใหม่ของการแข่งขันแล้ว ซึ่งนี่ หมายความว่าเขาจะต้องใช้มาตรการทั้งหมดที่ สามารถเป็นไปได้ในการแข่งขันกับจีน เราจะเห็นได้ จากการที่ทรัมป์ชูนโยบาย American Firstทั้ง สหรัฐและจีนเริ่มเข้าสู่ยุคใหม่ของพวกเขา สหรัฐจะ เข้าสู่ยุคใหม่แบบอเมริกันจาก American First ส่วนยุคใหม่ของจีนจะเป็นในรูปแบบ “The World First” ด้วยการแบ่งปันอนาคตร่วมกันกับ มนุษยชาติ สาหรับในปี 2018 ทั่วโลกคงจะเปิดรับจีน มากขึ้นกว่าเดิม จีนเพียงต้องอยู่ในทางที่ถูกที่ควร เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเป็นประเทศที่ทันสมัย อย่างที่ใจหวัง ที่มา ที่มา : http:// en.silkroad.news.cn/2017/1221/75810.sh tml ที่มา : http://www.abc.net.au/radionational/programs/rearvision/what-china%E2%80%99s-stock-market-crash-says-about-modern- china/6677518
  • 10. 7 | WORLD THINK TANK Monitor ธันวาคม 2017 โปรตุเกส กับ OBOR ยุโรปเป็นจุดหมายปลายทางหลักที่จีนจะเชื่อมต่อด้วยผ่านยุทธศาสตร์ Belt and Road ใน รายงานเรื่อง Europe and China’s New Silk Roads โดย European Think-tank Network on China (ETNC) ซึ่งเผยแพร่เมื่อเดือนธันวาคม 2016 ได้รวบรวมรายงานสถานการณ์ ความเป็นไปและปฏิกิริยาต่อยุทธศาสตร์ Belt and Road ของประเทศยุโรปต่างๆ โดยความร่วมมือของ Think Tank ชั้นนาต่างๆ ของยุโรป ใน World Think Tank ฉบับนี้จะขอนาเรื่อง Belt and Road กับประเทศโปรตุเกส มาแนะนาโดยสังเขป ในบทความเรื่อง Portugal and OBOR: Welcoming, but Lacking a Strategy ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของรายงานชิ้นดังกล่าว Carlos Rodrigues อาจารย์ประจา Department of So- cial, Political and Territorial Sciences, University of Aveiro ประเทศโปรตุเกส กล่าว ว่าในภาพรวมนั้น นโยบาย BRI ได้รับปฏิกิริยาบวกจากโปรตุเกส โดยเฉพาะจากภาครัฐ อย่างไรก็ตาม รัฐบาลโปรตุเกสยังขาดยุทธศาสตร์เชิงรุกที่ชัดเจนในการหาประโยชน์จากนโยบายดังกล่าวของจีน แม้ว่า โปรตุเกสจะมีต้นทุนและศักยภาพที่ดีเป็นพื้นฐานในการพัฒนาความสัมพันธ์กับจีน ที่สาคัญคือ ที่ตั้งทาง กายภาพของประเทศ ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของยุโรปติดมหาสมุทรแอตแลนติก สามารถเป็นจุดเชื่อมต่อของการค้า ทางทะเลระหว่างยุโรปใต้ แอฟริกา และอเมริกาใต้ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผ่านท่าเรือ Sines ท่าเรือสาคัญ ของประเทศ ข้อได้เปรียบเรื่องที่ตั้งนี้ ทาให้จีนสนใจเข้ามาลงทุนและหาช่องทางสร้างความร่วมมือกับโปรตุเกส โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับท่าเรือดังกล่าวอย่างมาก นอกจากนั้น ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา จีนก็เข้ามาค้าขายและ ที่มาภาพ http://www.portodesines.pt/media/1206/mapas_localiza%C3%A7%C3%A3o.jpg
  • 11. WORLD THINK TANK Monitor ธันวาคม 2017| 8 ลงทุนกับประเทศโปรตุเกสเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ ต้นทุนสุดท้ายที่สาคัญของโปรตุเกสคือการมีความสัมพันธ์ที่ ดีมาอย่างยาวนานกับจีน ประเทศไทยคล้ายกับโปรตุเกสในแง่ที่ว่าเป็นที่สนใจของจีนในการเข้ามาเชื่อมต่อสร้างความร่วมมือ ด้วย ทั้งโดยทั่วไปและผ่านยุทธศาสตร์ Belt and Road เป็นอย่างยิ่ง จากการมีต้นทุนที่ดีทางทาเลที่ตั้งที่ จะเป็นจุดเชื่อมต่อสาคัญของเส้นทางสายไหมใหม่ของจีน และความสัมพันธ์ที่ดีและแน่นแฟ้นยาวนานและ เพิ่มพูนขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการค้าและเศรษฐกิจในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม หากเราปราศจากความคิด เชิงยุทธศาสตร์ของภาครัฐและสังคม เราก็ไม่อาจจะใช้ประโยชน์จากศักยภาพที่เรามีให้ได้รับโอกาสการพัฒนา ที่เต็มที่ได้ ภาพ : ท่าเรือ Sines ที่มาภาพ http://www.portodesines.pt/en/the-port/characteristics/ อ้างอิง Carlos Rodrigues.Portugal and OBOR: Welcoming, but Lacking a Strategy. ใน Frans-Paul van der Putten, John Seaman,Mikko Huotari, Alice Ekman, Miguel Otero-Iglesias. Europe and China’s New Silk Roads. ออนไลน์https://www.merics.org/fileadmin/user_upload/downloads/Allgemeine_PDF/etnc-report- 2016.PDF
  • 12. 9 | WORLD THINK TANK Monitor ธันวาคม 2017 วิทยากร (ซ้ายไปขวา) เอกอัครราชทูตวิบูลย์ คูสกุล ศ.ดร. สุรเกียรติ์เสถียรไทย และ รศ.ดร. Yu Qun เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2560 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัย รังสิต ได้จัดเวทีประชุมเวที Think Tank ครั้งที่ 14 เรื่อง ผู้นาจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่ พรรคคอมมิวนิสต์จีนครั้งที่ 19 : บทเรียน และทิศทางต่อโลกและไทย ณ โรงแรมปทุมวัน ปริ้นเซส กทม. ได้รับเกียรติจาก ศ.ดร. สุรเกียรติ์ เสถียรไทย ประธานคณะมนตรีเพื่อสันติภาพและความปรองดองแห่งเอเชีย (APRC) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และอดีตรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลัง อดีตเอกอัครราชทูตวิบูลย์ คูสกุล อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจาประเทศจีน และ รศ.ดร. Yu Qun นักวิจัย ณ Collaborative Innovation Center of South China Sea Stud- ies, Nanjing University และอาจารย์แลกเปลี่ยนคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็น วิทยากรบรรยาย โดยมีนักคิด นักยุทธศาสตร์ นักนโยบาย นักวิชาการ และผู้ทรงคุณวุฒิจากหลากหลาย วงการและสาขาอาชีพที่เชี่ยวชาญและมีความสนใจเรื่องจีนเข้าร่วมระดมสมองเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์และ แนวโน้มใหม่ของโลก จีน และไทย ภายหลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีนครั้งที่ 19 ในการนี้ สถาบันคลังปัญญาฯ ได้จัดทารายงานสรุปเนื้อหาการประชุมครั้งนี้เผยแพร่เป็นความรู้สู่ผู้ กาหนดและตัดสินใจทางนโยบาย ภาคส่วนต่างๆ นิสิตนักศึกษาและประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจเรื่องจีน สามารถดาวน์โหลดได้ที่ www.rsu-brain.com
  • 13. ไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ เอนกทรรศน์ ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์ จีนมุ่งลงใต้ อินเดียมุ่งตะวันออก ศ.ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย ขบวนการรัฐอิสลาม(Islamic State) อาทิตย์ ทองอินทร์ สั่งซื้อได้ที่ ... 1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com 2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราชการ) 3) Facebook Page : สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ CPWI Bookstore
  • 14. วิทยาลัย รัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริของ ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุน จาก ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความ ปรารถนาที่ต้องการให้เป็นคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ โดยมีพันธกิจ ดังนี้ เพื่อการพัฒนา ประเทศอย่างมีสุขภาวะท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคบูรพาภิวัตน์ ระหว่างสถาบันทาง วิชาการต่างๆ ในประเทศให้เกิดการเชื่อมโยงศึกษาต่อย่อยประเด็นวิชาการเพื่อการพัฒนา เชิงยุทธศาสตร์ เพื่อร่วมระดมความคิด หาทางออกและชี้แนะแนวทางยุทธศาสตร์ เพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทย ให้ได้มีโอกาสเรียนรู้ และแลกเปลี่ยนความคิดอย่างสร้างสรรค์ ผ่านช่องทางสื่อสาธารณะเพื่อให้สาธารณะสามารถเข้าถึงเพื่อการเรียนรู้ กับสังคมในวงกว้าง สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ คลังปัญญาเพื่อการอภิวัฒน์ประเทศไทย มีชื่อ ภาษาอังกฤษว่า “Klangpanya” โดยการสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มีความปรารถนาที่จะเป็นคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ โดยรวบรวมนักคิด นักยุทธศาสตร์ นักวิชาการ และผู้นาที่มี ประสบการณ์ มาระดมความคิด เพื่อกรองประเด็นออกมาเป็นทั้งความรู้และข้อเสนอด้านยุทธศาสตร์ ผ่านการจัดเวที การประชุมต่างๆ เช่น เวทียุทธศาสตร์ ที่มีการจัดมาอย่างต่อเนื่อง 1Full text of President Xi's speech at opening of Belt and Road forum. ออนไลน์ http://news.xinhuanet.com/english/2017-05/14/c_136282982.htm#0-fbook-1-87251- b182d7286068ff4101843e17368e4b10 2Archeologists Find New Starting Point of 'Silk Road On Sea' ออนไลน์http://www.china.org.cn/english/features/woeld_heritage/23864.htm
  • 15. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 Website: www.furd-rsu.org Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864