SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 23
Descargar para leer sin conexión
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
มกราคม 2559 l ปีที่ 2 ฉบับที่ 1
เกิดอะไรกับ
เศรษฐกิจจีน?
อันตรายที่มากับ อนาคตหลัง ราคาน้ามันตก
One Belt One Road เลือกตังไต้หวัน วิกฤตหรือโอกาส
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทบรรณาธิการ
World Think Tank Monitors ฉบับนี้เป็นฉบับปฐมฤกษ์ของปีที่ 2 ประจำปี 2016 ได้
ปรับเปลี่ยนโฉมใหม่ แต่ยังคงสำระไว้เช่นเดิมในกำรติดตำมควำมเคลื่อนไหวของโลกผ่ำนสำยตำของ
Think Tank หรือสถำบันวิจัยนโยบำยชั้นนำระดับโลก
สำหรับฉบับนี้ มีกำรติดตำม Think Tank เพิ่มเติมเข้ำมำคือ สถำบัน Institute for National
Studies (NISS) ของอิสรำเอล ซึ่งอยู่ในอันดับ 5 ของโลกสำหรับ Think Tank ในภูมิภำคตะวันออก
กลำงและแอฟริกำเหนือ (MENA) จำกกำรจัดอันดับของมหำวิทยำลัยเพนซิลเวเนีย เมื่อปี 2014
สำเหตุที่เลือกมำนำเสนอนั้น เพรำะมีประเด็นที่น่ำสนใจและแปลกใหม่อันได้แก่ “จีนในสายตา
อิสราเอล” ในยุคที่จีนแผ่อิทธิพลทำงเศรษฐกิจกำรเมืองและวัฒนธรรมไปทั่วโลก รวมทั้งไทย คงจะ
มีประโยชน์บ้ำงหำกเรำรู้ว่ำส่วนอื่นๆของโลก ที่อิทธิพลจีนคืบคลำนไปถึงนั้น เขำมองจีนด้วยสำยตำ
อย่ำงไร เพื่อเป็นบทเรียนให้เรำรู้จักจีนรอบด้ำนมำกขึ้น ไม่ใช่เพียงแต่เป็นภำพขำวหรือดำ เพรำะจีน
กลำยเป็น “ควำมจำเป็น” สำหรับไทย อำเซียน และแม้แต่โลก ไม่ว่ำเรำจะมองจีนอย่ำงไร เรำต้องมี
วิธีที่ดีในกำรจัดกำรควำมสัมพันธ์กับเขำ
สำหรับนักลงทุนในขณะนี้ที่มักมีคำถำมว่ำ “เศรษฐกิจจีนขาลงแล้วใช่หรือไม่” รวมทั้งเรื่อง
ต่างๆที่มากับเส้นทางสายไหม (One Belt, One Road) ของจีน ตลอดจนเรื่องความสัมพันธ์
ในช่องแคบไต้หวันหลังการเลือกตั้ง World Think Tank Monitors ฉบับนี้ ได้นำเสนอบท
วิเครำะห์เรื่องต่ำงๆเหล่ำนี้ รวมทั้งประเด็นที่น่ำสนใจอื่นๆของโลก เช่น สภำวกำรณ์รำคำน้ำมันตก
แนวโน้มของกำรทดลองขีปนำวุธของเกำหลีเหนือ และอีกมำกมำย
ผู้อ่ำนสำมำรถติดตำมสำระสำคัญว่ำ Think Tank ระดับโลกมองประเด็นต่ำงๆเหล่ำนี้อย่ำงไร
ได้ในเอกสำรนี้
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สารบัญ
หน้า
บทบรรณาธิการ
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคยุโรป 1
 CHATHAM HOUSE 1
 BRUEGEL 2
 STOCKHOLM INTERNATIONAL PEACE RESEARCH INSTITUTE (SIPRI) 4
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา 6
 COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS 6
 BROOKINGS 8
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย 11
 CARNEGIE ENDOWMENT FOR INTERNATIONAL PEACE 11
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง 16
 INSTITUTE FOR NATIONAL SECURITY STUDIES (INSS) (ISRAEL) 16
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในประเทศไทย 18
 สถำบันคลังปัญญำด้ำนยุทธศำสตร์ชำติ
KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT 18
1
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคยุโรป
CHATHAM HOUSE
BRUEGEL
 STOCKHOLM INTERNATIONAL PEACE RESEARCH INSTITUTE (SIPRI)
เรียบเรียงโดย จุฑำมำศ พูลสวัสดิ์ ผู้ช่วยนักวิจัย
CHATHAM HOUSE
การกาหนดวิถีทางใหม่ของไต้หวันภายหลังการเลือกตั้ง
ผลกำรเลือกตั้งประธำนำธิบดีของไต้หวันเมื่อวันเสำร์ที่ 16 มกรำคม พ.ศ.2559 ที่ผ่ำนมำ ทำให้
ทั่วโลกได้เห็นถึงกำรพลิกโฉมประวัติศำสตร์ของไต้หวัน นั่นคือ กำรได้รับชัยชนะของพรรค
ประชำธิปไตยก้ำวหน้ำ (DPP) ซึ่งเดิมเป็นพรรคฝ่ำยค้ำนมำโดยตลอด หลำยฝ่ำยจึงมองว่ำผลกำร
เลือกตั้งครั้งนี้อำจนำไปสู่กำรเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของกำรเมืองภำยในประเทศรวมถึงควำมสัมพันธ์กับ
ปักกิ่ง
Roderic Wye ผู้เชี่ยวชำญด้ำนภูมิภำคเอเชียของ Chatham House ได้วิเครำะห์ถึงผลกำร
เลือกตั้งครั้งนี้ของไต้หวันใน 3 ประเด็น ดังนี้
1. สาเหตุที่พรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า (DPP) ชนะการเลือกตั้ง
ในกำรเลือกตั้งครั้งนี้ พรรครัฐบำลก๊กมินตั๋งได้ดำเนินยุทธวิธีที่ผิดพลำด ตั้งแต่กำร
เลือกตัวแทนพรรคเพื่อลงสมัครรับเลือกตั้ง โดยประชำชนมองว่ำหัวหน้ำพรรคคือ Eric Chu
เป็นผู้นำที่ไม่มีควำมสำมำรถมำกพอ อีกทั้งผลงำนด้ำนกำรบริหำรที่ผ่ำนมำของรัฐบำลยังไม่
ประสบควำมสำเร็จจนเป็นที่ประจักษ์แก่ประชำชน นอกจำกนี้ พรรค DPP ยังได้ชูนโยบำย
ปกป้องผลประโยชน์ของไต้หวันเป็นหลักในกำรดำเนินควำมสัมพันธ์กับจีนตลอดจนส่งเสริม
เอกลักษณ์ประจำชำติ ซึ่งนโยบำยเหล่ำนี้สำมำรถตอบสนองควำมต้องกำรของประชำชนได้
เป็นอย่ำงดี
2
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2. ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อความสัมพันธ์ของไต้หวันกับปักกิ่ง
สืบเนื่องจำกจุดยืนด้ำนผลประโยชน์แห่งชำติของพรรค DPP อำจมีควำมเป็นไปได้ที่
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงไต้หวันและจีนแผ่นดินใหญ่จะกลำยเป็นเรื่องที่ประสำนกันได้ยำกยิ่งขึ้น
อย่ำงไรก็ตำม ประธำนำธิบดีหญิงคนใหม่ คือ นำง Tsai Ing-wen ก็มิได้ต้องกำรใช้นโยบำย
เผชิญหน้ำระหว่ำงกัน ดังนั้นกำรดำเนินกำรจึงต้องอยู่บนพื้นฐำนของกำรเจรจำต่อรอง ใน
ขณะเดียวกันก็ต้องรักษำควำมมั่นคงของระบบประชำธิปไตยภำยในประเทศไว้ด้วย
3. ไต้หวันยุคใหม่หลังการเลือกตั้ง
กำรก้ำวสู่ตำแหน่งของรัฐบำลพรรค DPP จะทำให้รัฐบำลไต้หวันมีเอกภำพและเป็น
อิสระมำกขึ้นจำกฝ่ำยนิติบัญญัติ นอกจำกนี้ รัฐบำลซึ่งนำโดยนำง Tsai Ing-wen ยังได้รับ
ควำมเชื่อถือและกำรยอมรับเหนือคู่แข่งถึง 12% แต่อย่ำงไรก็ตำม รัฐบำลชุดใหม่ก็ต้องเผชิญ
กับควำมท้ำทำยในกำรที่ต้องกำหนดนโยบำยให้มีควำมก้ำวหน้ำกว่ำจีนแผ่นดินใหญ่ทั้งใน
ประเด็นกำรแก้ไขปัญหำเศรษฐกิจไต้หวันที่ซบเซำต่อเนื่องมำหลำยปี ตลอดจนกำรสนองข้อ
เรียกร้องของประชำชนที่ต้องกำรเห็นควำมโปร่งใสและควำมพร้อมรับผิดของรัฐบำลมำกขึ้น
ฉะนั้น จึงไม่ผิดนักหำกจะกล่ำวว่ำ รัฐบำลพรรค DPP เป็นเสมือนควำมหวังของประชำชนที่
จะนำพำไต้หวันไปสู่ประชำธิปไตยยุคใหม่
BRUEGEL
ราคาน้ามันตกต่า: ข้อบ่งชี้ของวิกฤตหรือสัญญาณของการเติบโต
แม้รำคำน้ำมันโลกที่ต่ำลงอย่ำงต่อเนื่องในขณะนี้จะส่งผลดีต่อประเทศผู้นำเข้ำน้ำมัน แต่ใน
ขณะเดียวกันก็มิอำจปฏิเสธได้ว่ำยังเป็นสัญญำณที่บ่งบอกถึงกำรชะลอตัวด้ำนกำรเติบโตของ
เศรษฐกิจทั่วโลก สถำบัน Bruegel โดย Georg Zachmann จึงได้ทำกำรสำรวจสำเหตุกำรตกต่ำของ
รำคำน้ำมันและผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อเศรษฐกิจโลก โดยพบว่ำ รำคำน้ำมันที่ปรับตัวลดลงต่ำสุดใน
รอบ 11 ปีเมื่อต้นเดือนมกรำคมที่ผ่ำนมำมีผลมำจำกสำเหตุสำคัญ 3 ประกำร
3
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
1. การเปลี่ยนแปลงด้านอุปทานน้ามัน
อุปทำนน้ำมันในปี 2015 มีปริมำณเพิ่มขึ้นจำกปีก่อนหน้ำประมำณ 3% หรือเฉลี่ย 86
– 88.5 ล้ำนบำร์เรลต่อวัน ทั้งนี้เป็นผลมำจำกกำรที่แหล่งทรัพยำกรน้ำมันใต้ดินของ
สหรัฐอเมริกำฟื้นคืนสภำพเร็วกว่ำที่คำดกำรณ์ รวมถึงกำรที่ OPEC ไม่ได้ครอบงำอุปทำน
น้ำมันโลกเหมือนอย่ำงที่เคยเป็นมำ
2. การเปลี่ยนแปลงด้านความสาคัญของน้ามันในระบบเศรษฐกิจ
ปัจจุบัน ควำมต้องกำรน้ำมันที่ประเทศต่ำงๆ นำมำใช้เป็นต้นทุนกำรผลิตสินค้ำเพื่อ
เพิ่ม GDP มีปริมำณลดลง เนื่องจำกมีกำรหันไปใช้พลังงำนหมุนเวียนประกอบกับภำคบริกำร
มีบทบำทในกำรสร้ำง GDP ของประเทศมำกขึ้น นอกจำกนี้ ยังมีกำรกำหนดข้อตกลงระหว่ำง
ประเทศจำกกำรประชุมสุดยอดด้ำนกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศให้มีกำรลดกำรใช้
เชื้อเพลิงฟอสซิลและน้ำมัน จึงมีผลให้ควำมต้องกำรใช้น้ำมันลดน้อยลง
3. การเปลี่ยนแปลงของภาวะเศรษฐกิจโลก
อุปสงค์ทั่วโลกที่มีต่อน้ำมันในปัจจุบันซบเซำลง ทำให้ตลำดเกิดใหม่ชะลอตัวตำม อีก
ทั้งควำมเสี่ยงของระบบเศรษฐกิจมหภำคในประเทศที่พัฒนำแล้วก็ยังคงมีอยู่ จึงเป็นผลให้
กองทุนกำรเงินระหว่ำงประเทศ (IMF) ปรับลดกำรคำดกำรณ์กำรเติบโตทำงเศรษฐกิจทั่วโลก
ในปี 2015 ถึงสองครั้งในเดือนกรกฎำคมจำก 3.5% เป็น 3.3% และเดือนตุลำคมจำก 3.3%
เป็น 3.1%
อย่ำงไรก็ตำม ปัจจัยด้ำนภูมิรัฐศำสตร์ก็ยังเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อภำวะกำรเปลี่ยนแปลงของ
รำคำน้ำมันในตลำดโลกในช่วงเวลำหลังจำกนี้ อำทิ ควำมตึงเครียดในภูมิภำคตะวันออกกลำงที่อำจ
นำไปสู่กำรผลิตน้ำมันที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง แนวโน้มกำรใช้พลังงำนทดแทนของประเทศต่ำงๆ อันเป็น
ผลมำจำกข้อตกลงด้ำนสภำพภูมิอำกำศที่ปำรีส (Paris climate agreement) หรือแม้กระทั่งระดับ
ควำมเชื่อมั่นที่นักลงทุนมีต่อเศรษฐกิจจีนซึ่งเป็นเศรษฐกิจขนำดใหญ่ที่มีอิทธิพลอย่ำงมำกต่อกำร
กำหนดทิศทำงของเศรษฐกิจโลก ปัจจัยเหล่ำนี้ล้วนมีส่วนต่อกำรเปลี่ยนแปลงแนวโน้มรำคำน้ำมัน
ทั้งสิ้น
ในแง่ของผลกระทบที่ตำมมำจำกรำคำน้ำมันที่ตกต่ำลงนั้น ทำให้ประเทศผู้ส่งออกน้ำมันหลำย
ประเทศ เช่น รัสเซีย คำซัคสถำน ฯลฯ หันมำให้ควำมสำคัญกับกำรใช้อัตรำแลกเปลี่ยนแบบยืดหยุ่น
มำกขึ้น นอกจำกนี้ภำวะรำคำน้ำมันตกต่ำยังเป็นเสมือนตัวกระตุ้นให้ประเทศต่ำงๆ ต้องดำเนิน
นโยบำยเศรษฐกิจอย่ำงฉลำดและรัดกุมมำกยิ่งขึ้น เช่น กำรลดค่ำใช้จ่ำยสิ้นเปลือง ลดกำรอุดหนุนด้ำน
พลังงำน เป็นต้น และสำหรับผลกระทบที่จะเกิดกับประเทศผู้นำเข้ำน้ำมันนั้น หำกสำเหตุที่แท้จริงซึ่ง
ทำให้รำคำน้ำมันลดลงมำจำกกำรที่อุปทำนในตลำดมีปริมำณมำกขึ้นหรือเพรำะประเทศผู้นำเข้ำมีอุป
สงค์ลดลงแล้ว ก็ย่อมช่วยให้ผู้บริโภคในประเทศผู้นำเข้ำเหลือเงินไว้จับจ่ำยด้ำนอื่นๆ อันจะช่วย
เสริมสร้ำงเศรษฐกิจภำยในประเทศให้ดีขึ้น แต่หำกสำเหตุที่แท้จริงมำจำกปัญหำเศรษฐกิจโลกที่เริ่มก่อ
ตัว ประเด็นดังกล่ำวอำจกลำยเป็นเรื่องที่ประเทศต่ำงๆ ควรต้องเฝ้ำระวังมำกกว่ำยินดี ทั้งนี้เพื่อเตรียม
กำหนดมำตรกำรรับมือที่เหมำะสมต่อไป
4
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
STOCKHOLM INTERNATIONAL PEACE RESEARCH INSTITUTE
การทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือ:
ปฏิกิริยาตอบสนองของนานาประเทศ
เมื่อวันที่ 6 มกรำคม ที่ผ่ำนมำ เกำหลีเหนือได้ออกมำประกำศถึงควำมสำเร็จในกำรประดิษฐ์
ระเบิดนิวเคลียร์ชนิดไฮโดรเจน (hydrogen or thermonuclear device) หลังจำกที่มีกำรทดลองและ
พัฒนำมำหลำยปี นอกจำกนี้ในช่วงที่ผ่ำนมำเกำหลีเหนือยังดำเนินกำรทดสอบขีปนำวุธทั้งทำงบก
และทำงน้ำอย่ำงต่อเนื่อง กำรเดินหน้ำพัฒนำอำวุธที่มีพลังทำลำยล้ำงสูงของเกำหลีเหนือที่เกิดขึ้นนี้
ทำให้นำนำประเทศมิอำจนิ่งนอนใจได้ เนื่องจำกกรณีดังกล่ำวอำจส่งผลกระทบต่อเสถียรภำพและ
ควำมมั่นคงในระดับโลก หน่วยงำนผู้เชี่ยวชำญของภูมิภำคยุโรปจึงได้พยำยำมรวบรวมและ
ตรวจสอบข้อมูลด้ำนอำวุธนิวเคลียร์ของเกำหลีเหนืออย่ำงจริงจังและพบว่ำเกำหลีเหนือมีกำร
ทดสอบและครอบครองอำวุธนิวเคลียร์จริงตำมที่ได้กล่ำวอ้ำง ซึ่งข้อเท็จจริงดังกล่ำวนี้ทำให้เกำหลี
เหนือตกเป็นที่หวำดระแวงและได้รับกำรประณำมจำกหลำยฝ่ำยอยู่ไม่น้อย
ด้วยเหตุดังกล่ำว ท่ำทีที่ทั่วโลกตอบสนองต่อกำรกระทำของเกำหลีเหนือจึงถูกดำเนินกำรโดย
ผ่ำนมติของคณะมนตรีควำมมั่นคงแห่งสหประชำชำติด้วยกำรประณำมและคว่ำบำตรในระดับที่
รุนแรงขึ้น แต่พร้อมกันนี้ก็มีควำมพยำยำมดำเนินนโยบำยเจรจำร่วมกันเพื่อหำข้อยุติให้กับประเด็น
ควำมขัดแย้งที่เกิดขึ้น แต่อย่ำงไรก็ตำม ที่ผ่ำนมำนโยบำยกำรสร้ำงควำมร่วมมือดังกล่ำวก็ไม่
ประสบควำมสำเร็จนัก ดังจะเห็นได้จำกกำรเจรจำหกฝ่ำย (Six Party Talks) ระหว่ำงเกำหลีเหนือ
เกำหลีใต้ จีน ญี่ปุ่น รัสเซียและสหรัฐอเมริกำซึ่งถูกระงับไปตั้งแต่ปี 2009 ทั้งที่กลไกนี้อำจเป็น
หนทำงที่จะโน้มน้ำวให้เกำหลีเหนือยอมรับข้อตกลงในสนธิสัญญำไม่แพร่ขยำยอำวุธนิวเคลียร์
(NPT) นำไปสู่กำรจำกัดขอบเขตกำรขยำยตัวของอำวุธนิวเคลียร์ได้ แต่จนถึงปัจจุบันก็ยังไม่มีวี่แวว
ที่จะรื้อฟื้นกำรเจรจำขึ้นใหม่
ดังนั้น ทำงเลือกที่อำจเป็นไปได้ในขณะนี้จึงเป็นกำรดำเนินนโยบำยทำงกำรทูตด้ำนกำร
เจรจำต่อรองระหว่ำงทุกฝ่ำยที่เกี่ยวข้องซึ่งเน้นกำรรักษำผลประโยชน์ด้ำนควำมปลอดภัยร่วมกัน
นอกจำกนี้ กำรเดินหน้ำสร้ำงเขตอำวุธนิวเคลียร์เสรี (nuclear-weapon-free zone) ในภูมิภำค
เอเชียตะวันออก เฉียงเหนือซึ่งครอบคลุมบริเวณคำบสมุทรเกำหลีและญี่ปุ่นก็จะเป็นอีกเครื่องมือ
สำคัญที่ช่วยสร้ำงควำมมั่นคงปลอดภัยขึ้นในภูมิภำคได้
5
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เอกสารอ้างอิง
Roderic Wye. Taiwan Charts a New Course After Elections. Chatham House. ออนไลน์:
https://www.chathamhouse.org/expert/comment/taiwan-charts-new-course-after-
elections
Georg Zachmann. The oil-price slump: crisis symptom or fuel for growth? Bruegel.
ออนไลน์: http://bruegel.org/2016/01/the-oil-price-slump-crisis-symptom-or-fuel-for-growth/
Tariq Rauf. Another nuclear test announced by North Korea: Searching for a plan of ac-
tion? Stockholm International Peace Research Institute (SIPRI). ออนไลน์: http://www.sipri.org/
media/expert-comments/rauf-january-2016
6
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา
COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS
BROOKINGS
เรียบเรียงโดย ปลำยฟ้ ำ บุนนำค ผู้ช่วยนักวิจัย
   COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS
อันตรายที่มากับเส้นทางสาย One Belt, One Road ของจีน
ในเดือนมกราคมที่ผ่านมา Elizabeth C. Economy จากสถาบัน Council on Foreign Rela-
tions ได้เขียนบทความเรื่อง What “One Belt, One Road” Could Mean for China’s Regional
Security Approach ซึ่งในบทความนี้ได้กล่าวถึงประเด็นภัยคุกคามการก่อการร้ายที่จีนต้องเผชิญ
จากเส้นทาง OBOR นี้
เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2015 กลุ่ม IS ได้สังหารตัวประกันชาวจีน จากเหตุการณ์นี้ทาให้
ชาวเน็ตจีนออกมาแสดงความไม่พอใจต่อท่าทีของรัฐบาลจีนที่ดูเพิกเฉยกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น มีผู้ใช้
อินเตอร์เน็ตรายหนึ่งโพสต์ว่า “ถึงเวลาแล้วที่จีนในฐานะประเทศมหาอานาจจะลุกขึ้นมาทาอะไรสัก
อย่าง” การที่มีคนจานวนมากออกมาแสดงความรู้สึกเห็นใจต่อเรื่องนี้ในโลกโซเชียลทาให้คนเริ่มตั้ง
คาถามว่ารัฐบาลจีนจะมีปฏิกิริยาอย่างไรต่อภัยคุกคามที่เพิ่มขึ้นจากการก่อการร้ายทั้งจากนอก
ประเทศและในประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความน่ากลัวของกลุ่ม IS จะทาให้จีนต้องเปลี่ยน
ยุทธศาสตร์ความมั่นคงในภูมิภาคเรื่องการแผ่ขยายการค้าและการลงทุนภายใต้โครงการ OBOR
หรือไม่
7
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
นโยบาย OBOR ของจีนนั้น เป็นความพยายามที่จะเชื่อมโยงประเทศจีนกับภูมิภาคเอเชียกลาง
ตะวันออกกลาง แอฟริกา รวมถึงยุโรป ผ่านโครงสร้างพื้นฐาน การสื่อสารโทรคมนาคมและเงินทุน โดย
จีนต้องการให้มูลค่าการค้ากับประเทศที่อยู่ในเส้นทาง OBOR เพิ่มขึ้นเป็น 2.5 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ
ต่อปีในอีกสิบปีข้างหน้า นักวิเคราะห์นโยบายของจีนนั้นตระหนักดีถึงความกังวลด้านความปลอดภัยที่
เกิดจากโครงการดังกล่าว โดย Zhao Kejin อาจารย์จากมหาวิทยาลัยชิงหัว (Tsinghua University)
ของจีน ระบุว่า “การที่จีนเอาเศรษฐกิจของตนเชื่อมเข้ากับเศรษฐกิจโลกที่เป็นโลกาภิวัตน์และเกือบที่จะ
รวมเป็นหนึ่งเดียวกับโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการ OBOR ทาให้จีนต้องให้ความสาคัญกลุ่มการก่อ
การร้าย IS มากยิ่งขึ้น”
จีนได้อ้างมาเป็นเวลานานแล้วว่าตนนั้นต้องเผชิญกับภัยการก่อการร้ายในประเทศที่ได้รับการ
สนับสนุนจากนอกประเทศ โดยเฉพาะเขตปกครองตนเองซินเจียง(ส่วนใหญ่เป็นมุสลิม) ซึ่งเป็นบริเวณ
ที่มีความรุนแรงทางเชื้อชาติ นาย Wang Yi รัฐมนตรีการต่างประเทศของจีนได้กล่าวว่า “จีนก็เป็นเหยื่อ
ของการก่อการร้ายเช่นกัน” เกือบร้อยละ 70 ของการค้าระหว่างจีนกับเอเชียกลางต้องผ่านบริเวณซิ
นเจียงนี้ ความกังวลที่เกี่ยวกับเรื่องความไม่สงบและไม่มั่นคงนี้ทาให้จีนร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับเพื่อน
บ้านในภูมิภาคเอเชียกลางในการพยายามต่อต้านการก่อการร้ายมาตั้งแต่ทศวรรษ 1990 การร่วมมือนี้
เกิดขึ้นจากองค์กรร่วมมือเซี่ยงไฮ้ หรือ SCO โดยสมาชิกจะมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันและร่วม
ฝึกในโครงการต่อต้านการก่อการร้ายระดับภูมิภาค ซึ่งกิจกรรมส่วนใหญ่จะเป็นไปเพื่อการต่อต้านการ
ก่อการร้าย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติการนอกประเทศและในสนามรบของกองทัพจีน รวมถึง
จีนได้ร่วมมือกับคาซัคสถานในการฝึกให้กับหน่วยรบพิเศษของคาซัคสถานอีกด้วย
One Belt, One Road ไม่ได้มีแต่มุมที่ให้ประโยชน์กับจีนอย่างเดียว แต่นาความเสี่ยงเรื่องการก่อ
การร้ายมาสู่จีนมากขึ้นด้วย การที่เส้นทาง OBOR จะตัดผ่านบริเวณซินเจียงและเอเชียกลางจะทาให้
จานวนแรงงานชาวจีนฮั่นเพิ่มขึ้นและผู้อาศัยบริเวณดังกล่าวต้องเผชิญกับความเสี่ยงด้านความ
ปลอดภัยที่เพิ่มมากขึ้น ดังนั้นประเด็นเรื่องการรักษาความปลอดภัยของแรงงานจีนในต่างประเทศจึง
กลายเป็นประเด็นที่รัฐบาลจีนกังวลมากขึ้น ยกตัวอย่างเช่น 3 ผู้บริหารจาก China Railway Construc-
tion Corporation ถูกฆ่าโดยกลุ่มอัลกออิดะห์ในเขตอิสลามมาเกร็บ ในเหตุการณ์จับตัวประกันที่
Radisson Blu Hotel เมือง Bamako ประเทศมาลี รวมทั้งคลิปที่กลุ่ม IS เพิ่งปล่อยออกมาไม่นานซึ่ง
กล่าวเรียกร้องเป็นภาษาจีน “ให้ชาวมุสลิมหยิบอาวุธขึ้นสู้” ก็ยิ่งทาให้ชาวจีนทวีความหวาดกลัวว่า
จะตกเป็นเป้าหมายของการก่อการร้าย
8
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ด้านทางการจีนนั้น อันที่จริงก็ให้ความสาคัญกับการต่อต้านการก่อการร้าย โดยล่าสุดได้ผ่าน
กฎหมายที่อนุญาตให้สมาชิกกองทัพปลดปล่อยประชาชน (PLA) และกองทัพรักษาความปลอดภัยอื่นๆ
ของจีนสามารถปฏิบัติการต่อต้านการก่อการร้ายนอกประเทศได้แต่ต้องได้รับการอนุญาตจากประเทศ
นั้นๆก่อน โดยในปัจจุบัน จีนใช้ทหารท้องถิ่นของแต่ละชาติรายทาง OBOR และกองกาลังรัสเซียในการ
รักษาความปลอดภัยในเส้นทาง OBOR และ PLA ได้ปฏิรูปข้อเสนอเพื่อจะก่อตั้งเขตทหารที่ใหญ่ที่สุด
ใหม่ 5 เขต ในบริเวณตะวันตกที่ห่างไกลของจีน ซึ่งจะช่วยเพิ่มความสามารถในการจัดการความไม่สงบ
ในเขตที่ใกล้กับเอเชียกลาง นอกจากนี้สมาชิกของ PLA ยังมีข้อเสนอแนะอื่นๆอีก เช่น สนับสนุนให้ใช้
บริษัททหารรับจ้างในการรักษาความมั่นคงในกรณีที่กองทัพจีนไม่ได้รับอนุญาตให้ปฏิบัติการได้ และ
เรียกร้องให้ SCO ให้น้าหนักกับเรื่องความมั่นคงให้เท่าๆกับเรื่องเศรษฐกิจ
จากที่กล่าวมา ภัยคุกคามในเขตซินเจียงและความจาเป็นของจีนในการคุ้มครองการลงทุนขนาด
ใหญ่ของตนในประเทศเพื่อนบ้าน อาจทาให้จีนเพิ่มความแข็งกร้าวในการตอบโต้ต่อการก่อการร้ายมาก
ยิ่งขึ้น โดยอาจร่วมมือกับนานาประเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ PLA โดยสรุปกล่าวได้ว่าการที่จีน
ก้าวขึ้นมาเป็นมหาอานาจในภูมิภาคและโลกนั้นได้เปิดโอกาสใหม่ๆให้กับจีน แต่ในขณะเดียวกันก็นา
ความท้าทายใหม่ๆ อันรวมถึงการตกเป็นเป้าหมายในการก่อการร้ายมาสู่จีนด้วย ซึ่งถือเป็นราคาที่
ประเทศมหาอานาจต้องจ่ายเพื่อค้าขายและลงทุนรอบโลก
BROOKINGS
ย้อนมอง “ผู้อพยพ” กับ “มหานคร” ในอเมริกา
9
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Audrey Singer จากสถาบัน Brookings ได้ทาการศึกษาการอพยพเข้าสู่เมืองใหญ่ของสหรัฐของ
ผู้อพยพต่างชาติ ถึงแนวโน้มทางด้านขนาด การกระจุกตัว และอัตราการเจริญเติบโตของประชากรผู้
อพยพเหล่านี้ ในงานวิจัยเรื่อง Metropolitan immigrant gateways revisited, 2014 ซึ่งเผยแพร่เมื่อ
เดือนธันวาคม 2015 มีประเด็นน่าสนใจดังนี้
งานวิจัยชิ้นนี้กล่าวว่าประวัติศาสตร์การเพิ่มจานวนประชากรของสหรัฐนั้นเกี่ยวพันกับการ
อพยพเข้าเมืองของคนต่างชาติ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีผู้อพยพเข้าสู่สหรัฐเป็นจานวนมาก ซึ่งส่งผล
ต่อการเปลี่ยนแปลงทางประชากรศาสตร์ ทั้งด้านเชื้อชาติ ชาติพันธุ์ ศาสนา อายุ และภาษาของ
ประชากรในอเมริกา
นอกจากนี้ เมื่อสิบปีก่อน Brookings ได้ออกงานวิจัยเรื่อง “The Rise of New Immigrant Gate-
ways” ซึ่งแสดงให้เห็นแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของผู้อพยพเข้าเมืองในสหรัฐ จากที่เคยกระจุกตัวอยู่
ใจกลางเมืองใหญ่ๆ เช่น นิวยอร์ก ชิคาโก และลอสแองเจลลิส กระจายตัวอย่างรวดเร็วไปสู่เมืองใหญ่
อื่นๆ โดยเฉพาะทางตะวันตกและทางใต้ของประเทศ และในปี 2009 ก็มีงานวิจัยชิ้นใหม่ตามมาซึ่งพูด
ถึงแนวโน้มการเจริญเติบโตของจานวนประชากรผู้อพยพเข้าเมืองในระหว่างปี 2000-2014 โดยให้
ความสนใจเป็นพิเศษกับประชากรวัยทางานและผลกระทบของผู้อพยพต่างชาติต่อการเปลี่ยนแปลง
ของจานวนประชากรในเมืองใหญ่ๆของสหรัฐ และล่าสุดได้มีการวิเคราะห์เรื่องการอพยพเข้าสู่เมือง
ใหญ่ของสหรัฐ ซึ่งพูดถึงแนวโน้มทางด้านจานวน การกระจุกตัว และอัตราการเพิ่มขึ้นของประชากรผู้
อพยพ โดยใช้สถิติกว่า 10 ปี จากสานักงานสามะโนประชากร (Census Bureau) ซึ่งแสดงให้เห็นว่า
สหรัฐอเมริกา เป็นประเทศจุดหมายปลายทางของผู้อพยพมาตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 20 โดยมีผู้อพยพ
ต่างชาติเข้ามาในสหรัฐเป็นจานวนมาก โดยจุดหมายส่วนใหญ่จะเป็นเมืองขนาดใหญ่ที่ตั้งอยู่ทาง
ตอนกลางของภาคตะวันตก(มิดเวสท์) ของสหรัฐ แต่พอเวลาผ่านไปจุดหมายของการอพยพได้
เปลี่ยนไปตามฐานของเศรษฐกิจ ซึ่งเริ่มแรกคือเกษตรกรรม ต่อมาเปลี่ยนเป็นเศรษฐกิจที่เน้น
อุตสาหกรรมและล่าสุดเปลี่ยนมาสู่การบริการและเทคโนโลยี
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 การเพิ่มขึ้นของประชากรในเมืองใหญ่และกิจกรรมทางเศรษฐกิจใน
เมืองใหญ่มีการกระจุกตัวน้อยลง แต่กลับไปหนาแน่นในบริเวณชานเมือง ในขณะเดียวกัน จานวน
ประชากรของสหรัฐทางตอนใต้และตะวันตกของประเทศเริ่มเพิ่มมากขึ้น เช่นเดียวกับที่เริ่มมีผู้อพยพ
ต่างชาติเข้ามาอยู่ทางตอนใต้และตะวันตกมากขึ้นด้วย
10
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
อย่างไรก็ตาม การที่มีผู้อพยพต่างชาติจานวนมากอยู่ในวัยทางาน (25-64ปี) ไม่ได้การันตีว่าจะ
ทาให้แต่ละเมืองของสหรัฐประสบความสาเร็จทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นเสมอไป เนื่องจากผู้อพยพเหล่านี้
เป็นกลุ่มคนที่มีศักยภาพด้านการศึกษา ทักษะอาชีพและทักษะภาษาอังกฤษต่า รวมไปถึงลูกๆของพวก
เขาที่เกิดและเติบโตในสหรัฐ ก็ไม่ได้มีศักยภาพมากขึ้นกว่ารุ่นพ่อแม่เท่าใดนัก งานวิจัยชิ้นนี้ของ
Brookings สรุปว่าถึงแม้จะมีผู้อพยพจานวนมากเข้ามาในสหรัฐแต่ก็เป็นกลุ่มที่ไม่ได้มีศักยภาพเพียง
พอที่จะเข้ามาเป็นแรงงานที่มีประสิทธิภาพขับเคลื่อนให้เศรษฐกิจของแต่ละเมืองประสบความสาเร็จ
ข้อมูลเหล่านี้แสดงให้เห็นว่าสหรัฐก็เป็นประเทศหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์สัมพันธ์กับผู้อพยพมา
ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เรียกได้ว่าคนอเมริกาทั้งหมดในทุกวันนี้ก็คือลูกหลานของผู้อพยพไม่ระลอกใด
ก็ระลอกหนึ่งนับตั้งแต่ชาวยุโรปอพยพมาสู่ทวีปอเมริกา และในปัจจุบันข้อเท็จจริงนี้ก็กลับมาสร้าง
คาถามกับสังคมอเมริกันเกี่ยวกับผู้อพยพระลอกใหม่จากตะวันออกกลาง โดยเฉพาะจากซีเรีย ซึ่ง
ประเด็นการรับหรือไม่รับผู้อพยพนี้ก็กาลังเป็นประเด็นร้อนที่ถกเถียงกันในบรรดาผู้ลงสมัครชิงตาแหน่ง
ประธานาธิบดีสหรัฐที่กาลังจะถึงนี้อย่าง Donald Trump ที่ต้านการรับผู้อพยพเข้าเมืองอย่างสุดตัวและ
โจ่งแจ้ง ซึ่งงานวิจัยของ Brookings ชิ้นนี้ก็คงต้องการจะสื่อความไปในทานองเดียวกันอย่างแนบเนียน
กว่า
เอกสารอ้างอิง
Audrey Singer. Metropolitan immigrant gateways revisited, 2014. Brookings. ออนไลน์: http://
www.brookings.edu/research/papers/2015/12/01-metropolitan-immigrant-gateways-
revisited-singer
Elizabeth C. Economy. What “One Belt, One Road” Could Mean for China’s Regional Secu-
rity Approach. Council on Foreign Relations. ออนไลน์: http://blogs.cfr.org/asia/
2016/01/12/what-one-belt-one-road-could-mean-for-chinas-regional-security-approach/
11
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย
CARNEGIE ENDOWMENT FOR INTERNATIONAL PEACE
เรียบเรียงโดย ปำณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย
เปิ ดตัว Carnegie สาขาอินเดีย
สถาบันวิจัยนโยบายระดับโลกด้านอินเดียและเอเชียใต้ศึกษา
The Carnegie Endowment for International Peace สถำบันวิจัยนโยบำยด้ำนกำร
ต่ำงประเทศชั้นนำของโลกจำกสหรัฐอเมริกำ ซึ่งรั้งอันดับหนึ่งในกำรจัดอันดับ Think Tank ด้ำนกำร
ต่ำงประเทศโลกของ Chinese Academy of Social Science ประจำปี 2015 แถลงเปิดตัวสถาบัน
Carnegie สาขาอินเดีย เมื่อวันที่ 12 มกรำคม 2559 ซึ่งมีกำหนดเปิ ดสถำบันอย่ำงเป็นทำงกำร
ในเดือนเมษำยน ปีเดียวกัน
Carnegie อินเดียที่จะมีสานักงานในกรุงนิวเดลีนี้จะเป็นสาขาที่ 6 ของสถาบัน Carne-
gie Endowment for International Peace นอกเหนือจำกสำนักงำนใหญ่ที่วอชิงตันดีซี สำนักงำนที่
บรัสเซลล์ ปักกิ่ง(ร่วมกับมหำวิทยำลัยชิงฮวำ) เบรุต และมอสโก และด้วยเหตุที่เป็นสถำบันคลังสมอง
แห่งเดียวที่ไปตั้งอยู่ครอบคลุมอยู่ในภูมิภำคหลักๆทั่วโลก The Carnegie Endowment for Interna-
tional Peace จึงเรียกตัวเองว่ำเป็น The World’s First Global Think Tank
แต่ละสำขำของ The Carnegie Endowment for International Peace จะศึกษำเรื่องรำวใน
ภูมิภำคนั้นๆ เช่น Carnegie สำนักงำนปักกิ่งก็จะศึกษำเรื่องเกี่ยวกับเอเชียโดยเฉพำะจีน สำนักงำนที่
เบรุตก็จะเป็น Carnegie Middle East Center ศึกษำวิจัยเรื่องภูมิภำคตะวันออกกลำง สำนักงำน
มอสโกก็ศึกษำวิจัยเรื่องรัสเซีย ยุโรปตะวันออก และเอเชียกลำง(ยูเรเซีย) เป็นต้น จุดเด่นของสถำบัน
Carnegie คือนอกจำกจะออกไปตั้งสำนักงำนในแต่ละภูมิภำคทั่วโลกแล้ว ยังใช้บุคลำกรที่เป็น
นักวิชำกำรท้องถิ่นชั้นนำที่มีชื่อเสียงในสำขำศึกษำของตนเป็นที่ยอมรับในระดับโลก ทำหน้ำที่ทั้ง
ผลิตผลงำนวิชำกำรและดำรงตำแหน่งคณะกรรมกำรบริหำรสถำบัน ซึ่งมีข้อดีทั้งช่วยยกประเด็นปัญหำ
ที่มำจำกสำยตำของคนท้องถิ่นและที่สำคัญคือเพิ่มควำมน่ำเชื่อถือเรื่องควำมเป็นกลำงทำงวิชำกำรด้วย
12
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สาหรับ Carnegie อินเดีย จะเป็นสถาบันวิจัยนโยบายที่เน้นเรื่องอินเดียและเอเชียใต้
ทั้งในด้านเศรษฐกิจการเมือง นวัตกรรมกับการพัฒนาประเทศและการต่างประเทศ โดยจะมี
ผู้อำนวยกำรสถำบันคือ C. Raja Mohan นักวิชำกำรชั้นนำระดับโลกด้ำนเอเชียใต้ศึกษำซึ่งเคยเป็น
อำจำรย์ที่ Jawaharlal Nehru University ที่ National University of Singapore และ Rajaratnam
School of International Studies ที่สิงคโปร์ และมีคณะกรรมกำรก่อตั้งสถำบันเป็นผู้บริจำคทั้งชำว
อินเดียและต่ำงชำติ โดยที่มีอดีตเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรีอินเดียและอดีตเอกอัครรำชทูตอินเดีย
ประจำสหรัฐอเมริกำ Naresh Chandra และอดีตเอกอัครรำชทูตสหรัฐอเมริกำประจำอินเดีย Frank
Wisner เป็นประธำนร่วมของคณะกรรมกำรดังกล่ำว
Carnegie อินเดียน่าจะเป็น “ถังผลิตความคิด” ด้านอินเดียและเอเชียใต้ที่น่ารับไว้
พิจารณาเป็นอย่างยิ่งสาหรับผู้สนใจศึกษาติดตามความเป็นไปของภารตประเทศและอนุ
ทวีปแห่งนี้
เกิดอะไรกับเศรษฐกิจจีน?
ท่ำมกลำงควำมเครียดของนักลงทุนทั่วโลกจำกกำรร่วงต่อเนื่องของตลำดหุ้นจีนมำหลำยเดือน
ซึ่งไม่กระเตื้องขึ้นแม้รัฐบำลจีนได้พยำยำมใช้มำตรกำรต่ำงๆ เพื่อชะลอกำรร่วงถึงขั้นมีมำตรกำรปิด
ตลำดหุ้นก่อนเวลำมำแล้ว แต่ Yukon Huang นักเศรษฐศำสตร์ระดับโลกผู้เชี่ยวชำญเศรษฐกิจจีน
อดีตผู้อำนวยกำรธนำคำรโลกสำขำประเทศจีน ระหว่ำงปี 1997–2004 และสำขำรัสเซียและเอเชีย
กลำงก่อนหน้ำนั้น กลับเสนอภำพในแง่ดีว่ำ พื้นหลังสีแดงเถือกบนกระดานหุ้นจีนในขณะนี้ ไม่ได้
แสดงว่าเศรษฐกิจที่แท้จริง (real economy) ของจีนเข้าสู่ภาวะวิกฤต เพียงแต่เป็นสัญญาณ
ของการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนเข้าสู่ “ภาวะปกติใหม่” หรือ New Normal นับจากนี้เป็นต้น
ไป
13
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เขำมองสิ่งที่เกิดขึ้นว่ำมำจำก หนึ่ง การที่เศรษฐกิจจีนเปลี่ยนเข้าสู่ภาวะ New Normal ซึ่ง
หมำยถึงกำรมีอัตรำเติบโตทำงเศรษฐกิจที่ลดลงใกล้เคียงระดับปกติของประเทศที่เป็นระบบตลำด
เสรีทั่วไปมำกขึ้น ไม่ก้ำวกระโดดโตปีละ 10 เปอร์เซ็นต์เหมือนหลำยทศวรรษที่ผ่ำนมำแต่จะอยู่ที่
รำว 7 เปอร์เซ็นต์ต่อปีโดยเฉลี่ย และหมำยถึงกำรเปลี่ยนแปลงโครงสร้ำงเศรษฐกิจจำกที่เน้นกำร
ผลิตสินค้ำเป็น “โรงงำนโลก” สู่กำรขับเคลื่อนด้วยภำคบริกำรและกำรเงินมำกขึ้น
สอง ควำมผันผวนของเศรษฐกิจจีนในเวลำนี้ มาจากความสามารถที่ลดลงของ
รัฐบาลจีนในการควบคุมและแทรกแซงปัจจัยต่างๆในระบบเศรษฐกิจ เช่นราคาสินค้า
ค่าเงิน อย่างมีประสิทธิภาพเช่นแต่ก่อน เนื่องมำจำกกำรเชื่อมโยงของจีนกับระบบ
เศรษฐกิจโลกและโลกำภิวัตน์ที่มำกขึ้นเรื่อยๆ (อย่ำงล่ำสุดได้แก่กำรผลักดันเงินหยวนเข้ำเป็นสกุล
เงินแลกเปลี่ยนสำกลของ IMF) ซึ่งทำให้เศรษฐกิจจีนมีภูมิคุ้มกันจำกเศรษฐกิจโลกลดลง พลอย
ได้รับผลกระทบต่ำงๆที่เกิดขึ้นในเศรษฐกิจโลกมำกขึ้น
สิ่งที่แน่นอนคือ ทุกวันนี้เศรษฐกิจจีนได้เคลื่อนเข้ำสู่ภำวะ New Normal ทั้งอัตรำกำรเติบโต
และรูปแบบเศรษฐกิจ แต่สิ่งที่ไม่แน่นอนคือในช่วงเปลี่ยนผ่านนั้น เศรษฐกิจจะผันผวนมากน้อย
เพียงใด อย่ำงที่ถำมกันว่ำ hard or soft landing? ซึ่ง Yukon Huang เตือนให้เตรียมรับมือกับ
ความผันผวน มีแนวโน้มว่าหุ้นจะตกกว่านี้และเงินหยวนก็จะอ่อนลงกว่านี้ เพรำะเมื่อดู
เศรษฐกิจจีนในรำยละเอียด พบแนวโน้มของเอกชนจีนที่เคลื่อนย้ำยทุนออกต่ำงประเทศมำกขึ้น
ส่วนหนึ่งเป็นเพรำะภำครัฐจีนเอื้อให้มำกขึ้นด้วยกำรปรับปรุงกฏหมำยให้เศรษฐกิจเสรีมำกขึ้น แต่
สำเหตุที่สำคัญกว่ำเป็นเพรำะผลตอบแทนของการลงทุนในจีนเวลานี้ต่าลงกว่าช่วงก่อนมาก เรื่อง
สำคัญคืออุปทำนที่มำกเกินไปในตลำดที่อยู่อำศัย ทำให้รำคำอสังหำริมทรัพย์ตกต่ำ เศรษฐกิจที่
เคลื่อนเข้ำสู่ภำวะชะลอตัวก็ทำให้อัตรำดอกเบี้ยตกต่ำ ประกอบกับตลำดหุ้นก็ตกกรำวรูด โดยสรุป
การลงทุนเพื่อเก็งกาไรในตลาดอสังหาริมทรัพย์และตลาดการเงินในประเทศจีนจึงไม่
น่าสนใจอีกแล้ว เอกชนจีนจึงหาทางออกไปลงทุนในต่างประเทศที่ได้ผลตอบแทนสูงกว่า
และสถานการณ์นี้ก็จะยิ่งส่งผลให้หุ้นจีนตกลงอีก
อย่ำงไรก็ตำม สำหรับ Yukon Huang ในเมื่อทิศทำงกำรเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจจีนนั้น
ก้ำวไปทำงตลำดเสรีมำกขึ้น เชื่อมเข้ำกับระบบเศรษฐกิจโลกมำกขึ้น รัฐบำลจีนจึงไม่ควรแทรกแซง
ในตลำดหุ้นและอัตรำแลกเปลี่ยนโดยตรง (เช่น โดยกำรตรึงหรือชะลอกำรลดค่ำเงินหยวน) อย่ำงที่
ทำอยู่ เพรำะยิ่งก่อปัญหำมำกขึ้น แต่ในยุคที่เศรษฐกิจจีนเติบโตมำในระบบตลำดเสรีถึงขั้นนี้
รัฐบำลจีนควรถอยออกมำดูแลเศรษฐกิจแบบห่ำงๆ ด้วยกำรเสริมสร้ำงสถำบันต่ำงๆทำงเศรษฐกิจ
และมำตรกำรควบคุมกำกับดูแลให้เข้มแข็งมำกกว่ำ เพรำะถึงอย่ำงไร กำรชะลอตัวของเศรษฐกิจ
จีนก็เป็นธรรมชำติที่หลีกเลี่ยงไม่ได้เมื่อเศรษฐกิจจีนเปลี่ยนเข้ำสู่ New Normal และเป็นสิ่งที่
ประชำชนต้องปรับตัวกับภำวะปกติใหม่หลังจำกอยู่กับเศรษฐกิจที่เฟื่องฟู “อย่ำงมหัศจรรย์” มำ
หลำยทศวรรษ
14
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สถานการณ์ในช่องแคบไต้หวันหลังได้ผู้นาใหม่
สำหรับผู้ติดตำมควำมเป็นไปในเอเชียตะวันออกในเดือนมกรำคมนี้ คงไม่มีเหตุกำรณ์ใดเป็นที่
จับตำเกินกว่ำการเลือกตั้งประธานาธิบดีในไต้หวัน หลังครบวำระของประธำนำธิบดีหม่ำ อิง จิ่ว (Ma
Ying-jeou)แห่งพรรคก๊กมินตั๋ง ผลกำรเลือกตั้งในวันที่ 16 มกรำคม 2559 ปรากฎว่านางไช่ อิง เหวิน
(Tsai Ing-wen) แห่งพรรคประชำธิปไตยก้ำวหน้ำหรือ Democratic Progressive Party: DPP เป็นผู้
ชนะ
กำรเลือกตั้งในไต้หวันมีควำมสำคัญ เพรำะความสัมพันธ์ระหว่างจีน-อเมริกาที่มีทั้งควำม
ร่วมมือและขัดแย้งนั้นขึ้นอยู่กับท่าทีของผู้นาไต้หวันคนใหม่ถึงหนึ่งในสามส่วน ที่กล่ำวว่ำหนึ่งในสำม
เพรำะควำมสัมพันธ์บนช่องแคบไต้หวันนี้มีผู้เล่นอยู่สำมคนคือ จีนแผ่นดินใหญ่ ไต้หวัน และ
สหรัฐอเมริกา
สำหรับสภาวะการณ์ปัจจุบัน (status quo) ในช่องแคบไต้หวันก่อนการเลือกตั้งถือว่าดี
มาก และมีแนวโน้มว่าจะราบรื่นต่อไป โดยเฉพำะหลังการพบกันระหว่างสี จิ้น ผิงแห่งจีน
แผ่นดินใหญ่กับหม่า อิง จิ่วแห่งไต้หวัน ที่สิงคโปร์เมื่อเดือนพฤศจิกำยน 2015 ซึ่งเป็นกำรพบ
กันครั้งแรกในประวัติศำสตร์ของสองผู้นำสองฝั่งช่องแคบนับตั้งแต่จบสงครำมกลำงเมืองชิงแผ่นดินจีน
เมื่อปี 1949 อีกทั้งเพรำะอย่างน้อยนโยบายขั้นพื้นฐานในการจัดการความสัมพันธ์บนช่องแคบไต้หวัน
ของทั้งสามฝ่ายคือจีน ไต้หวัน และสหรัฐก็มีความสอดคล้องกัน คือต่างเรียกร้องให้รักษา
สันติภาพและเสถียรภาพในช่องแคบไว้
ส่วนการขึ้นมาของนางไช่ อิง เหวินนั้น เมื่อดูในเวลำนี้ก็น่ำจะช่วยสืบทอดช่วงเวลำแห่งสันติใน
ช่องแคบไต้หวันต่อไปได้ เพรำะแม้พรรค DPP ของนำงจะเป็นคู่แข่งกับก๊กมินตั๋งและเคยทำให้ช่อง
แคบไต้หวันตึงเครียดมำกเมื่อตอนเข้ำมำบริหำรประเทศครั้งที่แล้วในปี 2000 ซึ่งมีเฉิน สุย เปียน
(Chen Shui-bian) เป็นประธำนำธิบดี แต่มำในกำรเลือกตั้งปี 2016 พรรค DPP และนำงไช่มีท่ำที
สร้ำงสรรค์ขึ้นในเรื่องควำมสัมพันธ์ในช่องแคบในแง่ที่จะรักษำควำมสัมพันธ์ที่ดีกับจีนแผ่นดินใหญ่
15
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
มองไปที่สหรัฐอเมริกา ฝ่ำยอเมริกำก็พอใจที่ได้ผู้นำไต้หวันคนใหม่ที่มีท่ำทียึดหลักสันติในกำร
จัดกำรควำมสัมพันธ์ในช่องแคบ และคงไม่สนับสนุนให้นำงไช่ดำเนินนโยบำยใดๆ ในแนว “บู๊” ที่จะปลุก
เร้ำควำมตึงเครียดในช่องแคบขึ้นมำอีก เพรำะเมื่อพิจำรณำดูศักยภำพของอเมริกำเองในเวลำนี้
อเมริกำไม่อยู่ในฐำนะที่จะลงทุนหนุนหลังอะไรกับไต้หวันหำกเกิด “อุบัติเหตุ” อะไรขึ้นมำ เพรำะโอ
บำมำไม่น่ำจะต้องกำรสร้ำงปัญหำอะไรเพิ่มอีกในยำมที่ตนเองกำลังจะหมดวำระ เพื่อให้ประวัติศำสตร์
เขียนถึงช่วงเวลำกำรเป็นประธำนำธิบดีของตนในเชิงบวกเท่ำที่จะเป็นไปได้ นอกจำกนี้สำหรับรัฐบำล
อเมริกำที่จะมำต่อจำกโอบำมำ เมื่อกวำดตำไปทั่วแผนที่โลกแล้ว ยังมี “เผือกร้อน” อีกมำกที่อเมริกำยัง
แก้ไม่ตก ในกำรนี้ ปัญหำในตะวันออกกลำงมำเป็นอันดับหนึ่ง โดยเฉพำะเรื่อง IS ตำมมำด้วยเรื่อง
ข้อตกลงนิวเคลียร์อิหร่ำน และกำรจัดกำรควำมสัมพันธ์รัสเซีย-ยุโรปตะวันออก จำกเรื่องยูเครน ดังนั้น
เรื่องไต้หวันและแม้แต่จีนแผ่นดินใหญ่เองจึงมิใช่ปัญหำสำคัญอันดับต้นๆ ของกำรต่ำงประเทศอเมริกำ
ด้ำนจีนแผ่นดินใหญ่นั้น ก็จะเฝ้ำจับจ้องต่อไปว่ำผู้นำไต้หวันคนใหม่จะยังคงยึดมั่นในคำเตือน
ของปักกิ่งหรือไม่ ว่ำพื้นฐำนของสันติภำพในช่องแคบนั้นคือ “กำรมีจีนเพียงหนึ่งเดียว” (One China
Policy)
เอกสารอ้างอิง
Announcing the Launch of Carnegie India. Carnegie Endowment for International Peace.
ออนไลน์ http://carnegietsinghua.org/#slide_6217_announcing-launch-of-carnegie-india
Yukon Huang. There’s More Volatility to Come in China. Carnegie Endowment for International
Peace. ออนไลน์ http://carnegieendowment.org/2016/01/14/there-s-more-volatility-to-come
-in-china/isl1
Douglas H. Paal. Maintaining Peace Across Taiwan Strait Can Benefit. Carnegie Endowment
for International Peace. ออนไลน์ http://carnegieendowment.org/2016/01/21/maintaining-
peace-across-taiwan-straits-can-benefit-all/it3i
16
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง
INSTITUTE FOR NATIONAL SECURITY STUDIES (INSS) (ISRAEL)
เรียบเรียงโดย ปำณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย
จีนในสายตาอิสราเอล
สถาบันคลังสมองของอิสราเอล Institute for National Security Studies (INSS) ซึ่งรั้ง
อันดับ 5 ของ Think Tank ในภูมิภำคตะวันออกกลำงในกำรจัดอันดับ Think Tank โลกของ
มหำวิทยำลัยเพนซิลเวเนียเมื่อปี 2014 ได้จัดทารายงานการวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ชาติของอิสราเอลในปี
2015-2016 เสนอแนะทิศทางยุทธศาสตร์ของอิสราเอลต่อจีน ไว้ในบทที่ว่ำด้วยยุทธศำสตร์ของ
อิสรำเอลต่อชำติมหำอำนำจซึ่งมีทั้งสหรัฐอเมริกำ รัสเซีย และสหภำพยุโรป
เมื่อเทียบกับมหำอำนำจอื่นที่กล่ำวมำ อิสราเอลมองจีนเป็นมหาอานาจ “หน้าใหม่” ใน
ตะวันออกกลาง ที่กาลัง “รุก” เข้าสู่อิสราเอลอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะในด้านเศรษฐกิจ มูลค่ำ
กำรค้ำระหว่ำงสองชำติเพิ่มขึ้นมำกและเพิ่มขึ้นเร็ว บริษัทจีนเข้ำมำมีส่วนเกี่ยวข้องอย่ำงมำกใน
โครงกำรก่อสร้ำงโครงสร้ำงพื้นฐำนระดับเมกะโปรเจกท์ของอิสรำเอลมำกมำย และในขณะที่บริษัท
ขนำดใหญ่และขนำดกลำงของอิสรำเอลจำนวนมำกกำลังถูกบริษัทจีนเข้ำซื้อ กลุ่มธุรกิจยักษ์ใหญ่ของ
จีนก็ทยอยกันเข้ำมำตั้งสำนักงำนในอิสรำเอลมำกขึ้นเรื่อยๆ รำยงำนฉบับนี้มองว่ำนักธุรกิจจีนต้องกำร
เข้ำมำเอำ “องค์ควำมรู้และนวัตกรรม” จำกอิสรำเอล การรุกทางเศรษฐกิจของจีนนี้ถูกวิเคราะห์จาก
อิสราเอลว่าเป็นทั้งโอกาสและความเสี่ยง โดยมองว่ำจีนรุกเข้ำมำในเศรษฐกิจของอิสรำเอลได้
ง่ำยและมำกกว่ำที่อิสรำเอลสำมำรถรุกเข้ำไปในเศรษฐกิจจีน เพรำะระบบเศรษฐกิจของอิสรำเอลเสรี
และเปิดกว้ำงกว่ำเมื่อเทียบกับของจีนที่มีอุปสรรคในทำงวัฒนธรรม ระบบรำชกำร และระเบียบ
ข้อบังคับสำหรับธุรกิจต่ำงชำติมำกกว่ำ
17
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ขณะที่ในภาคการเมือง แม้คนอิสรำเอลจำนวนมำก ซึ่งรวมทั้งเจ้ำหน้ำที่รัฐจะไม่ปฏิเสธว่ำกำร
เข้ำมำของจีนมอบผลประโยชน์ทำงเศรษฐกิจให้มำกมำย แต่ก็ตั้งคาถามกันว่าสมควรแล้วหรือไม่ที่
อิสราเอลจะเปิ ดทางให้บริษัทของจีน ซึ่งมีสายสัมพันธ์ที่แยกไม่ขาดจากรัฐบาลจีนเข้ามาซื้อ
สินทรัพย์และสัมปทานธุรกิจในประเทศได้โดยสะดวก ในขณะที่จีนขายอาวุธให้ศัตรูของ
อิสราเอล คืออิหร่านและชาติอาหรับ และไม่เคยคัดค้านบรรดามติของสหประชาชาติที่เป็น
ปฏิปักษ์ต่ออิสราเอล
ยิ่งไปกว่ำนั้นอิสรำเอลก็เหมือนกับหลำยชำติที่ได้ติดต่อกับจีนคือสัมผัสได้ถึงลักษณะอย่างหนึ่ง
ของจีนคือการเป็นชาติที่ทาอะไรอย่างมียุทธศาสตร์เสมอ กำรกระทำหลำยอย่ำงของจีนที่ดูไม่
เกี่ยวข้องกันหลำยครั้งกลับปรำกฏว่ำเป็นส่วนหนึ่งของแผนกำรที่ใหญ่กว่ำนั้น จึงอดตั้งคำถำมไม่ได้ว่ำ
กำรก่อสร้ำงท่ำเรือหลำยแห่งในอิสรำเอลโดยบริษัทรับเหมำก่อสร้ำงของจีนจะมีนัยยะแอบแฝงหรือว่ำ
เป็นส่วนหนึ่งของแผนกำรอะไรที่ใหญ่กว่ำหรือไม่ เมื่อคำนึงถึงโครงกำรทำงยุทธศำสตร์หลำยโครงกำร
ของจีน ตั้งแต่ One Belt, One Road ธนำคำร AIIB หรือกำรสร้ำงฐำนทัพเรือจำกหมู่เกำะในทะเลจีนใต้
ผ่ำนมหำสมุทรอินเดีย จนถึงจงอยแห่งแอฟริกำ (The Horn of Africa-บริเวณประเทศโซมำเลียและ
เอธิโอเปีย)
ในส่วนที่ว่ำด้วยควำมสัมพันธ์ต่อจีน รำยงำนฉบับนี้สรุปว่ำ อิสราเอลต้องคิดในเชิงยุทธศาสตร์
ให้มากขึ้นในการดาเนินความสัมพันธ์ระยะยาวกับประเทศจีน และต้องไม่ลืมคานึงถึง
ความสัมพันธ์ระหว่างอิสราเอล-อเมริกาด้วยเสมอ
เอกสารอ้างอิง
Oded Eran and Zvi Magen, “Israel and the Leading International Actors,” in Strategic Survey
for Israel 2015-2016, eds. Shlomo Brom and Anat Kurz, (Tel Aviv: Institute for Na
tional Security Studies, 2016). ออนไลน์ http://www.inss.org.il/uploadImages/systemFiles/
Strategic%20Survey%202015--2016_EranMagen.pdf
18
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในประเทศไทย
 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT
เรียบเรียงโดย ปำณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย
บทวิเคราะห์เศรษฐกิจจีนยุคสีจิ้นผิง
เมื่อวันที่ 12 ตุลำคม 2558 คุณโจ ฮอร์น พัธโนทัย กรรมกำรบริหำรบริษัท Strategy 613 จำกัด
นักยุทธศำสตร์ทำงธุรกิจผู้เชี่ยวชำญด้ำนเศรษฐกิจจีน ได้วิเครำะห์สภำพเศรษฐกิจจีนยุคสี จิ้น ผิงใน
เวทีอนาคตจีน : รุ่งหรือร่วง? จัดโดยสถำบันคลังปัญญำด้ำนยุทธศำสตร์ชำติ วิทยำลัยรัฐกิจ
มหำวิทยำลัยรังสิต มีสำระสำคัญโดยสังเขปดังนี้
เกิดอะไรขึ้นกับเศรษฐกิจจีน? ในยำมที่หุ้นจีนตกเป็นประวัติกำรณ์ คุณโจ ฮอร์นเน้นว่ำ สิ่ง
สาคัญที่คนยังไม่ค่อยตระหนักเวลามองภาพเศรษฐกิจจีนในภาวะ “ขาลง” นี้คือ จีนเวลานี้
เข้าสู่ช่วงที่ไม่เหมือนเมื่อก่อนแล้วหรือที่เรียกว่ำ “New Normal” คือเมื่อกล่ำวในด้ำนเศรษฐกิจ
ภำยในประเทศนั้น จีนไม่ได้ต้องการอัตราการเติบโตของ GDP แต่ละปี ที่สูงเหมือนเมื่อก่อน
เพรำะอย่ำลืมว่ำเมื่อก่อนที่รัฐบำลจีนเร่งและรักษำอัตรำ GDP ให้โตต่อเนื่องนั้น ก็เพื่อจะขยำย
ฐำนเศรษฐกิจให้กว้ำงออก เพื่อสร้ำงงำน เพื่อหนีจำกปัญหำคนว่ำงงำน ซึ่งเป็นควำมกังวลใหญ่ที่สุด
ของพรรคในยุคนั้น (รำว 15 ปีที่ผ่ำนมำ เพรำะถ้ำคนว่ำงงำนมำก ควำมชอบธรรมในกำรปกครอง
ของพรรคที่ยึดกับกำรสร้ำงควำม “กินดีอยู่ดี” ก็สั่นคลอน)
19
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ขณะที่ในปัจจุบันแม้อัตรำประชำกรยังเพิ่มขึ้น แต่จำนวนคนวัยแรงงำนของจีนเริ่มลดลง
ประมำณ 3-4 ล้ำนคนต่อปี ปัญหำคนว่ำงงำนจึงไม่ใช่ควำมกังวลอันดับหนึ่งของพรรคอีกต่อไป
ดังนั้น โจทย์ทางเศรษฐกิจในยุคสีจิ้นผิงจึงเปลี่ยนมาเน้นที่การพัฒนาเศรษฐกิจเชิงคุณภาพ พัฒนา
เศรษฐกิจเชิงลึก หรือในคาของพรรคคือ “นาการปฏิรูปมาสู่น่านน้าลึก”
จีน ณ วันนี้ต้องกำรอัตรำกำรเติบโตรำว 8% ที่ต้องกำรถึง 8% ขณะที่ประเทศอื่นๆโตได้ 3-4
% คนก็พอใจแล้ว นั่นก็เพรำะจีนยังติดปัญหำเรื่องหนี้สำธำรณะสะสมมหำศำล ถ้ำไม่ติดเรื่องหนี้
รัฐบำลจีนก็สำมำรถกำหนดอัตรำเติบโตไว้ที่ 3-4 % ก็สำมำรถอยู่ได้สบำยๆ เพรำะไม่มีปัญหำเรื่อง
คนว่ำงงำนแล้ว
โดยสรุป ถ้ำมองในระยะสั้นคำถำมไม่ได้อยู่ที่ว่ำเศรษฐกิจจีนขำลงหรือไม่ แต่อยู่ที่ว่ำ
จะ soft or hard landing? ซึ่งขึ้นอยู่กับว่ำมำตรกำรมำกมำยของรัฐบำลที่จะออกมำช่วยอุ้มว่ำจะ
ได้ผลมำกน้อยแค่ไหน แต่ถ้ำมองในระยะยาวนี่เป็นช่วงเปลี่ยนผ่ำนของเศรษฐกิจจีนจำกที่เป็น
เศรษฐกิจเน้นปริมำณ ฐำนเศรษฐกิจเป็นอุตสำหกรรม มำเป็นเศรษฐกิจเชิงคุณภำพที่เน้นภำคบริกำร
และกำรเงินมำกขึ้น ดังนั้นอัตรำกำรเติบโตของ GDP ที่ตกลงจึงเป็นไปตำมระดับกำรพัฒนำทำง
เศรษฐกิจของจีนที่ก้ำวขึ้นมำอีกขั้น หุ้นตกนั้นเป็นอาการของระบบเศรษฐกิจในช่วงเปลี่ยนผ่าน ซึ่ง
แม้อาการไม่น่าจะ“เบา”แต่ก็ไม่ใช่ว่าเศรษฐกิจจีนมาถึงวิกฤตอย่างที่บางคนกล่าวแน่นอน
ถอดควำมและเรียบเรียงจำกเวทีอนำคตจีน: รุ่งหรือร่วง จัดโดยสถำบันคลังปัญญำด้ำน
ยุทธศำตร์ชำติ วิทยำลัยรัฐกิจ มหำวิทยำลัยรังสิต ร่วมกับสถำบันจีน-ไทยแห่งมหำวิทยำลัยรังสิต
วันที่ 12 ตุลำคม 2558 ณ มหำวิทยำลัยรังสิต
20
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ : ศ.ดร.เอนก เหล่ำธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คำดกำรณ์ไกล
เรียบเรียง: น.ส.จุฑำมำศ พูลสวัสดิ์
น.ส.ปลำยฟ้ำ บุนนำค
นำยปำณัท ทองพ่วง
ปีที่พิมพ์: มกรำคม 2559
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้ำงสรรค์ปัญญำสำธำรณะ
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อำคำรพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลำดพร้ำว
เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสำร 02-930-0064

Más contenido relacionado

Más de Klangpanya

การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
Klangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
Klangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
Klangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
Klangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Klangpanya
 

Más de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

World Think Tank Monitors l มกราคม 2559

  • 1. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต มกราคม 2559 l ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 เกิดอะไรกับ เศรษฐกิจจีน? อันตรายที่มากับ อนาคตหลัง ราคาน้ามันตก One Belt One Road เลือกตังไต้หวัน วิกฤตหรือโอกาส
  • 2. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต บทบรรณาธิการ World Think Tank Monitors ฉบับนี้เป็นฉบับปฐมฤกษ์ของปีที่ 2 ประจำปี 2016 ได้ ปรับเปลี่ยนโฉมใหม่ แต่ยังคงสำระไว้เช่นเดิมในกำรติดตำมควำมเคลื่อนไหวของโลกผ่ำนสำยตำของ Think Tank หรือสถำบันวิจัยนโยบำยชั้นนำระดับโลก สำหรับฉบับนี้ มีกำรติดตำม Think Tank เพิ่มเติมเข้ำมำคือ สถำบัน Institute for National Studies (NISS) ของอิสรำเอล ซึ่งอยู่ในอันดับ 5 ของโลกสำหรับ Think Tank ในภูมิภำคตะวันออก กลำงและแอฟริกำเหนือ (MENA) จำกกำรจัดอันดับของมหำวิทยำลัยเพนซิลเวเนีย เมื่อปี 2014 สำเหตุที่เลือกมำนำเสนอนั้น เพรำะมีประเด็นที่น่ำสนใจและแปลกใหม่อันได้แก่ “จีนในสายตา อิสราเอล” ในยุคที่จีนแผ่อิทธิพลทำงเศรษฐกิจกำรเมืองและวัฒนธรรมไปทั่วโลก รวมทั้งไทย คงจะ มีประโยชน์บ้ำงหำกเรำรู้ว่ำส่วนอื่นๆของโลก ที่อิทธิพลจีนคืบคลำนไปถึงนั้น เขำมองจีนด้วยสำยตำ อย่ำงไร เพื่อเป็นบทเรียนให้เรำรู้จักจีนรอบด้ำนมำกขึ้น ไม่ใช่เพียงแต่เป็นภำพขำวหรือดำ เพรำะจีน กลำยเป็น “ควำมจำเป็น” สำหรับไทย อำเซียน และแม้แต่โลก ไม่ว่ำเรำจะมองจีนอย่ำงไร เรำต้องมี วิธีที่ดีในกำรจัดกำรควำมสัมพันธ์กับเขำ สำหรับนักลงทุนในขณะนี้ที่มักมีคำถำมว่ำ “เศรษฐกิจจีนขาลงแล้วใช่หรือไม่” รวมทั้งเรื่อง ต่างๆที่มากับเส้นทางสายไหม (One Belt, One Road) ของจีน ตลอดจนเรื่องความสัมพันธ์ ในช่องแคบไต้หวันหลังการเลือกตั้ง World Think Tank Monitors ฉบับนี้ ได้นำเสนอบท วิเครำะห์เรื่องต่ำงๆเหล่ำนี้ รวมทั้งประเด็นที่น่ำสนใจอื่นๆของโลก เช่น สภำวกำรณ์รำคำน้ำมันตก แนวโน้มของกำรทดลองขีปนำวุธของเกำหลีเหนือ และอีกมำกมำย ผู้อ่ำนสำมำรถติดตำมสำระสำคัญว่ำ Think Tank ระดับโลกมองประเด็นต่ำงๆเหล่ำนี้อย่ำงไร ได้ในเอกสำรนี้ ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
  • 3. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สารบัญ หน้า บทบรรณาธิการ ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคยุโรป 1  CHATHAM HOUSE 1  BRUEGEL 2  STOCKHOLM INTERNATIONAL PEACE RESEARCH INSTITUTE (SIPRI) 4 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา 6  COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS 6  BROOKINGS 8 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย 11  CARNEGIE ENDOWMENT FOR INTERNATIONAL PEACE 11 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง 16  INSTITUTE FOR NATIONAL SECURITY STUDIES (INSS) (ISRAEL) 16 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในประเทศไทย 18  สถำบันคลังปัญญำด้ำนยุทธศำสตร์ชำติ KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT 18
  • 4. 1 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคยุโรป CHATHAM HOUSE BRUEGEL  STOCKHOLM INTERNATIONAL PEACE RESEARCH INSTITUTE (SIPRI) เรียบเรียงโดย จุฑำมำศ พูลสวัสดิ์ ผู้ช่วยนักวิจัย CHATHAM HOUSE การกาหนดวิถีทางใหม่ของไต้หวันภายหลังการเลือกตั้ง ผลกำรเลือกตั้งประธำนำธิบดีของไต้หวันเมื่อวันเสำร์ที่ 16 มกรำคม พ.ศ.2559 ที่ผ่ำนมำ ทำให้ ทั่วโลกได้เห็นถึงกำรพลิกโฉมประวัติศำสตร์ของไต้หวัน นั่นคือ กำรได้รับชัยชนะของพรรค ประชำธิปไตยก้ำวหน้ำ (DPP) ซึ่งเดิมเป็นพรรคฝ่ำยค้ำนมำโดยตลอด หลำยฝ่ำยจึงมองว่ำผลกำร เลือกตั้งครั้งนี้อำจนำไปสู่กำรเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของกำรเมืองภำยในประเทศรวมถึงควำมสัมพันธ์กับ ปักกิ่ง Roderic Wye ผู้เชี่ยวชำญด้ำนภูมิภำคเอเชียของ Chatham House ได้วิเครำะห์ถึงผลกำร เลือกตั้งครั้งนี้ของไต้หวันใน 3 ประเด็น ดังนี้ 1. สาเหตุที่พรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า (DPP) ชนะการเลือกตั้ง ในกำรเลือกตั้งครั้งนี้ พรรครัฐบำลก๊กมินตั๋งได้ดำเนินยุทธวิธีที่ผิดพลำด ตั้งแต่กำร เลือกตัวแทนพรรคเพื่อลงสมัครรับเลือกตั้ง โดยประชำชนมองว่ำหัวหน้ำพรรคคือ Eric Chu เป็นผู้นำที่ไม่มีควำมสำมำรถมำกพอ อีกทั้งผลงำนด้ำนกำรบริหำรที่ผ่ำนมำของรัฐบำลยังไม่ ประสบควำมสำเร็จจนเป็นที่ประจักษ์แก่ประชำชน นอกจำกนี้ พรรค DPP ยังได้ชูนโยบำย ปกป้องผลประโยชน์ของไต้หวันเป็นหลักในกำรดำเนินควำมสัมพันธ์กับจีนตลอดจนส่งเสริม เอกลักษณ์ประจำชำติ ซึ่งนโยบำยเหล่ำนี้สำมำรถตอบสนองควำมต้องกำรของประชำชนได้ เป็นอย่ำงดี
  • 5. 2 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 2. ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อความสัมพันธ์ของไต้หวันกับปักกิ่ง สืบเนื่องจำกจุดยืนด้ำนผลประโยชน์แห่งชำติของพรรค DPP อำจมีควำมเป็นไปได้ที่ ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงไต้หวันและจีนแผ่นดินใหญ่จะกลำยเป็นเรื่องที่ประสำนกันได้ยำกยิ่งขึ้น อย่ำงไรก็ตำม ประธำนำธิบดีหญิงคนใหม่ คือ นำง Tsai Ing-wen ก็มิได้ต้องกำรใช้นโยบำย เผชิญหน้ำระหว่ำงกัน ดังนั้นกำรดำเนินกำรจึงต้องอยู่บนพื้นฐำนของกำรเจรจำต่อรอง ใน ขณะเดียวกันก็ต้องรักษำควำมมั่นคงของระบบประชำธิปไตยภำยในประเทศไว้ด้วย 3. ไต้หวันยุคใหม่หลังการเลือกตั้ง กำรก้ำวสู่ตำแหน่งของรัฐบำลพรรค DPP จะทำให้รัฐบำลไต้หวันมีเอกภำพและเป็น อิสระมำกขึ้นจำกฝ่ำยนิติบัญญัติ นอกจำกนี้ รัฐบำลซึ่งนำโดยนำง Tsai Ing-wen ยังได้รับ ควำมเชื่อถือและกำรยอมรับเหนือคู่แข่งถึง 12% แต่อย่ำงไรก็ตำม รัฐบำลชุดใหม่ก็ต้องเผชิญ กับควำมท้ำทำยในกำรที่ต้องกำหนดนโยบำยให้มีควำมก้ำวหน้ำกว่ำจีนแผ่นดินใหญ่ทั้งใน ประเด็นกำรแก้ไขปัญหำเศรษฐกิจไต้หวันที่ซบเซำต่อเนื่องมำหลำยปี ตลอดจนกำรสนองข้อ เรียกร้องของประชำชนที่ต้องกำรเห็นควำมโปร่งใสและควำมพร้อมรับผิดของรัฐบำลมำกขึ้น ฉะนั้น จึงไม่ผิดนักหำกจะกล่ำวว่ำ รัฐบำลพรรค DPP เป็นเสมือนควำมหวังของประชำชนที่ จะนำพำไต้หวันไปสู่ประชำธิปไตยยุคใหม่ BRUEGEL ราคาน้ามันตกต่า: ข้อบ่งชี้ของวิกฤตหรือสัญญาณของการเติบโต แม้รำคำน้ำมันโลกที่ต่ำลงอย่ำงต่อเนื่องในขณะนี้จะส่งผลดีต่อประเทศผู้นำเข้ำน้ำมัน แต่ใน ขณะเดียวกันก็มิอำจปฏิเสธได้ว่ำยังเป็นสัญญำณที่บ่งบอกถึงกำรชะลอตัวด้ำนกำรเติบโตของ เศรษฐกิจทั่วโลก สถำบัน Bruegel โดย Georg Zachmann จึงได้ทำกำรสำรวจสำเหตุกำรตกต่ำของ รำคำน้ำมันและผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อเศรษฐกิจโลก โดยพบว่ำ รำคำน้ำมันที่ปรับตัวลดลงต่ำสุดใน รอบ 11 ปีเมื่อต้นเดือนมกรำคมที่ผ่ำนมำมีผลมำจำกสำเหตุสำคัญ 3 ประกำร
  • 6. 3 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 1. การเปลี่ยนแปลงด้านอุปทานน้ามัน อุปทำนน้ำมันในปี 2015 มีปริมำณเพิ่มขึ้นจำกปีก่อนหน้ำประมำณ 3% หรือเฉลี่ย 86 – 88.5 ล้ำนบำร์เรลต่อวัน ทั้งนี้เป็นผลมำจำกกำรที่แหล่งทรัพยำกรน้ำมันใต้ดินของ สหรัฐอเมริกำฟื้นคืนสภำพเร็วกว่ำที่คำดกำรณ์ รวมถึงกำรที่ OPEC ไม่ได้ครอบงำอุปทำน น้ำมันโลกเหมือนอย่ำงที่เคยเป็นมำ 2. การเปลี่ยนแปลงด้านความสาคัญของน้ามันในระบบเศรษฐกิจ ปัจจุบัน ควำมต้องกำรน้ำมันที่ประเทศต่ำงๆ นำมำใช้เป็นต้นทุนกำรผลิตสินค้ำเพื่อ เพิ่ม GDP มีปริมำณลดลง เนื่องจำกมีกำรหันไปใช้พลังงำนหมุนเวียนประกอบกับภำคบริกำร มีบทบำทในกำรสร้ำง GDP ของประเทศมำกขึ้น นอกจำกนี้ ยังมีกำรกำหนดข้อตกลงระหว่ำง ประเทศจำกกำรประชุมสุดยอดด้ำนกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศให้มีกำรลดกำรใช้ เชื้อเพลิงฟอสซิลและน้ำมัน จึงมีผลให้ควำมต้องกำรใช้น้ำมันลดน้อยลง 3. การเปลี่ยนแปลงของภาวะเศรษฐกิจโลก อุปสงค์ทั่วโลกที่มีต่อน้ำมันในปัจจุบันซบเซำลง ทำให้ตลำดเกิดใหม่ชะลอตัวตำม อีก ทั้งควำมเสี่ยงของระบบเศรษฐกิจมหภำคในประเทศที่พัฒนำแล้วก็ยังคงมีอยู่ จึงเป็นผลให้ กองทุนกำรเงินระหว่ำงประเทศ (IMF) ปรับลดกำรคำดกำรณ์กำรเติบโตทำงเศรษฐกิจทั่วโลก ในปี 2015 ถึงสองครั้งในเดือนกรกฎำคมจำก 3.5% เป็น 3.3% และเดือนตุลำคมจำก 3.3% เป็น 3.1% อย่ำงไรก็ตำม ปัจจัยด้ำนภูมิรัฐศำสตร์ก็ยังเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อภำวะกำรเปลี่ยนแปลงของ รำคำน้ำมันในตลำดโลกในช่วงเวลำหลังจำกนี้ อำทิ ควำมตึงเครียดในภูมิภำคตะวันออกกลำงที่อำจ นำไปสู่กำรผลิตน้ำมันที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง แนวโน้มกำรใช้พลังงำนทดแทนของประเทศต่ำงๆ อันเป็น ผลมำจำกข้อตกลงด้ำนสภำพภูมิอำกำศที่ปำรีส (Paris climate agreement) หรือแม้กระทั่งระดับ ควำมเชื่อมั่นที่นักลงทุนมีต่อเศรษฐกิจจีนซึ่งเป็นเศรษฐกิจขนำดใหญ่ที่มีอิทธิพลอย่ำงมำกต่อกำร กำหนดทิศทำงของเศรษฐกิจโลก ปัจจัยเหล่ำนี้ล้วนมีส่วนต่อกำรเปลี่ยนแปลงแนวโน้มรำคำน้ำมัน ทั้งสิ้น ในแง่ของผลกระทบที่ตำมมำจำกรำคำน้ำมันที่ตกต่ำลงนั้น ทำให้ประเทศผู้ส่งออกน้ำมันหลำย ประเทศ เช่น รัสเซีย คำซัคสถำน ฯลฯ หันมำให้ควำมสำคัญกับกำรใช้อัตรำแลกเปลี่ยนแบบยืดหยุ่น มำกขึ้น นอกจำกนี้ภำวะรำคำน้ำมันตกต่ำยังเป็นเสมือนตัวกระตุ้นให้ประเทศต่ำงๆ ต้องดำเนิน นโยบำยเศรษฐกิจอย่ำงฉลำดและรัดกุมมำกยิ่งขึ้น เช่น กำรลดค่ำใช้จ่ำยสิ้นเปลือง ลดกำรอุดหนุนด้ำน พลังงำน เป็นต้น และสำหรับผลกระทบที่จะเกิดกับประเทศผู้นำเข้ำน้ำมันนั้น หำกสำเหตุที่แท้จริงซึ่ง ทำให้รำคำน้ำมันลดลงมำจำกกำรที่อุปทำนในตลำดมีปริมำณมำกขึ้นหรือเพรำะประเทศผู้นำเข้ำมีอุป สงค์ลดลงแล้ว ก็ย่อมช่วยให้ผู้บริโภคในประเทศผู้นำเข้ำเหลือเงินไว้จับจ่ำยด้ำนอื่นๆ อันจะช่วย เสริมสร้ำงเศรษฐกิจภำยในประเทศให้ดีขึ้น แต่หำกสำเหตุที่แท้จริงมำจำกปัญหำเศรษฐกิจโลกที่เริ่มก่อ ตัว ประเด็นดังกล่ำวอำจกลำยเป็นเรื่องที่ประเทศต่ำงๆ ควรต้องเฝ้ำระวังมำกกว่ำยินดี ทั้งนี้เพื่อเตรียม กำหนดมำตรกำรรับมือที่เหมำะสมต่อไป
  • 7. 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต STOCKHOLM INTERNATIONAL PEACE RESEARCH INSTITUTE การทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือ: ปฏิกิริยาตอบสนองของนานาประเทศ เมื่อวันที่ 6 มกรำคม ที่ผ่ำนมำ เกำหลีเหนือได้ออกมำประกำศถึงควำมสำเร็จในกำรประดิษฐ์ ระเบิดนิวเคลียร์ชนิดไฮโดรเจน (hydrogen or thermonuclear device) หลังจำกที่มีกำรทดลองและ พัฒนำมำหลำยปี นอกจำกนี้ในช่วงที่ผ่ำนมำเกำหลีเหนือยังดำเนินกำรทดสอบขีปนำวุธทั้งทำงบก และทำงน้ำอย่ำงต่อเนื่อง กำรเดินหน้ำพัฒนำอำวุธที่มีพลังทำลำยล้ำงสูงของเกำหลีเหนือที่เกิดขึ้นนี้ ทำให้นำนำประเทศมิอำจนิ่งนอนใจได้ เนื่องจำกกรณีดังกล่ำวอำจส่งผลกระทบต่อเสถียรภำพและ ควำมมั่นคงในระดับโลก หน่วยงำนผู้เชี่ยวชำญของภูมิภำคยุโรปจึงได้พยำยำมรวบรวมและ ตรวจสอบข้อมูลด้ำนอำวุธนิวเคลียร์ของเกำหลีเหนืออย่ำงจริงจังและพบว่ำเกำหลีเหนือมีกำร ทดสอบและครอบครองอำวุธนิวเคลียร์จริงตำมที่ได้กล่ำวอ้ำง ซึ่งข้อเท็จจริงดังกล่ำวนี้ทำให้เกำหลี เหนือตกเป็นที่หวำดระแวงและได้รับกำรประณำมจำกหลำยฝ่ำยอยู่ไม่น้อย ด้วยเหตุดังกล่ำว ท่ำทีที่ทั่วโลกตอบสนองต่อกำรกระทำของเกำหลีเหนือจึงถูกดำเนินกำรโดย ผ่ำนมติของคณะมนตรีควำมมั่นคงแห่งสหประชำชำติด้วยกำรประณำมและคว่ำบำตรในระดับที่ รุนแรงขึ้น แต่พร้อมกันนี้ก็มีควำมพยำยำมดำเนินนโยบำยเจรจำร่วมกันเพื่อหำข้อยุติให้กับประเด็น ควำมขัดแย้งที่เกิดขึ้น แต่อย่ำงไรก็ตำม ที่ผ่ำนมำนโยบำยกำรสร้ำงควำมร่วมมือดังกล่ำวก็ไม่ ประสบควำมสำเร็จนัก ดังจะเห็นได้จำกกำรเจรจำหกฝ่ำย (Six Party Talks) ระหว่ำงเกำหลีเหนือ เกำหลีใต้ จีน ญี่ปุ่น รัสเซียและสหรัฐอเมริกำซึ่งถูกระงับไปตั้งแต่ปี 2009 ทั้งที่กลไกนี้อำจเป็น หนทำงที่จะโน้มน้ำวให้เกำหลีเหนือยอมรับข้อตกลงในสนธิสัญญำไม่แพร่ขยำยอำวุธนิวเคลียร์ (NPT) นำไปสู่กำรจำกัดขอบเขตกำรขยำยตัวของอำวุธนิวเคลียร์ได้ แต่จนถึงปัจจุบันก็ยังไม่มีวี่แวว ที่จะรื้อฟื้นกำรเจรจำขึ้นใหม่ ดังนั้น ทำงเลือกที่อำจเป็นไปได้ในขณะนี้จึงเป็นกำรดำเนินนโยบำยทำงกำรทูตด้ำนกำร เจรจำต่อรองระหว่ำงทุกฝ่ำยที่เกี่ยวข้องซึ่งเน้นกำรรักษำผลประโยชน์ด้ำนควำมปลอดภัยร่วมกัน นอกจำกนี้ กำรเดินหน้ำสร้ำงเขตอำวุธนิวเคลียร์เสรี (nuclear-weapon-free zone) ในภูมิภำค เอเชียตะวันออก เฉียงเหนือซึ่งครอบคลุมบริเวณคำบสมุทรเกำหลีและญี่ปุ่นก็จะเป็นอีกเครื่องมือ สำคัญที่ช่วยสร้ำงควำมมั่นคงปลอดภัยขึ้นในภูมิภำคได้
  • 8. 5 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เอกสารอ้างอิง Roderic Wye. Taiwan Charts a New Course After Elections. Chatham House. ออนไลน์: https://www.chathamhouse.org/expert/comment/taiwan-charts-new-course-after- elections Georg Zachmann. The oil-price slump: crisis symptom or fuel for growth? Bruegel. ออนไลน์: http://bruegel.org/2016/01/the-oil-price-slump-crisis-symptom-or-fuel-for-growth/ Tariq Rauf. Another nuclear test announced by North Korea: Searching for a plan of ac- tion? Stockholm International Peace Research Institute (SIPRI). ออนไลน์: http://www.sipri.org/ media/expert-comments/rauf-january-2016
  • 9. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS BROOKINGS เรียบเรียงโดย ปลำยฟ้ ำ บุนนำค ผู้ช่วยนักวิจัย    COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS อันตรายที่มากับเส้นทางสาย One Belt, One Road ของจีน ในเดือนมกราคมที่ผ่านมา Elizabeth C. Economy จากสถาบัน Council on Foreign Rela- tions ได้เขียนบทความเรื่อง What “One Belt, One Road” Could Mean for China’s Regional Security Approach ซึ่งในบทความนี้ได้กล่าวถึงประเด็นภัยคุกคามการก่อการร้ายที่จีนต้องเผชิญ จากเส้นทาง OBOR นี้ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2015 กลุ่ม IS ได้สังหารตัวประกันชาวจีน จากเหตุการณ์นี้ทาให้ ชาวเน็ตจีนออกมาแสดงความไม่พอใจต่อท่าทีของรัฐบาลจีนที่ดูเพิกเฉยกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น มีผู้ใช้ อินเตอร์เน็ตรายหนึ่งโพสต์ว่า “ถึงเวลาแล้วที่จีนในฐานะประเทศมหาอานาจจะลุกขึ้นมาทาอะไรสัก อย่าง” การที่มีคนจานวนมากออกมาแสดงความรู้สึกเห็นใจต่อเรื่องนี้ในโลกโซเชียลทาให้คนเริ่มตั้ง คาถามว่ารัฐบาลจีนจะมีปฏิกิริยาอย่างไรต่อภัยคุกคามที่เพิ่มขึ้นจากการก่อการร้ายทั้งจากนอก ประเทศและในประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความน่ากลัวของกลุ่ม IS จะทาให้จีนต้องเปลี่ยน ยุทธศาสตร์ความมั่นคงในภูมิภาคเรื่องการแผ่ขยายการค้าและการลงทุนภายใต้โครงการ OBOR หรือไม่
  • 10. 7 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต นโยบาย OBOR ของจีนนั้น เป็นความพยายามที่จะเชื่อมโยงประเทศจีนกับภูมิภาคเอเชียกลาง ตะวันออกกลาง แอฟริกา รวมถึงยุโรป ผ่านโครงสร้างพื้นฐาน การสื่อสารโทรคมนาคมและเงินทุน โดย จีนต้องการให้มูลค่าการค้ากับประเทศที่อยู่ในเส้นทาง OBOR เพิ่มขึ้นเป็น 2.5 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ต่อปีในอีกสิบปีข้างหน้า นักวิเคราะห์นโยบายของจีนนั้นตระหนักดีถึงความกังวลด้านความปลอดภัยที่ เกิดจากโครงการดังกล่าว โดย Zhao Kejin อาจารย์จากมหาวิทยาลัยชิงหัว (Tsinghua University) ของจีน ระบุว่า “การที่จีนเอาเศรษฐกิจของตนเชื่อมเข้ากับเศรษฐกิจโลกที่เป็นโลกาภิวัตน์และเกือบที่จะ รวมเป็นหนึ่งเดียวกับโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการ OBOR ทาให้จีนต้องให้ความสาคัญกลุ่มการก่อ การร้าย IS มากยิ่งขึ้น” จีนได้อ้างมาเป็นเวลานานแล้วว่าตนนั้นต้องเผชิญกับภัยการก่อการร้ายในประเทศที่ได้รับการ สนับสนุนจากนอกประเทศ โดยเฉพาะเขตปกครองตนเองซินเจียง(ส่วนใหญ่เป็นมุสลิม) ซึ่งเป็นบริเวณ ที่มีความรุนแรงทางเชื้อชาติ นาย Wang Yi รัฐมนตรีการต่างประเทศของจีนได้กล่าวว่า “จีนก็เป็นเหยื่อ ของการก่อการร้ายเช่นกัน” เกือบร้อยละ 70 ของการค้าระหว่างจีนกับเอเชียกลางต้องผ่านบริเวณซิ นเจียงนี้ ความกังวลที่เกี่ยวกับเรื่องความไม่สงบและไม่มั่นคงนี้ทาให้จีนร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับเพื่อน บ้านในภูมิภาคเอเชียกลางในการพยายามต่อต้านการก่อการร้ายมาตั้งแต่ทศวรรษ 1990 การร่วมมือนี้ เกิดขึ้นจากองค์กรร่วมมือเซี่ยงไฮ้ หรือ SCO โดยสมาชิกจะมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันและร่วม ฝึกในโครงการต่อต้านการก่อการร้ายระดับภูมิภาค ซึ่งกิจกรรมส่วนใหญ่จะเป็นไปเพื่อการต่อต้านการ ก่อการร้าย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติการนอกประเทศและในสนามรบของกองทัพจีน รวมถึง จีนได้ร่วมมือกับคาซัคสถานในการฝึกให้กับหน่วยรบพิเศษของคาซัคสถานอีกด้วย One Belt, One Road ไม่ได้มีแต่มุมที่ให้ประโยชน์กับจีนอย่างเดียว แต่นาความเสี่ยงเรื่องการก่อ การร้ายมาสู่จีนมากขึ้นด้วย การที่เส้นทาง OBOR จะตัดผ่านบริเวณซินเจียงและเอเชียกลางจะทาให้ จานวนแรงงานชาวจีนฮั่นเพิ่มขึ้นและผู้อาศัยบริเวณดังกล่าวต้องเผชิญกับความเสี่ยงด้านความ ปลอดภัยที่เพิ่มมากขึ้น ดังนั้นประเด็นเรื่องการรักษาความปลอดภัยของแรงงานจีนในต่างประเทศจึง กลายเป็นประเด็นที่รัฐบาลจีนกังวลมากขึ้น ยกตัวอย่างเช่น 3 ผู้บริหารจาก China Railway Construc- tion Corporation ถูกฆ่าโดยกลุ่มอัลกออิดะห์ในเขตอิสลามมาเกร็บ ในเหตุการณ์จับตัวประกันที่ Radisson Blu Hotel เมือง Bamako ประเทศมาลี รวมทั้งคลิปที่กลุ่ม IS เพิ่งปล่อยออกมาไม่นานซึ่ง กล่าวเรียกร้องเป็นภาษาจีน “ให้ชาวมุสลิมหยิบอาวุธขึ้นสู้” ก็ยิ่งทาให้ชาวจีนทวีความหวาดกลัวว่า จะตกเป็นเป้าหมายของการก่อการร้าย
  • 11. 8 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ด้านทางการจีนนั้น อันที่จริงก็ให้ความสาคัญกับการต่อต้านการก่อการร้าย โดยล่าสุดได้ผ่าน กฎหมายที่อนุญาตให้สมาชิกกองทัพปลดปล่อยประชาชน (PLA) และกองทัพรักษาความปลอดภัยอื่นๆ ของจีนสามารถปฏิบัติการต่อต้านการก่อการร้ายนอกประเทศได้แต่ต้องได้รับการอนุญาตจากประเทศ นั้นๆก่อน โดยในปัจจุบัน จีนใช้ทหารท้องถิ่นของแต่ละชาติรายทาง OBOR และกองกาลังรัสเซียในการ รักษาความปลอดภัยในเส้นทาง OBOR และ PLA ได้ปฏิรูปข้อเสนอเพื่อจะก่อตั้งเขตทหารที่ใหญ่ที่สุด ใหม่ 5 เขต ในบริเวณตะวันตกที่ห่างไกลของจีน ซึ่งจะช่วยเพิ่มความสามารถในการจัดการความไม่สงบ ในเขตที่ใกล้กับเอเชียกลาง นอกจากนี้สมาชิกของ PLA ยังมีข้อเสนอแนะอื่นๆอีก เช่น สนับสนุนให้ใช้ บริษัททหารรับจ้างในการรักษาความมั่นคงในกรณีที่กองทัพจีนไม่ได้รับอนุญาตให้ปฏิบัติการได้ และ เรียกร้องให้ SCO ให้น้าหนักกับเรื่องความมั่นคงให้เท่าๆกับเรื่องเศรษฐกิจ จากที่กล่าวมา ภัยคุกคามในเขตซินเจียงและความจาเป็นของจีนในการคุ้มครองการลงทุนขนาด ใหญ่ของตนในประเทศเพื่อนบ้าน อาจทาให้จีนเพิ่มความแข็งกร้าวในการตอบโต้ต่อการก่อการร้ายมาก ยิ่งขึ้น โดยอาจร่วมมือกับนานาประเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ PLA โดยสรุปกล่าวได้ว่าการที่จีน ก้าวขึ้นมาเป็นมหาอานาจในภูมิภาคและโลกนั้นได้เปิดโอกาสใหม่ๆให้กับจีน แต่ในขณะเดียวกันก็นา ความท้าทายใหม่ๆ อันรวมถึงการตกเป็นเป้าหมายในการก่อการร้ายมาสู่จีนด้วย ซึ่งถือเป็นราคาที่ ประเทศมหาอานาจต้องจ่ายเพื่อค้าขายและลงทุนรอบโลก BROOKINGS ย้อนมอง “ผู้อพยพ” กับ “มหานคร” ในอเมริกา
  • 12. 9 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Audrey Singer จากสถาบัน Brookings ได้ทาการศึกษาการอพยพเข้าสู่เมืองใหญ่ของสหรัฐของ ผู้อพยพต่างชาติ ถึงแนวโน้มทางด้านขนาด การกระจุกตัว และอัตราการเจริญเติบโตของประชากรผู้ อพยพเหล่านี้ ในงานวิจัยเรื่อง Metropolitan immigrant gateways revisited, 2014 ซึ่งเผยแพร่เมื่อ เดือนธันวาคม 2015 มีประเด็นน่าสนใจดังนี้ งานวิจัยชิ้นนี้กล่าวว่าประวัติศาสตร์การเพิ่มจานวนประชากรของสหรัฐนั้นเกี่ยวพันกับการ อพยพเข้าเมืองของคนต่างชาติ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีผู้อพยพเข้าสู่สหรัฐเป็นจานวนมาก ซึ่งส่งผล ต่อการเปลี่ยนแปลงทางประชากรศาสตร์ ทั้งด้านเชื้อชาติ ชาติพันธุ์ ศาสนา อายุ และภาษาของ ประชากรในอเมริกา นอกจากนี้ เมื่อสิบปีก่อน Brookings ได้ออกงานวิจัยเรื่อง “The Rise of New Immigrant Gate- ways” ซึ่งแสดงให้เห็นแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของผู้อพยพเข้าเมืองในสหรัฐ จากที่เคยกระจุกตัวอยู่ ใจกลางเมืองใหญ่ๆ เช่น นิวยอร์ก ชิคาโก และลอสแองเจลลิส กระจายตัวอย่างรวดเร็วไปสู่เมืองใหญ่ อื่นๆ โดยเฉพาะทางตะวันตกและทางใต้ของประเทศ และในปี 2009 ก็มีงานวิจัยชิ้นใหม่ตามมาซึ่งพูด ถึงแนวโน้มการเจริญเติบโตของจานวนประชากรผู้อพยพเข้าเมืองในระหว่างปี 2000-2014 โดยให้ ความสนใจเป็นพิเศษกับประชากรวัยทางานและผลกระทบของผู้อพยพต่างชาติต่อการเปลี่ยนแปลง ของจานวนประชากรในเมืองใหญ่ๆของสหรัฐ และล่าสุดได้มีการวิเคราะห์เรื่องการอพยพเข้าสู่เมือง ใหญ่ของสหรัฐ ซึ่งพูดถึงแนวโน้มทางด้านจานวน การกระจุกตัว และอัตราการเพิ่มขึ้นของประชากรผู้ อพยพ โดยใช้สถิติกว่า 10 ปี จากสานักงานสามะโนประชากร (Census Bureau) ซึ่งแสดงให้เห็นว่า สหรัฐอเมริกา เป็นประเทศจุดหมายปลายทางของผู้อพยพมาตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 20 โดยมีผู้อพยพ ต่างชาติเข้ามาในสหรัฐเป็นจานวนมาก โดยจุดหมายส่วนใหญ่จะเป็นเมืองขนาดใหญ่ที่ตั้งอยู่ทาง ตอนกลางของภาคตะวันตก(มิดเวสท์) ของสหรัฐ แต่พอเวลาผ่านไปจุดหมายของการอพยพได้ เปลี่ยนไปตามฐานของเศรษฐกิจ ซึ่งเริ่มแรกคือเกษตรกรรม ต่อมาเปลี่ยนเป็นเศรษฐกิจที่เน้น อุตสาหกรรมและล่าสุดเปลี่ยนมาสู่การบริการและเทคโนโลยี หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 การเพิ่มขึ้นของประชากรในเมืองใหญ่และกิจกรรมทางเศรษฐกิจใน เมืองใหญ่มีการกระจุกตัวน้อยลง แต่กลับไปหนาแน่นในบริเวณชานเมือง ในขณะเดียวกัน จานวน ประชากรของสหรัฐทางตอนใต้และตะวันตกของประเทศเริ่มเพิ่มมากขึ้น เช่นเดียวกับที่เริ่มมีผู้อพยพ ต่างชาติเข้ามาอยู่ทางตอนใต้และตะวันตกมากขึ้นด้วย
  • 13. 10 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต อย่างไรก็ตาม การที่มีผู้อพยพต่างชาติจานวนมากอยู่ในวัยทางาน (25-64ปี) ไม่ได้การันตีว่าจะ ทาให้แต่ละเมืองของสหรัฐประสบความสาเร็จทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นเสมอไป เนื่องจากผู้อพยพเหล่านี้ เป็นกลุ่มคนที่มีศักยภาพด้านการศึกษา ทักษะอาชีพและทักษะภาษาอังกฤษต่า รวมไปถึงลูกๆของพวก เขาที่เกิดและเติบโตในสหรัฐ ก็ไม่ได้มีศักยภาพมากขึ้นกว่ารุ่นพ่อแม่เท่าใดนัก งานวิจัยชิ้นนี้ของ Brookings สรุปว่าถึงแม้จะมีผู้อพยพจานวนมากเข้ามาในสหรัฐแต่ก็เป็นกลุ่มที่ไม่ได้มีศักยภาพเพียง พอที่จะเข้ามาเป็นแรงงานที่มีประสิทธิภาพขับเคลื่อนให้เศรษฐกิจของแต่ละเมืองประสบความสาเร็จ ข้อมูลเหล่านี้แสดงให้เห็นว่าสหรัฐก็เป็นประเทศหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์สัมพันธ์กับผู้อพยพมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เรียกได้ว่าคนอเมริกาทั้งหมดในทุกวันนี้ก็คือลูกหลานของผู้อพยพไม่ระลอกใด ก็ระลอกหนึ่งนับตั้งแต่ชาวยุโรปอพยพมาสู่ทวีปอเมริกา และในปัจจุบันข้อเท็จจริงนี้ก็กลับมาสร้าง คาถามกับสังคมอเมริกันเกี่ยวกับผู้อพยพระลอกใหม่จากตะวันออกกลาง โดยเฉพาะจากซีเรีย ซึ่ง ประเด็นการรับหรือไม่รับผู้อพยพนี้ก็กาลังเป็นประเด็นร้อนที่ถกเถียงกันในบรรดาผู้ลงสมัครชิงตาแหน่ง ประธานาธิบดีสหรัฐที่กาลังจะถึงนี้อย่าง Donald Trump ที่ต้านการรับผู้อพยพเข้าเมืองอย่างสุดตัวและ โจ่งแจ้ง ซึ่งงานวิจัยของ Brookings ชิ้นนี้ก็คงต้องการจะสื่อความไปในทานองเดียวกันอย่างแนบเนียน กว่า เอกสารอ้างอิง Audrey Singer. Metropolitan immigrant gateways revisited, 2014. Brookings. ออนไลน์: http:// www.brookings.edu/research/papers/2015/12/01-metropolitan-immigrant-gateways- revisited-singer Elizabeth C. Economy. What “One Belt, One Road” Could Mean for China’s Regional Secu- rity Approach. Council on Foreign Relations. ออนไลน์: http://blogs.cfr.org/asia/ 2016/01/12/what-one-belt-one-road-could-mean-for-chinas-regional-security-approach/
  • 14. 11 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย CARNEGIE ENDOWMENT FOR INTERNATIONAL PEACE เรียบเรียงโดย ปำณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย เปิ ดตัว Carnegie สาขาอินเดีย สถาบันวิจัยนโยบายระดับโลกด้านอินเดียและเอเชียใต้ศึกษา The Carnegie Endowment for International Peace สถำบันวิจัยนโยบำยด้ำนกำร ต่ำงประเทศชั้นนำของโลกจำกสหรัฐอเมริกำ ซึ่งรั้งอันดับหนึ่งในกำรจัดอันดับ Think Tank ด้ำนกำร ต่ำงประเทศโลกของ Chinese Academy of Social Science ประจำปี 2015 แถลงเปิดตัวสถาบัน Carnegie สาขาอินเดีย เมื่อวันที่ 12 มกรำคม 2559 ซึ่งมีกำหนดเปิ ดสถำบันอย่ำงเป็นทำงกำร ในเดือนเมษำยน ปีเดียวกัน Carnegie อินเดียที่จะมีสานักงานในกรุงนิวเดลีนี้จะเป็นสาขาที่ 6 ของสถาบัน Carne- gie Endowment for International Peace นอกเหนือจำกสำนักงำนใหญ่ที่วอชิงตันดีซี สำนักงำนที่ บรัสเซลล์ ปักกิ่ง(ร่วมกับมหำวิทยำลัยชิงฮวำ) เบรุต และมอสโก และด้วยเหตุที่เป็นสถำบันคลังสมอง แห่งเดียวที่ไปตั้งอยู่ครอบคลุมอยู่ในภูมิภำคหลักๆทั่วโลก The Carnegie Endowment for Interna- tional Peace จึงเรียกตัวเองว่ำเป็น The World’s First Global Think Tank แต่ละสำขำของ The Carnegie Endowment for International Peace จะศึกษำเรื่องรำวใน ภูมิภำคนั้นๆ เช่น Carnegie สำนักงำนปักกิ่งก็จะศึกษำเรื่องเกี่ยวกับเอเชียโดยเฉพำะจีน สำนักงำนที่ เบรุตก็จะเป็น Carnegie Middle East Center ศึกษำวิจัยเรื่องภูมิภำคตะวันออกกลำง สำนักงำน มอสโกก็ศึกษำวิจัยเรื่องรัสเซีย ยุโรปตะวันออก และเอเชียกลำง(ยูเรเซีย) เป็นต้น จุดเด่นของสถำบัน Carnegie คือนอกจำกจะออกไปตั้งสำนักงำนในแต่ละภูมิภำคทั่วโลกแล้ว ยังใช้บุคลำกรที่เป็น นักวิชำกำรท้องถิ่นชั้นนำที่มีชื่อเสียงในสำขำศึกษำของตนเป็นที่ยอมรับในระดับโลก ทำหน้ำที่ทั้ง ผลิตผลงำนวิชำกำรและดำรงตำแหน่งคณะกรรมกำรบริหำรสถำบัน ซึ่งมีข้อดีทั้งช่วยยกประเด็นปัญหำ ที่มำจำกสำยตำของคนท้องถิ่นและที่สำคัญคือเพิ่มควำมน่ำเชื่อถือเรื่องควำมเป็นกลำงทำงวิชำกำรด้วย
  • 15. 12 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สาหรับ Carnegie อินเดีย จะเป็นสถาบันวิจัยนโยบายที่เน้นเรื่องอินเดียและเอเชียใต้ ทั้งในด้านเศรษฐกิจการเมือง นวัตกรรมกับการพัฒนาประเทศและการต่างประเทศ โดยจะมี ผู้อำนวยกำรสถำบันคือ C. Raja Mohan นักวิชำกำรชั้นนำระดับโลกด้ำนเอเชียใต้ศึกษำซึ่งเคยเป็น อำจำรย์ที่ Jawaharlal Nehru University ที่ National University of Singapore และ Rajaratnam School of International Studies ที่สิงคโปร์ และมีคณะกรรมกำรก่อตั้งสถำบันเป็นผู้บริจำคทั้งชำว อินเดียและต่ำงชำติ โดยที่มีอดีตเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรีอินเดียและอดีตเอกอัครรำชทูตอินเดีย ประจำสหรัฐอเมริกำ Naresh Chandra และอดีตเอกอัครรำชทูตสหรัฐอเมริกำประจำอินเดีย Frank Wisner เป็นประธำนร่วมของคณะกรรมกำรดังกล่ำว Carnegie อินเดียน่าจะเป็น “ถังผลิตความคิด” ด้านอินเดียและเอเชียใต้ที่น่ารับไว้ พิจารณาเป็นอย่างยิ่งสาหรับผู้สนใจศึกษาติดตามความเป็นไปของภารตประเทศและอนุ ทวีปแห่งนี้ เกิดอะไรกับเศรษฐกิจจีน? ท่ำมกลำงควำมเครียดของนักลงทุนทั่วโลกจำกกำรร่วงต่อเนื่องของตลำดหุ้นจีนมำหลำยเดือน ซึ่งไม่กระเตื้องขึ้นแม้รัฐบำลจีนได้พยำยำมใช้มำตรกำรต่ำงๆ เพื่อชะลอกำรร่วงถึงขั้นมีมำตรกำรปิด ตลำดหุ้นก่อนเวลำมำแล้ว แต่ Yukon Huang นักเศรษฐศำสตร์ระดับโลกผู้เชี่ยวชำญเศรษฐกิจจีน อดีตผู้อำนวยกำรธนำคำรโลกสำขำประเทศจีน ระหว่ำงปี 1997–2004 และสำขำรัสเซียและเอเชีย กลำงก่อนหน้ำนั้น กลับเสนอภำพในแง่ดีว่ำ พื้นหลังสีแดงเถือกบนกระดานหุ้นจีนในขณะนี้ ไม่ได้ แสดงว่าเศรษฐกิจที่แท้จริง (real economy) ของจีนเข้าสู่ภาวะวิกฤต เพียงแต่เป็นสัญญาณ ของการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนเข้าสู่ “ภาวะปกติใหม่” หรือ New Normal นับจากนี้เป็นต้น ไป
  • 16. 13 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เขำมองสิ่งที่เกิดขึ้นว่ำมำจำก หนึ่ง การที่เศรษฐกิจจีนเปลี่ยนเข้าสู่ภาวะ New Normal ซึ่ง หมำยถึงกำรมีอัตรำเติบโตทำงเศรษฐกิจที่ลดลงใกล้เคียงระดับปกติของประเทศที่เป็นระบบตลำด เสรีทั่วไปมำกขึ้น ไม่ก้ำวกระโดดโตปีละ 10 เปอร์เซ็นต์เหมือนหลำยทศวรรษที่ผ่ำนมำแต่จะอยู่ที่ รำว 7 เปอร์เซ็นต์ต่อปีโดยเฉลี่ย และหมำยถึงกำรเปลี่ยนแปลงโครงสร้ำงเศรษฐกิจจำกที่เน้นกำร ผลิตสินค้ำเป็น “โรงงำนโลก” สู่กำรขับเคลื่อนด้วยภำคบริกำรและกำรเงินมำกขึ้น สอง ควำมผันผวนของเศรษฐกิจจีนในเวลำนี้ มาจากความสามารถที่ลดลงของ รัฐบาลจีนในการควบคุมและแทรกแซงปัจจัยต่างๆในระบบเศรษฐกิจ เช่นราคาสินค้า ค่าเงิน อย่างมีประสิทธิภาพเช่นแต่ก่อน เนื่องมำจำกกำรเชื่อมโยงของจีนกับระบบ เศรษฐกิจโลกและโลกำภิวัตน์ที่มำกขึ้นเรื่อยๆ (อย่ำงล่ำสุดได้แก่กำรผลักดันเงินหยวนเข้ำเป็นสกุล เงินแลกเปลี่ยนสำกลของ IMF) ซึ่งทำให้เศรษฐกิจจีนมีภูมิคุ้มกันจำกเศรษฐกิจโลกลดลง พลอย ได้รับผลกระทบต่ำงๆที่เกิดขึ้นในเศรษฐกิจโลกมำกขึ้น สิ่งที่แน่นอนคือ ทุกวันนี้เศรษฐกิจจีนได้เคลื่อนเข้ำสู่ภำวะ New Normal ทั้งอัตรำกำรเติบโต และรูปแบบเศรษฐกิจ แต่สิ่งที่ไม่แน่นอนคือในช่วงเปลี่ยนผ่านนั้น เศรษฐกิจจะผันผวนมากน้อย เพียงใด อย่ำงที่ถำมกันว่ำ hard or soft landing? ซึ่ง Yukon Huang เตือนให้เตรียมรับมือกับ ความผันผวน มีแนวโน้มว่าหุ้นจะตกกว่านี้และเงินหยวนก็จะอ่อนลงกว่านี้ เพรำะเมื่อดู เศรษฐกิจจีนในรำยละเอียด พบแนวโน้มของเอกชนจีนที่เคลื่อนย้ำยทุนออกต่ำงประเทศมำกขึ้น ส่วนหนึ่งเป็นเพรำะภำครัฐจีนเอื้อให้มำกขึ้นด้วยกำรปรับปรุงกฏหมำยให้เศรษฐกิจเสรีมำกขึ้น แต่ สำเหตุที่สำคัญกว่ำเป็นเพรำะผลตอบแทนของการลงทุนในจีนเวลานี้ต่าลงกว่าช่วงก่อนมาก เรื่อง สำคัญคืออุปทำนที่มำกเกินไปในตลำดที่อยู่อำศัย ทำให้รำคำอสังหำริมทรัพย์ตกต่ำ เศรษฐกิจที่ เคลื่อนเข้ำสู่ภำวะชะลอตัวก็ทำให้อัตรำดอกเบี้ยตกต่ำ ประกอบกับตลำดหุ้นก็ตกกรำวรูด โดยสรุป การลงทุนเพื่อเก็งกาไรในตลาดอสังหาริมทรัพย์และตลาดการเงินในประเทศจีนจึงไม่ น่าสนใจอีกแล้ว เอกชนจีนจึงหาทางออกไปลงทุนในต่างประเทศที่ได้ผลตอบแทนสูงกว่า และสถานการณ์นี้ก็จะยิ่งส่งผลให้หุ้นจีนตกลงอีก อย่ำงไรก็ตำม สำหรับ Yukon Huang ในเมื่อทิศทำงกำรเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจจีนนั้น ก้ำวไปทำงตลำดเสรีมำกขึ้น เชื่อมเข้ำกับระบบเศรษฐกิจโลกมำกขึ้น รัฐบำลจีนจึงไม่ควรแทรกแซง ในตลำดหุ้นและอัตรำแลกเปลี่ยนโดยตรง (เช่น โดยกำรตรึงหรือชะลอกำรลดค่ำเงินหยวน) อย่ำงที่ ทำอยู่ เพรำะยิ่งก่อปัญหำมำกขึ้น แต่ในยุคที่เศรษฐกิจจีนเติบโตมำในระบบตลำดเสรีถึงขั้นนี้ รัฐบำลจีนควรถอยออกมำดูแลเศรษฐกิจแบบห่ำงๆ ด้วยกำรเสริมสร้ำงสถำบันต่ำงๆทำงเศรษฐกิจ และมำตรกำรควบคุมกำกับดูแลให้เข้มแข็งมำกกว่ำ เพรำะถึงอย่ำงไร กำรชะลอตัวของเศรษฐกิจ จีนก็เป็นธรรมชำติที่หลีกเลี่ยงไม่ได้เมื่อเศรษฐกิจจีนเปลี่ยนเข้ำสู่ New Normal และเป็นสิ่งที่ ประชำชนต้องปรับตัวกับภำวะปกติใหม่หลังจำกอยู่กับเศรษฐกิจที่เฟื่องฟู “อย่ำงมหัศจรรย์” มำ หลำยทศวรรษ
  • 17. 14 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สถานการณ์ในช่องแคบไต้หวันหลังได้ผู้นาใหม่ สำหรับผู้ติดตำมควำมเป็นไปในเอเชียตะวันออกในเดือนมกรำคมนี้ คงไม่มีเหตุกำรณ์ใดเป็นที่ จับตำเกินกว่ำการเลือกตั้งประธานาธิบดีในไต้หวัน หลังครบวำระของประธำนำธิบดีหม่ำ อิง จิ่ว (Ma Ying-jeou)แห่งพรรคก๊กมินตั๋ง ผลกำรเลือกตั้งในวันที่ 16 มกรำคม 2559 ปรากฎว่านางไช่ อิง เหวิน (Tsai Ing-wen) แห่งพรรคประชำธิปไตยก้ำวหน้ำหรือ Democratic Progressive Party: DPP เป็นผู้ ชนะ กำรเลือกตั้งในไต้หวันมีควำมสำคัญ เพรำะความสัมพันธ์ระหว่างจีน-อเมริกาที่มีทั้งควำม ร่วมมือและขัดแย้งนั้นขึ้นอยู่กับท่าทีของผู้นาไต้หวันคนใหม่ถึงหนึ่งในสามส่วน ที่กล่ำวว่ำหนึ่งในสำม เพรำะควำมสัมพันธ์บนช่องแคบไต้หวันนี้มีผู้เล่นอยู่สำมคนคือ จีนแผ่นดินใหญ่ ไต้หวัน และ สหรัฐอเมริกา สำหรับสภาวะการณ์ปัจจุบัน (status quo) ในช่องแคบไต้หวันก่อนการเลือกตั้งถือว่าดี มาก และมีแนวโน้มว่าจะราบรื่นต่อไป โดยเฉพำะหลังการพบกันระหว่างสี จิ้น ผิงแห่งจีน แผ่นดินใหญ่กับหม่า อิง จิ่วแห่งไต้หวัน ที่สิงคโปร์เมื่อเดือนพฤศจิกำยน 2015 ซึ่งเป็นกำรพบ กันครั้งแรกในประวัติศำสตร์ของสองผู้นำสองฝั่งช่องแคบนับตั้งแต่จบสงครำมกลำงเมืองชิงแผ่นดินจีน เมื่อปี 1949 อีกทั้งเพรำะอย่างน้อยนโยบายขั้นพื้นฐานในการจัดการความสัมพันธ์บนช่องแคบไต้หวัน ของทั้งสามฝ่ายคือจีน ไต้หวัน และสหรัฐก็มีความสอดคล้องกัน คือต่างเรียกร้องให้รักษา สันติภาพและเสถียรภาพในช่องแคบไว้ ส่วนการขึ้นมาของนางไช่ อิง เหวินนั้น เมื่อดูในเวลำนี้ก็น่ำจะช่วยสืบทอดช่วงเวลำแห่งสันติใน ช่องแคบไต้หวันต่อไปได้ เพรำะแม้พรรค DPP ของนำงจะเป็นคู่แข่งกับก๊กมินตั๋งและเคยทำให้ช่อง แคบไต้หวันตึงเครียดมำกเมื่อตอนเข้ำมำบริหำรประเทศครั้งที่แล้วในปี 2000 ซึ่งมีเฉิน สุย เปียน (Chen Shui-bian) เป็นประธำนำธิบดี แต่มำในกำรเลือกตั้งปี 2016 พรรค DPP และนำงไช่มีท่ำที สร้ำงสรรค์ขึ้นในเรื่องควำมสัมพันธ์ในช่องแคบในแง่ที่จะรักษำควำมสัมพันธ์ที่ดีกับจีนแผ่นดินใหญ่
  • 18. 15 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต มองไปที่สหรัฐอเมริกา ฝ่ำยอเมริกำก็พอใจที่ได้ผู้นำไต้หวันคนใหม่ที่มีท่ำทียึดหลักสันติในกำร จัดกำรควำมสัมพันธ์ในช่องแคบ และคงไม่สนับสนุนให้นำงไช่ดำเนินนโยบำยใดๆ ในแนว “บู๊” ที่จะปลุก เร้ำควำมตึงเครียดในช่องแคบขึ้นมำอีก เพรำะเมื่อพิจำรณำดูศักยภำพของอเมริกำเองในเวลำนี้ อเมริกำไม่อยู่ในฐำนะที่จะลงทุนหนุนหลังอะไรกับไต้หวันหำกเกิด “อุบัติเหตุ” อะไรขึ้นมำ เพรำะโอ บำมำไม่น่ำจะต้องกำรสร้ำงปัญหำอะไรเพิ่มอีกในยำมที่ตนเองกำลังจะหมดวำระ เพื่อให้ประวัติศำสตร์ เขียนถึงช่วงเวลำกำรเป็นประธำนำธิบดีของตนในเชิงบวกเท่ำที่จะเป็นไปได้ นอกจำกนี้สำหรับรัฐบำล อเมริกำที่จะมำต่อจำกโอบำมำ เมื่อกวำดตำไปทั่วแผนที่โลกแล้ว ยังมี “เผือกร้อน” อีกมำกที่อเมริกำยัง แก้ไม่ตก ในกำรนี้ ปัญหำในตะวันออกกลำงมำเป็นอันดับหนึ่ง โดยเฉพำะเรื่อง IS ตำมมำด้วยเรื่อง ข้อตกลงนิวเคลียร์อิหร่ำน และกำรจัดกำรควำมสัมพันธ์รัสเซีย-ยุโรปตะวันออก จำกเรื่องยูเครน ดังนั้น เรื่องไต้หวันและแม้แต่จีนแผ่นดินใหญ่เองจึงมิใช่ปัญหำสำคัญอันดับต้นๆ ของกำรต่ำงประเทศอเมริกำ ด้ำนจีนแผ่นดินใหญ่นั้น ก็จะเฝ้ำจับจ้องต่อไปว่ำผู้นำไต้หวันคนใหม่จะยังคงยึดมั่นในคำเตือน ของปักกิ่งหรือไม่ ว่ำพื้นฐำนของสันติภำพในช่องแคบนั้นคือ “กำรมีจีนเพียงหนึ่งเดียว” (One China Policy) เอกสารอ้างอิง Announcing the Launch of Carnegie India. Carnegie Endowment for International Peace. ออนไลน์ http://carnegietsinghua.org/#slide_6217_announcing-launch-of-carnegie-india Yukon Huang. There’s More Volatility to Come in China. Carnegie Endowment for International Peace. ออนไลน์ http://carnegieendowment.org/2016/01/14/there-s-more-volatility-to-come -in-china/isl1 Douglas H. Paal. Maintaining Peace Across Taiwan Strait Can Benefit. Carnegie Endowment for International Peace. ออนไลน์ http://carnegieendowment.org/2016/01/21/maintaining- peace-across-taiwan-straits-can-benefit-all/it3i
  • 19. 16 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง INSTITUTE FOR NATIONAL SECURITY STUDIES (INSS) (ISRAEL) เรียบเรียงโดย ปำณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย จีนในสายตาอิสราเอล สถาบันคลังสมองของอิสราเอล Institute for National Security Studies (INSS) ซึ่งรั้ง อันดับ 5 ของ Think Tank ในภูมิภำคตะวันออกกลำงในกำรจัดอันดับ Think Tank โลกของ มหำวิทยำลัยเพนซิลเวเนียเมื่อปี 2014 ได้จัดทารายงานการวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ชาติของอิสราเอลในปี 2015-2016 เสนอแนะทิศทางยุทธศาสตร์ของอิสราเอลต่อจีน ไว้ในบทที่ว่ำด้วยยุทธศำสตร์ของ อิสรำเอลต่อชำติมหำอำนำจซึ่งมีทั้งสหรัฐอเมริกำ รัสเซีย และสหภำพยุโรป เมื่อเทียบกับมหำอำนำจอื่นที่กล่ำวมำ อิสราเอลมองจีนเป็นมหาอานาจ “หน้าใหม่” ใน ตะวันออกกลาง ที่กาลัง “รุก” เข้าสู่อิสราเอลอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะในด้านเศรษฐกิจ มูลค่ำ กำรค้ำระหว่ำงสองชำติเพิ่มขึ้นมำกและเพิ่มขึ้นเร็ว บริษัทจีนเข้ำมำมีส่วนเกี่ยวข้องอย่ำงมำกใน โครงกำรก่อสร้ำงโครงสร้ำงพื้นฐำนระดับเมกะโปรเจกท์ของอิสรำเอลมำกมำย และในขณะที่บริษัท ขนำดใหญ่และขนำดกลำงของอิสรำเอลจำนวนมำกกำลังถูกบริษัทจีนเข้ำซื้อ กลุ่มธุรกิจยักษ์ใหญ่ของ จีนก็ทยอยกันเข้ำมำตั้งสำนักงำนในอิสรำเอลมำกขึ้นเรื่อยๆ รำยงำนฉบับนี้มองว่ำนักธุรกิจจีนต้องกำร เข้ำมำเอำ “องค์ควำมรู้และนวัตกรรม” จำกอิสรำเอล การรุกทางเศรษฐกิจของจีนนี้ถูกวิเคราะห์จาก อิสราเอลว่าเป็นทั้งโอกาสและความเสี่ยง โดยมองว่ำจีนรุกเข้ำมำในเศรษฐกิจของอิสรำเอลได้ ง่ำยและมำกกว่ำที่อิสรำเอลสำมำรถรุกเข้ำไปในเศรษฐกิจจีน เพรำะระบบเศรษฐกิจของอิสรำเอลเสรี และเปิดกว้ำงกว่ำเมื่อเทียบกับของจีนที่มีอุปสรรคในทำงวัฒนธรรม ระบบรำชกำร และระเบียบ ข้อบังคับสำหรับธุรกิจต่ำงชำติมำกกว่ำ
  • 20. 17 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ขณะที่ในภาคการเมือง แม้คนอิสรำเอลจำนวนมำก ซึ่งรวมทั้งเจ้ำหน้ำที่รัฐจะไม่ปฏิเสธว่ำกำร เข้ำมำของจีนมอบผลประโยชน์ทำงเศรษฐกิจให้มำกมำย แต่ก็ตั้งคาถามกันว่าสมควรแล้วหรือไม่ที่ อิสราเอลจะเปิ ดทางให้บริษัทของจีน ซึ่งมีสายสัมพันธ์ที่แยกไม่ขาดจากรัฐบาลจีนเข้ามาซื้อ สินทรัพย์และสัมปทานธุรกิจในประเทศได้โดยสะดวก ในขณะที่จีนขายอาวุธให้ศัตรูของ อิสราเอล คืออิหร่านและชาติอาหรับ และไม่เคยคัดค้านบรรดามติของสหประชาชาติที่เป็น ปฏิปักษ์ต่ออิสราเอล ยิ่งไปกว่ำนั้นอิสรำเอลก็เหมือนกับหลำยชำติที่ได้ติดต่อกับจีนคือสัมผัสได้ถึงลักษณะอย่างหนึ่ง ของจีนคือการเป็นชาติที่ทาอะไรอย่างมียุทธศาสตร์เสมอ กำรกระทำหลำยอย่ำงของจีนที่ดูไม่ เกี่ยวข้องกันหลำยครั้งกลับปรำกฏว่ำเป็นส่วนหนึ่งของแผนกำรที่ใหญ่กว่ำนั้น จึงอดตั้งคำถำมไม่ได้ว่ำ กำรก่อสร้ำงท่ำเรือหลำยแห่งในอิสรำเอลโดยบริษัทรับเหมำก่อสร้ำงของจีนจะมีนัยยะแอบแฝงหรือว่ำ เป็นส่วนหนึ่งของแผนกำรอะไรที่ใหญ่กว่ำหรือไม่ เมื่อคำนึงถึงโครงกำรทำงยุทธศำสตร์หลำยโครงกำร ของจีน ตั้งแต่ One Belt, One Road ธนำคำร AIIB หรือกำรสร้ำงฐำนทัพเรือจำกหมู่เกำะในทะเลจีนใต้ ผ่ำนมหำสมุทรอินเดีย จนถึงจงอยแห่งแอฟริกำ (The Horn of Africa-บริเวณประเทศโซมำเลียและ เอธิโอเปีย) ในส่วนที่ว่ำด้วยควำมสัมพันธ์ต่อจีน รำยงำนฉบับนี้สรุปว่ำ อิสราเอลต้องคิดในเชิงยุทธศาสตร์ ให้มากขึ้นในการดาเนินความสัมพันธ์ระยะยาวกับประเทศจีน และต้องไม่ลืมคานึงถึง ความสัมพันธ์ระหว่างอิสราเอล-อเมริกาด้วยเสมอ เอกสารอ้างอิง Oded Eran and Zvi Magen, “Israel and the Leading International Actors,” in Strategic Survey for Israel 2015-2016, eds. Shlomo Brom and Anat Kurz, (Tel Aviv: Institute for Na tional Security Studies, 2016). ออนไลน์ http://www.inss.org.il/uploadImages/systemFiles/ Strategic%20Survey%202015--2016_EranMagen.pdf
  • 21. 18 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในประเทศไทย  สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT เรียบเรียงโดย ปำณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย บทวิเคราะห์เศรษฐกิจจีนยุคสีจิ้นผิง เมื่อวันที่ 12 ตุลำคม 2558 คุณโจ ฮอร์น พัธโนทัย กรรมกำรบริหำรบริษัท Strategy 613 จำกัด นักยุทธศำสตร์ทำงธุรกิจผู้เชี่ยวชำญด้ำนเศรษฐกิจจีน ได้วิเครำะห์สภำพเศรษฐกิจจีนยุคสี จิ้น ผิงใน เวทีอนาคตจีน : รุ่งหรือร่วง? จัดโดยสถำบันคลังปัญญำด้ำนยุทธศำสตร์ชำติ วิทยำลัยรัฐกิจ มหำวิทยำลัยรังสิต มีสำระสำคัญโดยสังเขปดังนี้ เกิดอะไรขึ้นกับเศรษฐกิจจีน? ในยำมที่หุ้นจีนตกเป็นประวัติกำรณ์ คุณโจ ฮอร์นเน้นว่ำ สิ่ง สาคัญที่คนยังไม่ค่อยตระหนักเวลามองภาพเศรษฐกิจจีนในภาวะ “ขาลง” นี้คือ จีนเวลานี้ เข้าสู่ช่วงที่ไม่เหมือนเมื่อก่อนแล้วหรือที่เรียกว่ำ “New Normal” คือเมื่อกล่ำวในด้ำนเศรษฐกิจ ภำยในประเทศนั้น จีนไม่ได้ต้องการอัตราการเติบโตของ GDP แต่ละปี ที่สูงเหมือนเมื่อก่อน เพรำะอย่ำลืมว่ำเมื่อก่อนที่รัฐบำลจีนเร่งและรักษำอัตรำ GDP ให้โตต่อเนื่องนั้น ก็เพื่อจะขยำย ฐำนเศรษฐกิจให้กว้ำงออก เพื่อสร้ำงงำน เพื่อหนีจำกปัญหำคนว่ำงงำน ซึ่งเป็นควำมกังวลใหญ่ที่สุด ของพรรคในยุคนั้น (รำว 15 ปีที่ผ่ำนมำ เพรำะถ้ำคนว่ำงงำนมำก ควำมชอบธรรมในกำรปกครอง ของพรรคที่ยึดกับกำรสร้ำงควำม “กินดีอยู่ดี” ก็สั่นคลอน)
  • 22. 19 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ขณะที่ในปัจจุบันแม้อัตรำประชำกรยังเพิ่มขึ้น แต่จำนวนคนวัยแรงงำนของจีนเริ่มลดลง ประมำณ 3-4 ล้ำนคนต่อปี ปัญหำคนว่ำงงำนจึงไม่ใช่ควำมกังวลอันดับหนึ่งของพรรคอีกต่อไป ดังนั้น โจทย์ทางเศรษฐกิจในยุคสีจิ้นผิงจึงเปลี่ยนมาเน้นที่การพัฒนาเศรษฐกิจเชิงคุณภาพ พัฒนา เศรษฐกิจเชิงลึก หรือในคาของพรรคคือ “นาการปฏิรูปมาสู่น่านน้าลึก” จีน ณ วันนี้ต้องกำรอัตรำกำรเติบโตรำว 8% ที่ต้องกำรถึง 8% ขณะที่ประเทศอื่นๆโตได้ 3-4 % คนก็พอใจแล้ว นั่นก็เพรำะจีนยังติดปัญหำเรื่องหนี้สำธำรณะสะสมมหำศำล ถ้ำไม่ติดเรื่องหนี้ รัฐบำลจีนก็สำมำรถกำหนดอัตรำเติบโตไว้ที่ 3-4 % ก็สำมำรถอยู่ได้สบำยๆ เพรำะไม่มีปัญหำเรื่อง คนว่ำงงำนแล้ว โดยสรุป ถ้ำมองในระยะสั้นคำถำมไม่ได้อยู่ที่ว่ำเศรษฐกิจจีนขำลงหรือไม่ แต่อยู่ที่ว่ำ จะ soft or hard landing? ซึ่งขึ้นอยู่กับว่ำมำตรกำรมำกมำยของรัฐบำลที่จะออกมำช่วยอุ้มว่ำจะ ได้ผลมำกน้อยแค่ไหน แต่ถ้ำมองในระยะยาวนี่เป็นช่วงเปลี่ยนผ่ำนของเศรษฐกิจจีนจำกที่เป็น เศรษฐกิจเน้นปริมำณ ฐำนเศรษฐกิจเป็นอุตสำหกรรม มำเป็นเศรษฐกิจเชิงคุณภำพที่เน้นภำคบริกำร และกำรเงินมำกขึ้น ดังนั้นอัตรำกำรเติบโตของ GDP ที่ตกลงจึงเป็นไปตำมระดับกำรพัฒนำทำง เศรษฐกิจของจีนที่ก้ำวขึ้นมำอีกขั้น หุ้นตกนั้นเป็นอาการของระบบเศรษฐกิจในช่วงเปลี่ยนผ่าน ซึ่ง แม้อาการไม่น่าจะ“เบา”แต่ก็ไม่ใช่ว่าเศรษฐกิจจีนมาถึงวิกฤตอย่างที่บางคนกล่าวแน่นอน ถอดควำมและเรียบเรียงจำกเวทีอนำคตจีน: รุ่งหรือร่วง จัดโดยสถำบันคลังปัญญำด้ำน ยุทธศำตร์ชำติ วิทยำลัยรัฐกิจ มหำวิทยำลัยรังสิต ร่วมกับสถำบันจีน-ไทยแห่งมหำวิทยำลัยรังสิต วันที่ 12 ตุลำคม 2558 ณ มหำวิทยำลัยรังสิต
  • 23. 20 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ : ศ.ดร.เอนก เหล่ำธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คำดกำรณ์ไกล เรียบเรียง: น.ส.จุฑำมำศ พูลสวัสดิ์ น.ส.ปลำยฟ้ำ บุนนำค นำยปำณัท ทองพ่วง ปีที่พิมพ์: มกรำคม 2559 สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้ำงสรรค์ปัญญำสำธำรณะ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อำคำรพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลำดพร้ำว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสำร 02-930-0064