SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 13
Descargar para leer sin conexión
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
มีนาคม 2559 l ปีที่ 2 ฉบับที่ 2
การถ่ายโอนอานาจ
ในยุคแห่ง
“ เมือง ”
ปีที่ 2
ฉบับที่ 3
เมษายน 2559
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทบรรณาธิการ
สวัสดีปีใหม่ 2559 ค่ะท่านผู้อ่านทุกท่าน ในวันที่ 13 เมษายนนี้ คนไทยและเมืองไทยของเรา
ได้ก้าวเข้าสู่ปีใหม่อย่างเต็มตัว เป็นโอกาสดีที่จะเริ่มต้นทาอะไรใหม่ๆ เปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆให้ดีขึ้น
ตามความสามารถและโอกาสที่เราจะทาได้ ซึ่งถ้าหากเป็นคนแล้วก็ต้องวางแผน วางเป้าหมายกัน
ประมาณหนึ่ง และถ้าหากเป็นชาติก็ต้องมียุทธศาสตร์เช่นกัน เพื่อการก้าวเดินไปข้างหน้าอย่างเป็น
ระบบ และบรรลุเป้าหมายตามที่วางไว้ และในการวางยุทธศาสตร์ของประเทศการดูตัวอย่างจาก
ประเทศอื่นก็เป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง
World Think Tank Monitors ฉบับเมษายนนี้ ยังคงเกาะติดความเคลื่อนไหวของสถาบันคลัง
ปัญญาชั้นนาทั้งฝั่งตะวันตกอย่าง Chatham House ของอังกฤษ Brookings ของอเมริกา และ
ตะวันออกอย่าง Chinese Academy of Social Sciences (CASS) สถาบันคลังปัญญาด้าน
สังคมศาสตร์อันดับหนึ่งของประเทศจีน ซึ่งเมื่อวันที่ 11 เมษายน ที่ผ่านมา นักวิจัยจาก CASS ก็
ได้มาเยี่ยมสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติของเรา และได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความเห็นกันทั้ง
ในเรื่องการสร้างความร่วมมือทางวิชาการในอนาคต กับทั้งแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนและ
ประเทศต่างๆด้วย
เชิญเข้าสู่เนื้อหาได้เลยค่ะ
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สารบัญ
หน้า
บทบรรณาธิการ
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคยุโรป
 CHATHAM HOUSE ความท้าทายด้านการจัดการสุขภาวะ : กรณีวิกฤตผู้ลี้ภัย 1
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา
 BROOKINGS การถ่ายโอนอานาจในยุคแห่ง “เมือง” : พลังของเมืองกับการแก้ปัญหา 3
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย
 CHINESE ACADEMY OF SOCIAL SCIENCES
Big Data Economy: อัศวินขี่ม้าขาวของเศรษฐกิจจีน? 6
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในประเทศไทย
 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT
สถาบันคลังปัญญาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักวิจัยจากCASS ประเทศจีน 8
1
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคยุโรป
CHATHAM HOUSE
เรียบเรียงโดย จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ช่วยนักวิจัย
CHATHAM HOUSE
การเผชิญหน้ากับความท้าทายด้านการจัดการสุขภาวะ : กรณีวิกฤตผู้ลี้ภัย
ภาพจาก soschilderensvillages.com
ในช่วง 2 – 3 ปีที่ผ่านมา วิกฤตผู้อพยพลี้ภัยได้กลายเป็นปัญหาสาคัญที่ส่งผลกระทบระดับโลก
ในหลายด้าน ข้อมูลจาก Chatham House พบว่า มีประชากรผู้พลัดถิ่นทั่วโลกมากถึง 60 ล้านคน ซึ่ง
ในจานวนนี้ 86% พานักอยู่ในประเทศกาลังพัฒนาและมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับต่า แต่ปัจจุบันผู้อพยพ
เหล่านี้เริ่มหลั่งไหลเข้าสู่ประเทศพัฒนาแล้วมากขึ้นจนก่อให้เกิดผลกระทบต่อความมั่นคงด้านสุขภาพที่
ทุกฝ่ายต้องหันมาพิจารณาอย่างจริงจัง
ปัญหาที่เป็นความท้าทายในการจัดการด้านสุขภาวะของผู้อพยพ
ปัญหาสาคัญที่พบในกรณีดังกล่าว คือ การขาดการประสานเชื่อมโยงระหว่างระบบการย้ายถิ่น
ของผู้อพยพกับระบบการเฝ้าระวังโรคติดต่อ การหลั่งไหลเข้ามาของประชากรต่างถิ่นจึงอาจมาพร้อม
กับความเสี่ยงด้านสุขภาพได้ อย่างไรก็ตาม การลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในหมู่ผู้
อพยพก็เป็นเรื่องที่จัดการได้ไม่ยากนัก ซึ่งอาจทาได้โดยการฉีดวัคซีนป้องกันโรคให้แก่ผู้อพยพตั้งแต่
ระยะแรกที่เดินทางเข้าประเทศ แต่การจัดการนี้จะสาเร็จได้ต้องอาศัยบทบาทของประเทศพัฒนาแล้ว
ซึ่งมีจุดแข็งในด้านการมีหน่วยงานรับผิดชอบที่เก่งและเชี่ยวชาญ ตลอดจนมีความสามารถในการ
คิดค้นนวัตกรรมเพื่อตอบสนองความท้าทายด้านสุขภาวะ อีกทั้งประเทศพัฒนาแล้วยังสามารถใช้
2
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประโยชน์จากศักยภาพด้านเศรษฐกิจและสังคม (Socioeconomic) ที่มีอยู่มาเสริมสร้างภารกิจด้าน
สาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นได้ ทว่า ความท้าทายอีกประการที่รัฐบาลไม่ควรละเลยคือการ
แพร่ระบาดของโรคติดต่อที่ไม่แสดงอาการในระยะแรก แต่จะเกิดขึ้นหลังจากผู้อพยพเข้ามาในอยู่
ประเทศนานระยะหนึ่ง เช่น วัณโรค โรคผิวหนังติดเชื้อ ฯลฯ ซึ่งงานวิจัยของประเทศอังกฤษชี้ว่ามีผู้
อพยพมากถึง 77% ที่เพิ่งถูกตรวจพบโรคภายหลังเข้ามาในประเทศนานถึง 2 ปี ประเด็นดังกล่าวนี้
จะยิ่งสร้างความเสี่ยงให้กับพื้นที่ที่มีผู้คนอาศัยอยู่หนาแน่นและมีการจัดบริการสุขภาพที่ไม่ทั่วถึง
แม้บ่อยครั้งการจัดการด้านสุขภาวะอันเนื่องมาจากผู้อพยพจะถูกมองว่าเป็นภาระที่รัฐบาล
ประเทศปลายทางต้องรับผิดชอบ แต่ในการจัดการก็ควรยึดมั่นไว้เสมอถึงการปฏิบัติต่อผู้อพยพใน
ฐานะเพื่อนมนุษย์ที่ควรได้รับสิทธิตามที่บุคคลหนึ่งพึงมี นั่นคือได้รับการตรวจรักษาสุขภาพตาม
หลักเกณฑ์ที่องค์การอนามัยโลกแนะนา และผลการวินิจฉัยใดๆ จะต้องไม่ถูกนามาเป็นข้ออ้างในการ
ผลักดันหรือกีดกันผู้อพยพออกนอกประเทศ ซึ่งปัญหาสาคัญที่เกิดขึ้นในขณะนี้คือการให้ความ
ช่วยเหลือผู้อพยพตามแนวทางดังกล่าวกลับไม่ได้รับความร่วมมือจากประเทศต่างๆ มากเท่าที่ควร
แนวทางการบรรเทาปัญหา
แนวทางสาคัญในการบรรเทาความรุนแรงของปัญหาความไม่เท่าเทียมในการรับการดูแลด้าน
สาธารณสุขของผู้อพยพที่เป็นไปได้ที่สุดควรเริ่มจากการกาหนดนโยบายที่เป็นรูปธรรมประกอบกับ
การร่วมมือกันอย่างจริงจังของประเทศต่างๆ ภายใต้กรอบการสร้างความมั่นคงด้านสุขภาพร่วมกัน
โดยในเบื้องต้น สภาพยุโรปได้อนุมัติงบประมาณกว่า 1.8 พันล้านยูโรในการพัฒนาเศรษฐกิจและ
เพิ่มการจ้างงาน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให้แก่ประเทศในแอฟริกาโดยมีความหวังใน
การลดอัตราผู้อพยพออกนอกประเทศซึ่งถือเป็นการแก้ปัญหาตั้งแต่ต้นทาง แต่ทั้งนี้สาหรับการ
แก้ปัญหาที่ปลายทางรัฐบาลของประเทศที่ให้การพักพิงแก่ผู้อพยพจะต้องสร้างมาตรฐานที่เหมาะสม
ในการให้บริการด้านสุขภาพบนพื้นฐานของการยอมรับความหลากหลายและการเคารพสิทธิ
มนุษยชน
เอกสารอ้างอิง
Abbas Omaar, Osman Dar and Professor Ali Zumla. Facing the Health Challenges of the
Global Refugee Crisis. Chathum House. ออนไลน์:https://www.chathamhouse.org/
expert/comment/facing-health-challenges-global-refugee-crisis
3
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา
Brookings
เรียบเรียงโดย ปลายฟ้ า บุนนาค ผู้ช่วยนักวิจัย
      BROOKINGS
การถ่ายโอนอานาจในยุคแห่ง “เมือง” : พลังของเมืองกับการแก้ปัญหา
ภาพจาก https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/d/de/Houston_night.jpg
Bruce Katz นักวิจัยจากสถาบัน Brookings ได้เขียนหนังสือร่วมกับ Jennifer Bradley เรื่อง
The Metropolitan Revolution เกี่ยวกับเรื่องของการที่ผู้นามหานครต่างๆเป็นตัวนาการเปลี่ยนแปลง
รูปแบบเศรษฐกิจและแก้ไขระบบการเมืองที่เสื่อมโทรม ครั้งนี้ Bruce Katz ได้เขียนบทความเรื่อง
Devolution for an urban age: City power and problem-solving ไว้อย่างน่าสนใจ สรุปได้ดังนี้
ในศตวรรษที่ 21 เมืองขึ้นมามีบทบาทอย่างมากในการขับเคลื่อนประเทศ ผู้นาท้องถิ่นมี
บทบาทสาคัญมากในการแก้ไขปัญหาต่างๆ โดยร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับกลุ่มทุน บริษัทชั้นนาระดับ
โลกและผู้นาระดับชาติ
การถ่ายโอนอานาจตามความเข้าใจดั้งเดิมคือ การที่รัฐบาลแบ่งอานาจและความรับผิดชอบมา
ให้แก่ท้องถิ่นอย่างเป็นทางการ แต่การถ่ายโอนอานาจอย่างเป็นทางการดังกล่าว ปัจจุบันกาลังถูก
แซงหน้าด้วยกระแสที่เรียกว่า “การถ่ายโอนอานาจอย่างไม่เป็นทางการ” ซึ่งการถ่ายโอนอานาจอย่าง
ไม่เป็นทางการเกิดจากการที่ประสิทธิภาพในการจัดการปัญหาของรัฐบาลกลางเองลดลง รวมทั้ง
ข้อจากัดด้านงบประมาณ เมืองและมหานครต่างๆจึงต้องลุกขึ้นมาสวมบทบาทแก้ไขปัญหาและคิด
สร้างนวัตกรรมพัฒนาเมืองของตนด้วยตนเองไปโดยปริยาย
4
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
การบริหารเมืองต่างๆแบบรวมศูนย์ โดยการบังคับใช้นโยบายเดียวจากส่วนกลางกับพื้นที่ต่างๆ
ที่มีความแตกต่างกันทั่วทั้งประเทศ กาลังกลายเป็นสิ่งที่ล้าหลังอย่างมากและนับวันจะยิ่งเป็นอดีต
สาหรับแนวทางการพัฒนาเมืองของศตวรรษที่ 21 เพราะในยุคนี้การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
จึงต้องการการจัดการที่รวดเร็วด้วยนโยบายการพัฒนาที่วางแผนมาโดยเฉพาะสาหรับแต่ละเมืองแต่ละ
พื้นที่ รวมทั้งต้องใช้วิธีการแก้ปัญหาแบบองค์รวม บูรณาการความเชี่ยวชาญ ประสิทธิภาพ และ
ทรัพยากรของภาครัฐ เอกชน และประชาสังคมในแต่ละพื้นที่เข้ามาใช้ร่วมกันเพื่อขับเคลื่อนเมืองไป
ข้างหน้า
การรวมตัวของเครือข่ายทั้งสามภาคส่วนนี้ช่วยให้เมืองสามารถคิดค้นนวัตกรรมที่หลากหลายใน
การจัดการกับความท้าทายใหม่ๆในทุกวันนี้ โดยการสร้าง 1) เครื่องมือใหม่ๆ เช่น ใช้เครื่องมือทาง
การเงินดึงดูดทุนไปสู่กิจกรรมการพัฒนาเมืองแบบที่ยั่งยืนและเปิดกว้างให้คนหลากหลายในสังคม
2) หน่วยงานตัวกลางที่เกิดขึ้นเพื่อรวมภาคส่วนต่างๆของสังคมเข้าด้วยกัน ในการทางานเพื่อ
สาธารณะของเมือง เช่น Texas Medical Center ในเมืองฮูสตัน สหรัฐอเมริกา เป็นสถาบันที่ทาหน้าที่
เป็นตัวเชื่อมระหว่างมหาวิทยาลัยกับโรงพยาบาล เพื่อร่วมกันพัฒนาการวิจัยนวัตกรรมใหม่ๆ 3) พบว่า
หลายเมืองในปัจจุบันกาลัง สร้างองค์กรรูปแบบใหม่ๆที่ทางานสาธารณะ ขึ้นมาเพื่อความยืดหยุ่นมาก
ขึ้นในการทางาน เช่น สถาบันที่ทางานสาธารณะเฉพาะทาง เฉพาะด้าน สถาบันกึ่งสาธารณะ และ
องค์กรภาคพลเมือง ตัวอย่างเช่น เทศบาลเมืองฮัมบวร์ก ในเยอรมนี ตั้งบริษัทชื่อ HafenCity Hamburg
GmbH เพื่อปรับปรุงและพัฒนาพื้นที่ย่านท่าเรือและเขตโรงงานเก่าของเมือง ในฐานะส่วนหนึ่งของ
โครงการฟื้นฟูเขตเมืองชั้นในที่ใหญ่ที่สุดของยุโรป ส่วนเทศบาลเมืองโคเปนเฮเกนกับรัฐบาลชาติของ
เดนมาร์กก็ร่วมกันจัดตั้งบริษัทร่วมทุนชื่อ CPH City and Port Development เพื่อพัฒนาพื้นที่ริมแม่น้า
การขับเคลื่อนเมืองด้วยเครือข่ายสามขา รัฐ-เอกชน-ประชาสังคมในพื้นที่แบบนี้จะเป็นแนว
ทางการบริหารในอนาคตของเมืองในการจัดการปัญหาและความท้าทายในพื้นที่ของตนโดยไม่ต้องนั่ง
รอคาสั่งหรือนโยบายจากส่วนกลางอีกต่อไป โดยตัวอย่างของวาระสาคัญในการพัฒนาเมืองนั้นอยู่ที่
ประเด็นเรื่อง การสร้างคน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในแบบที่ยั่งยืน การใช้พลังงานสะอาดและการ
หาวิธีใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงประเด็นของการดึงเทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้ามาเป็น
เครื่องมือสาคัญของการพัฒนาเมือง เป็นต้น
5
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ดังนั้น แม้ว่ารัฐบาลกลางจะยังคงจาเป็นในบทบาทสาคัญหลายๆอย่าง เช่น การต่างประเทศ
การระดมทุนวิจัยขั้นพื้นฐาน และใช้ประโยชน์จากการลงทุนของภาคเอกชนในโครงสร้างพื้นฐานขนาด
ใหญ่ แต่ถึงอย่างนั้น การกาหนดนโยบายแบบรวมศูนย์และการปฏิบัติงานจากส่วนกลางเพียงอย่าง
เดียวไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกในศตวรรษที่ 21 นี้ เมื่อรัฐบาลกลางไม่สามารถ
ตามโลกได้ทัน ต้องตระหนักไว้ว่า โลกใบนี้เปลี่ยนแปลงจากล่างขึ้นบนด้วยเช่นกัน ซึ่งการเปลี่ยนแปลง
นี้ขับเคลื่อนโดยกลุ่มเครือข่ายต่างๆที่สร้างนวัตกรรมใหม่ๆในเมืองและมหานคร หรืออีกนัยหนึ่ง คือ
เมืองและมหานครเป็นตัวขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงประเทศนั่นเอง
เอกสารอ้างอิง
Bruce Katz. Devolution for an urban age: City power and problem-solving. Brookings.
ออนไลน์ http://www.brookings.edu/blogs/metropolitan-revolution/posts/2016/03/25-city-
power-problem-solving-katz
6
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย
 CHINESE ACADEMY OF SOCIAL SCIENCES (CASS)
เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย
 CHINESE ACADEMY OF SOCIAL SCIENCES (CASS)
Big Data Economy: อัศวินขี่ม้าขาวของเศรษฐกิจจีน?
ภาพจาก http://english.cssn.cn/research/economics/201603/t20160317_2927612.shtml
ในรายงานวิจัยเรื่อง Seismic effect of big data ushers in new economic cycle
Cai Yuezhou นักวิจัยของ Institute of Quantitative and Technical Economics, Chinese
Academy of Social Sciences (CASS) ประเทศจีน อ้างว่า เทคโนโลยี Big Data จะเป็น “จักรกลตัว
ใหม่” ของเศรษฐกิจจีนในยุค New Normal ที่เศรษฐกิจแบบดั้งเดิมในยุคสามสิบกว่าปีที่ผ่านมาของจีน
ที่มีฐานอยู่ที่การผลิตแบบ Mass production กาลังมาถึงจุดอิ่มตัว ตัวแบบเศรษฐกิจอันใหม่ที่อยู่บน
ฐานการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี Big Data นี้จะเป็นคาตอบสาหรับการพัฒนาเศรษฐกิจของจีนใน
ระยะต่อไป เพื่อให้จีนหนีพ้นจากการ “ลื่นไถล” ลงสู่กับดักของประเทศรายได้ปานกลาง
นักวิจัยจาก CASS เรียก Big Data ว่าเป็นการปฏิวัติทางเทคโนโลยีครั้งที่ 6 ของมนุษยชาติ
โดยใช้กรอบการมองแบบวัตถุนิยมประวัติศาสตร์ (historical Materialism) ของสานัก Marxism ซึ่งเชื่อ
ว่าประวัติศาสตร์ของมนุษย์เปลี่ยนแปลงได้เมื่อเกิดนวัตกรรมใหม่ เทคโนโลยีใหม่ๆ นามาซึ่งการ
เปลี่ยนแปลงวิถีการผลิต รูปแบบและโครงสร้างของระบบเศรษฐกิจไปอย่างสิ้นเชิง ซึ่งการปฏิวัติครั้ง
7
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
แรกๆ นั้นย้อนไปตั้งแต่การประดิษฐ์เครื่องจักรไอน้าและรถไฟ มาสู่ประดิษฐ์ไฟฟ้าและการผลิตแบบ
สายพานขนาดใหญ่ มาจนถึงการปรากฏตัวของ “เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์” จากการประดิษฐ์ตัว
ประมวลผลแบบ 40 บิต ของ Intel 4004 ในปี 1971 ซึ่งทาให้คอมพิวเตอร์แพร่หลายกลายเป็นของ
ปกติสาหรับทุกคนและเป็นปัจจัยการผลิตที่ขาดไม่ได้ นั่นคือ การปฏิวัติเทคโนโลยีครั้งที่ 5
ส่วนการปฏิวัติเทคโนโลยีครั้งที่ 6 ที่เรียกว่าการปฏิวัติ Big Data นี้ นักวิจัยจาก CASS ได้
อธิบายไว้คร่าวๆว่า มีองค์ประกอบหลักอยู่ 3 ประการ ได้แก่ 1) ปรากฏการณ์ที่แทบทุกอย่างใน
ปัจจุบันขึ้นไปอยู่บน เชื่อมโยงกับ หรือเข้าถึงได้ผ่านอินเทอร์เน็ต ที่เรียกกันว่า Internet of Things
2) Cloud Computing หรือการจัดการข้อมูลผ่านตัวกลางที่เสมือน “ลอยอยู่ในอากาศ” เช่น iCloud,
iTunes, Google Drive เป็นต้น และ 3) การแพร่หลายของเทคโนโลยี Big Data ซึ่งนักวิจัยจาก
CASS ได้อธิบายไว้ว่า คือ เทคโนโลยีที่ทาให้สามารถเก็บสะสม จัดระเบียบ ประมวลผล และ
ตอบสนองหรือตีความหมายชุดข้อมูลขนาดมหาศาลในเวลารวดเร็วอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน
องค์ประกอบทั้งสามประกอบกันเป็นคุณลักษณะสาคัญของการปฎิวัติ Big Data ซึ่งจะช่วย
ปรับเปลี่ยนห่วงโซ่การผลิต ด้วยการลดต้นทุนของปัจจัยการผลิตทั้งทุนและแรงงาน และเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการผลิตของเศรษฐกิจจีน นับตั้งแต่ปี 2012 เป็นต้นมา พบการเติบโตของ
ผู้ประกอบการของจีนที่จัดอยู่ในธุรกิจที่ใช้ Big Data อย่างเช่น Alibaba
นักวิจัยของ CASS ทิ้งท้ายว่า ตัวแบบของ Big Data Economy จะเป็นสิ่งที่สามารถนาพา
เศรษฐกิจจีนให้ก้าวหน้าขึ้นไปสู่อีกระดับของการพัฒนา ไม่ใช่ชะลอตัวหรือตกลง ซึ่งฟังดูแล้วชวนให้
นึกถึง Digital Economy ที่รัฐบาลไทยกาลังพูดถึงอยู่ในเวลานี้ แต่ต้องศึกษาให้ดีว่า Digital Econo-
my กับ Big Data Economy นั้นเป็นเรื่องเดียวกันหรือไม่
เอกสารอ้างอิง
Cai Yuezhou. Seismic effect of big data ushers in new economic cycle. Chinese Social
Science Net (Sponsored by CASS). ออนไลน์: http://english.cssn.cn/research/
economics/201603/t20160317_2927612.shtml
8
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในประเทศไทย
 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT
เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย
สถาบันคลังปัญญาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
กับนักวิจัยจาก CASS ประเทศจีน
เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2559 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้จัดเวทีแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นและหาแนวทางสร้างความร่วมมือทางวิชาการกับนักวิชาการจากสถาบันวิจัยของจีน
โดยได้รับเกียรติจาก ผศ.ดร. Zhou Fangye จากภาควิชารัฐศาสตร์ National Institute of Interna-
tional Strategy, Chinese Academy of Social Sciences (NIIS, CASS) สถาบันคลังปัญญา (Think
Tank) ด้านสังคมศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดของประเทศจีน
ในโอกาสนี้ ผศ.ดร. Zhou Fangye ได้แลกเปลี่ยนความรู้กับสถาบันคลังปัญญาใน
หลากหลายหัวข้อ เช่น โครงสร้างองค์กรของ CASS โอกาสและความท้าทายในระบบการศึกษา
ระบบมหาวิทยาลัยและสถาบันคลังปัญญาในประเทศจีนรวมทั้งความก้าวหน้าและความท้าทายของ
การพัฒนาประเทศของจีนในปัจจุบัน โดยเฉพาะในด้านเศรษฐกิจ นวัตกรรมและเทคโนโลยี
9
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ในตอนหนึ่ง ดร. Zhou กล่าวถึงความท้าทายประการหนึ่งของรัฐบาลจีนในการจัดการ
เศรษฐกิจ นั่นคือคาถามที่ว่า จีนมาถูกทางแล้วหรือไม่ กับการเลือกลงทุนมหาศาลในอุตสาหกรรม
พลังงานทางเลือก? โดยเฉพาะอย่างยิ่งพลังงานจากแสงอาทิตย์ ซึ่งภายหลังรับการถ่ายทอด
เทคโนโลยีดังกล่าวจากเยอรมนี เมื่อหลายสิบปีก่อน ปัจจุบันจีนเป็นผู้ผลิตแผงโซลาร์เซลล์ส่งออก
รายใหญ่ที่สุดของโลก แต่จากภาวะราคาน้ามันโลกราคาตกลงมากจากที่เคยอยู่ในระดับ 100 USD
ต่อบาร์เรลเมื่อสองสามปีที่แล้ว ปัจจุบันตกไปอยู่ที่ราว 30 USD ต่อบาร์เรลเท่านั้น ทาให้ต้นทุนของ
พลังงานทางเลือกเมื่อเทียบกับราคาน้ามันนั้นสูงขึ้นอย่างมาก จึงน่าดึงดูดน้อยลงสาหรับ
ผู้ประกอบการที่จะซื้อโซลาร์เซลล์ไปใช้ ทุกวันนี้อุตสาหกรรมโซลาร์เซลล์ของจีนจึงอยู่ในภาวะ
ขาดทุนต่อเนื่องอย่างหนัก อยู่ได้ด้วยการอุ้มจากรัฐบาล ทุกวันนี้รัฐบาลจีนจึงต้องเผชิญกับการ
ตัดสินใจที่ยากยิ่งว่าจีนจะยังคงทุ่มเททรัพยากรเพื่อประคับประคองอุตสาหกรรมพลังงานทางเลือก
ขนาดใหญ่ของตนไปก่อน ซึ่งก็ไม่รู้ว่าจะต้องอุ้มไปอีกนานแค่ไหน แต่หากจะล้มเลิก เพื่อเอาเงินไป
พัฒนาหรือช่วยเหลือวงการอื่นๆ ธุรกิจพลังงานทางเลือกของจีนก็จะต้องล้มละลาย และหากล้มใน
ครั้งนี้ก็ยากที่จะฟื้นกลับมาได้อีก เท่ากับว่าการเลือกทางเดินเรียนรู้และพัฒนาเทคโนโลยีด้าน
พลังงานทางเลือกหลายสิบปีที่ผ่านมาของจีนก็จะสูญเปล่า ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นเพียงปัญหาที่จีนต้อง
ตัดสินใจในวงการหนึ่งเท่านั้น เรื่องนี้จึงสะท้อนให้เห็นถึงภาระอันยากเย็นที่รัฐบาลจีนกาลังประสบอยู่
ภายในซึ่งไม่ค่อยเป็นที่รับรู้กันภายนอก เป็นตัวอย่างของความท้าทายที่ประเทศมหาอานาจที่กาลัง
จะก้าวขึ้นมาเป็นเบอร์หนึ่งของโลกต้องเผชิญ
สาหรับ Chinese Academy of Social Sciences นั้น มีสานักงานใหญ่ที่กรุงปักกิ่ง และมี
สาขาย่อยตามมณฑลต่างๆ มีนักวิจัยจานวนหลายพันคน เป็นสถาบันวิจัยที่ขึ้นกับรัฐบาลจีน ได้รับ
การสนับสนุนทุนวิจัยทั้งหมดจากกระทรวงการคลังของจีน แต่เป็นหน่วยงานแยกที่ค่อนข้างมีอิสระ
ในการเลือกหัวข้อวิจัย โดยมีสาขาวิจัยหลากหลาย ครอบคลุมสังคมศาสตร์ทั้งหมด โดยแบ่งออกเป็น
4 สาขาใหญ่คือ 1) ปรัชญา ประวัติศาสตร์ และภาษาศาสตร์ 2) รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ พฤติกรรม
ศาสตร์ 3) เศรษฐศาสตร์ 4) ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ โดยในปัจจุบัน หน่วยงานฝ่ายไทยที่มี
กรอบความร่วมมือทางวิชาการกับ CASS อยู่คือสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
10
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
เรียบเรียง: นางสาวจุฑามาศ พูลสวัสดิ์
นางสาวปลายฟ้า บุนนาค
นายปาณัท ทองพ่วง
ปีที่เผยแพร่: เมษายน 2559
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว
เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064

Más contenido relacionado

Destacado

การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...Klangpanya
 
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559Klangpanya
 
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559Klangpanya
 
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทยKlangpanya
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559Klangpanya
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่Klangpanya
 
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์Klangpanya
 
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560Klangpanya
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559Klangpanya
 
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยบทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยKlangpanya
 
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลกKlangpanya
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560Klangpanya
 
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกบทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกKlangpanya
 
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตKlangpanya
 

Destacado (17)

การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
 
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
 
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
 
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
 
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
 
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
 
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
 
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยบทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
 
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
 
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกบทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
 
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
 

Similar a World Think Tank Monitors l เมษายน 2559

9789740333579
97897403335799789740333579
9789740333579CUPress
 
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทยความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทยKlangpanya
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1Taraya Srivilas
 
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบweeraboon wisartsakul
 
Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654Gritiga Soonthorn
 
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยLeoBlack1017
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...FURD_RSU
 
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศการระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศFURD_RSU
 
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนKlangpanya
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารmontiya2530
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารwasamon2531
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศKlangpanya
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางUSMAN WAJI
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางKlangpanya
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2Pisan Chueachatchai
 
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558 World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558 Klangpanya
 

Similar a World Think Tank Monitors l เมษายน 2559 (20)

9789740333579
97897403335799789740333579
9789740333579
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทยความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
ความคิดสร้างสรรค์จากการรวมกลุ่ม : บทเรียนเพื่อการพัฒนาสังคมไทย
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
 
Japan reading policy
Japan reading policyJapan reading policy
Japan reading policy
 
Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654
 
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
 
MOT Roadshow
MOT RoadshowMOT Roadshow
MOT Roadshow
 
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของคนเมือง: หลักคิด การวิเคราะห์เชิงระบบ และแนวทาง...
 
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศการระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
การระดมสมอง เรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏฺิรูปประเทศ
 
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
 
RSU-SE3
RSU-SE3RSU-SE3
RSU-SE3
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558 World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
 

Más de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Más de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

World Think Tank Monitors l เมษายน 2559

  • 1. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต มีนาคม 2559 l ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 การถ่ายโอนอานาจ ในยุคแห่ง “ เมือง ” ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 เมษายน 2559
  • 2. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต บทบรรณาธิการ สวัสดีปีใหม่ 2559 ค่ะท่านผู้อ่านทุกท่าน ในวันที่ 13 เมษายนนี้ คนไทยและเมืองไทยของเรา ได้ก้าวเข้าสู่ปีใหม่อย่างเต็มตัว เป็นโอกาสดีที่จะเริ่มต้นทาอะไรใหม่ๆ เปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆให้ดีขึ้น ตามความสามารถและโอกาสที่เราจะทาได้ ซึ่งถ้าหากเป็นคนแล้วก็ต้องวางแผน วางเป้าหมายกัน ประมาณหนึ่ง และถ้าหากเป็นชาติก็ต้องมียุทธศาสตร์เช่นกัน เพื่อการก้าวเดินไปข้างหน้าอย่างเป็น ระบบ และบรรลุเป้าหมายตามที่วางไว้ และในการวางยุทธศาสตร์ของประเทศการดูตัวอย่างจาก ประเทศอื่นก็เป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง World Think Tank Monitors ฉบับเมษายนนี้ ยังคงเกาะติดความเคลื่อนไหวของสถาบันคลัง ปัญญาชั้นนาทั้งฝั่งตะวันตกอย่าง Chatham House ของอังกฤษ Brookings ของอเมริกา และ ตะวันออกอย่าง Chinese Academy of Social Sciences (CASS) สถาบันคลังปัญญาด้าน สังคมศาสตร์อันดับหนึ่งของประเทศจีน ซึ่งเมื่อวันที่ 11 เมษายน ที่ผ่านมา นักวิจัยจาก CASS ก็ ได้มาเยี่ยมสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติของเรา และได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความเห็นกันทั้ง ในเรื่องการสร้างความร่วมมือทางวิชาการในอนาคต กับทั้งแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนและ ประเทศต่างๆด้วย เชิญเข้าสู่เนื้อหาได้เลยค่ะ ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
  • 3. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สารบัญ หน้า บทบรรณาธิการ ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคยุโรป  CHATHAM HOUSE ความท้าทายด้านการจัดการสุขภาวะ : กรณีวิกฤตผู้ลี้ภัย 1 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา  BROOKINGS การถ่ายโอนอานาจในยุคแห่ง “เมือง” : พลังของเมืองกับการแก้ปัญหา 3 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย  CHINESE ACADEMY OF SOCIAL SCIENCES Big Data Economy: อัศวินขี่ม้าขาวของเศรษฐกิจจีน? 6 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในประเทศไทย  สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT สถาบันคลังปัญญาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักวิจัยจากCASS ประเทศจีน 8
  • 4. 1 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคยุโรป CHATHAM HOUSE เรียบเรียงโดย จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ช่วยนักวิจัย CHATHAM HOUSE การเผชิญหน้ากับความท้าทายด้านการจัดการสุขภาวะ : กรณีวิกฤตผู้ลี้ภัย ภาพจาก soschilderensvillages.com ในช่วง 2 – 3 ปีที่ผ่านมา วิกฤตผู้อพยพลี้ภัยได้กลายเป็นปัญหาสาคัญที่ส่งผลกระทบระดับโลก ในหลายด้าน ข้อมูลจาก Chatham House พบว่า มีประชากรผู้พลัดถิ่นทั่วโลกมากถึง 60 ล้านคน ซึ่ง ในจานวนนี้ 86% พานักอยู่ในประเทศกาลังพัฒนาและมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับต่า แต่ปัจจุบันผู้อพยพ เหล่านี้เริ่มหลั่งไหลเข้าสู่ประเทศพัฒนาแล้วมากขึ้นจนก่อให้เกิดผลกระทบต่อความมั่นคงด้านสุขภาพที่ ทุกฝ่ายต้องหันมาพิจารณาอย่างจริงจัง ปัญหาที่เป็นความท้าทายในการจัดการด้านสุขภาวะของผู้อพยพ ปัญหาสาคัญที่พบในกรณีดังกล่าว คือ การขาดการประสานเชื่อมโยงระหว่างระบบการย้ายถิ่น ของผู้อพยพกับระบบการเฝ้าระวังโรคติดต่อ การหลั่งไหลเข้ามาของประชากรต่างถิ่นจึงอาจมาพร้อม กับความเสี่ยงด้านสุขภาพได้ อย่างไรก็ตาม การลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในหมู่ผู้ อพยพก็เป็นเรื่องที่จัดการได้ไม่ยากนัก ซึ่งอาจทาได้โดยการฉีดวัคซีนป้องกันโรคให้แก่ผู้อพยพตั้งแต่ ระยะแรกที่เดินทางเข้าประเทศ แต่การจัดการนี้จะสาเร็จได้ต้องอาศัยบทบาทของประเทศพัฒนาแล้ว ซึ่งมีจุดแข็งในด้านการมีหน่วยงานรับผิดชอบที่เก่งและเชี่ยวชาญ ตลอดจนมีความสามารถในการ คิดค้นนวัตกรรมเพื่อตอบสนองความท้าทายด้านสุขภาวะ อีกทั้งประเทศพัฒนาแล้วยังสามารถใช้
  • 5. 2 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ประโยชน์จากศักยภาพด้านเศรษฐกิจและสังคม (Socioeconomic) ที่มีอยู่มาเสริมสร้างภารกิจด้าน สาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นได้ ทว่า ความท้าทายอีกประการที่รัฐบาลไม่ควรละเลยคือการ แพร่ระบาดของโรคติดต่อที่ไม่แสดงอาการในระยะแรก แต่จะเกิดขึ้นหลังจากผู้อพยพเข้ามาในอยู่ ประเทศนานระยะหนึ่ง เช่น วัณโรค โรคผิวหนังติดเชื้อ ฯลฯ ซึ่งงานวิจัยของประเทศอังกฤษชี้ว่ามีผู้ อพยพมากถึง 77% ที่เพิ่งถูกตรวจพบโรคภายหลังเข้ามาในประเทศนานถึง 2 ปี ประเด็นดังกล่าวนี้ จะยิ่งสร้างความเสี่ยงให้กับพื้นที่ที่มีผู้คนอาศัยอยู่หนาแน่นและมีการจัดบริการสุขภาพที่ไม่ทั่วถึง แม้บ่อยครั้งการจัดการด้านสุขภาวะอันเนื่องมาจากผู้อพยพจะถูกมองว่าเป็นภาระที่รัฐบาล ประเทศปลายทางต้องรับผิดชอบ แต่ในการจัดการก็ควรยึดมั่นไว้เสมอถึงการปฏิบัติต่อผู้อพยพใน ฐานะเพื่อนมนุษย์ที่ควรได้รับสิทธิตามที่บุคคลหนึ่งพึงมี นั่นคือได้รับการตรวจรักษาสุขภาพตาม หลักเกณฑ์ที่องค์การอนามัยโลกแนะนา และผลการวินิจฉัยใดๆ จะต้องไม่ถูกนามาเป็นข้ออ้างในการ ผลักดันหรือกีดกันผู้อพยพออกนอกประเทศ ซึ่งปัญหาสาคัญที่เกิดขึ้นในขณะนี้คือการให้ความ ช่วยเหลือผู้อพยพตามแนวทางดังกล่าวกลับไม่ได้รับความร่วมมือจากประเทศต่างๆ มากเท่าที่ควร แนวทางการบรรเทาปัญหา แนวทางสาคัญในการบรรเทาความรุนแรงของปัญหาความไม่เท่าเทียมในการรับการดูแลด้าน สาธารณสุขของผู้อพยพที่เป็นไปได้ที่สุดควรเริ่มจากการกาหนดนโยบายที่เป็นรูปธรรมประกอบกับ การร่วมมือกันอย่างจริงจังของประเทศต่างๆ ภายใต้กรอบการสร้างความมั่นคงด้านสุขภาพร่วมกัน โดยในเบื้องต้น สภาพยุโรปได้อนุมัติงบประมาณกว่า 1.8 พันล้านยูโรในการพัฒนาเศรษฐกิจและ เพิ่มการจ้างงาน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให้แก่ประเทศในแอฟริกาโดยมีความหวังใน การลดอัตราผู้อพยพออกนอกประเทศซึ่งถือเป็นการแก้ปัญหาตั้งแต่ต้นทาง แต่ทั้งนี้สาหรับการ แก้ปัญหาที่ปลายทางรัฐบาลของประเทศที่ให้การพักพิงแก่ผู้อพยพจะต้องสร้างมาตรฐานที่เหมาะสม ในการให้บริการด้านสุขภาพบนพื้นฐานของการยอมรับความหลากหลายและการเคารพสิทธิ มนุษยชน เอกสารอ้างอิง Abbas Omaar, Osman Dar and Professor Ali Zumla. Facing the Health Challenges of the Global Refugee Crisis. Chathum House. ออนไลน์:https://www.chathamhouse.org/ expert/comment/facing-health-challenges-global-refugee-crisis
  • 6. 3 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา Brookings เรียบเรียงโดย ปลายฟ้ า บุนนาค ผู้ช่วยนักวิจัย       BROOKINGS การถ่ายโอนอานาจในยุคแห่ง “เมือง” : พลังของเมืองกับการแก้ปัญหา ภาพจาก https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/d/de/Houston_night.jpg Bruce Katz นักวิจัยจากสถาบัน Brookings ได้เขียนหนังสือร่วมกับ Jennifer Bradley เรื่อง The Metropolitan Revolution เกี่ยวกับเรื่องของการที่ผู้นามหานครต่างๆเป็นตัวนาการเปลี่ยนแปลง รูปแบบเศรษฐกิจและแก้ไขระบบการเมืองที่เสื่อมโทรม ครั้งนี้ Bruce Katz ได้เขียนบทความเรื่อง Devolution for an urban age: City power and problem-solving ไว้อย่างน่าสนใจ สรุปได้ดังนี้ ในศตวรรษที่ 21 เมืองขึ้นมามีบทบาทอย่างมากในการขับเคลื่อนประเทศ ผู้นาท้องถิ่นมี บทบาทสาคัญมากในการแก้ไขปัญหาต่างๆ โดยร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับกลุ่มทุน บริษัทชั้นนาระดับ โลกและผู้นาระดับชาติ การถ่ายโอนอานาจตามความเข้าใจดั้งเดิมคือ การที่รัฐบาลแบ่งอานาจและความรับผิดชอบมา ให้แก่ท้องถิ่นอย่างเป็นทางการ แต่การถ่ายโอนอานาจอย่างเป็นทางการดังกล่าว ปัจจุบันกาลังถูก แซงหน้าด้วยกระแสที่เรียกว่า “การถ่ายโอนอานาจอย่างไม่เป็นทางการ” ซึ่งการถ่ายโอนอานาจอย่าง ไม่เป็นทางการเกิดจากการที่ประสิทธิภาพในการจัดการปัญหาของรัฐบาลกลางเองลดลง รวมทั้ง ข้อจากัดด้านงบประมาณ เมืองและมหานครต่างๆจึงต้องลุกขึ้นมาสวมบทบาทแก้ไขปัญหาและคิด สร้างนวัตกรรมพัฒนาเมืองของตนด้วยตนเองไปโดยปริยาย
  • 7. 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต การบริหารเมืองต่างๆแบบรวมศูนย์ โดยการบังคับใช้นโยบายเดียวจากส่วนกลางกับพื้นที่ต่างๆ ที่มีความแตกต่างกันทั่วทั้งประเทศ กาลังกลายเป็นสิ่งที่ล้าหลังอย่างมากและนับวันจะยิ่งเป็นอดีต สาหรับแนวทางการพัฒนาเมืองของศตวรรษที่ 21 เพราะในยุคนี้การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงต้องการการจัดการที่รวดเร็วด้วยนโยบายการพัฒนาที่วางแผนมาโดยเฉพาะสาหรับแต่ละเมืองแต่ละ พื้นที่ รวมทั้งต้องใช้วิธีการแก้ปัญหาแบบองค์รวม บูรณาการความเชี่ยวชาญ ประสิทธิภาพ และ ทรัพยากรของภาครัฐ เอกชน และประชาสังคมในแต่ละพื้นที่เข้ามาใช้ร่วมกันเพื่อขับเคลื่อนเมืองไป ข้างหน้า การรวมตัวของเครือข่ายทั้งสามภาคส่วนนี้ช่วยให้เมืองสามารถคิดค้นนวัตกรรมที่หลากหลายใน การจัดการกับความท้าทายใหม่ๆในทุกวันนี้ โดยการสร้าง 1) เครื่องมือใหม่ๆ เช่น ใช้เครื่องมือทาง การเงินดึงดูดทุนไปสู่กิจกรรมการพัฒนาเมืองแบบที่ยั่งยืนและเปิดกว้างให้คนหลากหลายในสังคม 2) หน่วยงานตัวกลางที่เกิดขึ้นเพื่อรวมภาคส่วนต่างๆของสังคมเข้าด้วยกัน ในการทางานเพื่อ สาธารณะของเมือง เช่น Texas Medical Center ในเมืองฮูสตัน สหรัฐอเมริกา เป็นสถาบันที่ทาหน้าที่ เป็นตัวเชื่อมระหว่างมหาวิทยาลัยกับโรงพยาบาล เพื่อร่วมกันพัฒนาการวิจัยนวัตกรรมใหม่ๆ 3) พบว่า หลายเมืองในปัจจุบันกาลัง สร้างองค์กรรูปแบบใหม่ๆที่ทางานสาธารณะ ขึ้นมาเพื่อความยืดหยุ่นมาก ขึ้นในการทางาน เช่น สถาบันที่ทางานสาธารณะเฉพาะทาง เฉพาะด้าน สถาบันกึ่งสาธารณะ และ องค์กรภาคพลเมือง ตัวอย่างเช่น เทศบาลเมืองฮัมบวร์ก ในเยอรมนี ตั้งบริษัทชื่อ HafenCity Hamburg GmbH เพื่อปรับปรุงและพัฒนาพื้นที่ย่านท่าเรือและเขตโรงงานเก่าของเมือง ในฐานะส่วนหนึ่งของ โครงการฟื้นฟูเขตเมืองชั้นในที่ใหญ่ที่สุดของยุโรป ส่วนเทศบาลเมืองโคเปนเฮเกนกับรัฐบาลชาติของ เดนมาร์กก็ร่วมกันจัดตั้งบริษัทร่วมทุนชื่อ CPH City and Port Development เพื่อพัฒนาพื้นที่ริมแม่น้า การขับเคลื่อนเมืองด้วยเครือข่ายสามขา รัฐ-เอกชน-ประชาสังคมในพื้นที่แบบนี้จะเป็นแนว ทางการบริหารในอนาคตของเมืองในการจัดการปัญหาและความท้าทายในพื้นที่ของตนโดยไม่ต้องนั่ง รอคาสั่งหรือนโยบายจากส่วนกลางอีกต่อไป โดยตัวอย่างของวาระสาคัญในการพัฒนาเมืองนั้นอยู่ที่ ประเด็นเรื่อง การสร้างคน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในแบบที่ยั่งยืน การใช้พลังงานสะอาดและการ หาวิธีใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงประเด็นของการดึงเทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้ามาเป็น เครื่องมือสาคัญของการพัฒนาเมือง เป็นต้น
  • 8. 5 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ดังนั้น แม้ว่ารัฐบาลกลางจะยังคงจาเป็นในบทบาทสาคัญหลายๆอย่าง เช่น การต่างประเทศ การระดมทุนวิจัยขั้นพื้นฐาน และใช้ประโยชน์จากการลงทุนของภาคเอกชนในโครงสร้างพื้นฐานขนาด ใหญ่ แต่ถึงอย่างนั้น การกาหนดนโยบายแบบรวมศูนย์และการปฏิบัติงานจากส่วนกลางเพียงอย่าง เดียวไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกในศตวรรษที่ 21 นี้ เมื่อรัฐบาลกลางไม่สามารถ ตามโลกได้ทัน ต้องตระหนักไว้ว่า โลกใบนี้เปลี่ยนแปลงจากล่างขึ้นบนด้วยเช่นกัน ซึ่งการเปลี่ยนแปลง นี้ขับเคลื่อนโดยกลุ่มเครือข่ายต่างๆที่สร้างนวัตกรรมใหม่ๆในเมืองและมหานคร หรืออีกนัยหนึ่ง คือ เมืองและมหานครเป็นตัวขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงประเทศนั่นเอง เอกสารอ้างอิง Bruce Katz. Devolution for an urban age: City power and problem-solving. Brookings. ออนไลน์ http://www.brookings.edu/blogs/metropolitan-revolution/posts/2016/03/25-city- power-problem-solving-katz
  • 9. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย  CHINESE ACADEMY OF SOCIAL SCIENCES (CASS) เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย  CHINESE ACADEMY OF SOCIAL SCIENCES (CASS) Big Data Economy: อัศวินขี่ม้าขาวของเศรษฐกิจจีน? ภาพจาก http://english.cssn.cn/research/economics/201603/t20160317_2927612.shtml ในรายงานวิจัยเรื่อง Seismic effect of big data ushers in new economic cycle Cai Yuezhou นักวิจัยของ Institute of Quantitative and Technical Economics, Chinese Academy of Social Sciences (CASS) ประเทศจีน อ้างว่า เทคโนโลยี Big Data จะเป็น “จักรกลตัว ใหม่” ของเศรษฐกิจจีนในยุค New Normal ที่เศรษฐกิจแบบดั้งเดิมในยุคสามสิบกว่าปีที่ผ่านมาของจีน ที่มีฐานอยู่ที่การผลิตแบบ Mass production กาลังมาถึงจุดอิ่มตัว ตัวแบบเศรษฐกิจอันใหม่ที่อยู่บน ฐานการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี Big Data นี้จะเป็นคาตอบสาหรับการพัฒนาเศรษฐกิจของจีนใน ระยะต่อไป เพื่อให้จีนหนีพ้นจากการ “ลื่นไถล” ลงสู่กับดักของประเทศรายได้ปานกลาง นักวิจัยจาก CASS เรียก Big Data ว่าเป็นการปฏิวัติทางเทคโนโลยีครั้งที่ 6 ของมนุษยชาติ โดยใช้กรอบการมองแบบวัตถุนิยมประวัติศาสตร์ (historical Materialism) ของสานัก Marxism ซึ่งเชื่อ ว่าประวัติศาสตร์ของมนุษย์เปลี่ยนแปลงได้เมื่อเกิดนวัตกรรมใหม่ เทคโนโลยีใหม่ๆ นามาซึ่งการ เปลี่ยนแปลงวิถีการผลิต รูปแบบและโครงสร้างของระบบเศรษฐกิจไปอย่างสิ้นเชิง ซึ่งการปฏิวัติครั้ง
  • 10. 7 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต แรกๆ นั้นย้อนไปตั้งแต่การประดิษฐ์เครื่องจักรไอน้าและรถไฟ มาสู่ประดิษฐ์ไฟฟ้าและการผลิตแบบ สายพานขนาดใหญ่ มาจนถึงการปรากฏตัวของ “เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์” จากการประดิษฐ์ตัว ประมวลผลแบบ 40 บิต ของ Intel 4004 ในปี 1971 ซึ่งทาให้คอมพิวเตอร์แพร่หลายกลายเป็นของ ปกติสาหรับทุกคนและเป็นปัจจัยการผลิตที่ขาดไม่ได้ นั่นคือ การปฏิวัติเทคโนโลยีครั้งที่ 5 ส่วนการปฏิวัติเทคโนโลยีครั้งที่ 6 ที่เรียกว่าการปฏิวัติ Big Data นี้ นักวิจัยจาก CASS ได้ อธิบายไว้คร่าวๆว่า มีองค์ประกอบหลักอยู่ 3 ประการ ได้แก่ 1) ปรากฏการณ์ที่แทบทุกอย่างใน ปัจจุบันขึ้นไปอยู่บน เชื่อมโยงกับ หรือเข้าถึงได้ผ่านอินเทอร์เน็ต ที่เรียกกันว่า Internet of Things 2) Cloud Computing หรือการจัดการข้อมูลผ่านตัวกลางที่เสมือน “ลอยอยู่ในอากาศ” เช่น iCloud, iTunes, Google Drive เป็นต้น และ 3) การแพร่หลายของเทคโนโลยี Big Data ซึ่งนักวิจัยจาก CASS ได้อธิบายไว้ว่า คือ เทคโนโลยีที่ทาให้สามารถเก็บสะสม จัดระเบียบ ประมวลผล และ ตอบสนองหรือตีความหมายชุดข้อมูลขนาดมหาศาลในเวลารวดเร็วอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน องค์ประกอบทั้งสามประกอบกันเป็นคุณลักษณะสาคัญของการปฎิวัติ Big Data ซึ่งจะช่วย ปรับเปลี่ยนห่วงโซ่การผลิต ด้วยการลดต้นทุนของปัจจัยการผลิตทั้งทุนและแรงงาน และเพิ่ม ประสิทธิภาพในการผลิตของเศรษฐกิจจีน นับตั้งแต่ปี 2012 เป็นต้นมา พบการเติบโตของ ผู้ประกอบการของจีนที่จัดอยู่ในธุรกิจที่ใช้ Big Data อย่างเช่น Alibaba นักวิจัยของ CASS ทิ้งท้ายว่า ตัวแบบของ Big Data Economy จะเป็นสิ่งที่สามารถนาพา เศรษฐกิจจีนให้ก้าวหน้าขึ้นไปสู่อีกระดับของการพัฒนา ไม่ใช่ชะลอตัวหรือตกลง ซึ่งฟังดูแล้วชวนให้ นึกถึง Digital Economy ที่รัฐบาลไทยกาลังพูดถึงอยู่ในเวลานี้ แต่ต้องศึกษาให้ดีว่า Digital Econo- my กับ Big Data Economy นั้นเป็นเรื่องเดียวกันหรือไม่ เอกสารอ้างอิง Cai Yuezhou. Seismic effect of big data ushers in new economic cycle. Chinese Social Science Net (Sponsored by CASS). ออนไลน์: http://english.cssn.cn/research/ economics/201603/t20160317_2927612.shtml
  • 11. 8 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในประเทศไทย  สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย สถาบันคลังปัญญาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น กับนักวิจัยจาก CASS ประเทศจีน เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2559 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้จัดเวทีแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นและหาแนวทางสร้างความร่วมมือทางวิชาการกับนักวิชาการจากสถาบันวิจัยของจีน โดยได้รับเกียรติจาก ผศ.ดร. Zhou Fangye จากภาควิชารัฐศาสตร์ National Institute of Interna- tional Strategy, Chinese Academy of Social Sciences (NIIS, CASS) สถาบันคลังปัญญา (Think Tank) ด้านสังคมศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดของประเทศจีน ในโอกาสนี้ ผศ.ดร. Zhou Fangye ได้แลกเปลี่ยนความรู้กับสถาบันคลังปัญญาใน หลากหลายหัวข้อ เช่น โครงสร้างองค์กรของ CASS โอกาสและความท้าทายในระบบการศึกษา ระบบมหาวิทยาลัยและสถาบันคลังปัญญาในประเทศจีนรวมทั้งความก้าวหน้าและความท้าทายของ การพัฒนาประเทศของจีนในปัจจุบัน โดยเฉพาะในด้านเศรษฐกิจ นวัตกรรมและเทคโนโลยี
  • 12. 9 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ในตอนหนึ่ง ดร. Zhou กล่าวถึงความท้าทายประการหนึ่งของรัฐบาลจีนในการจัดการ เศรษฐกิจ นั่นคือคาถามที่ว่า จีนมาถูกทางแล้วหรือไม่ กับการเลือกลงทุนมหาศาลในอุตสาหกรรม พลังงานทางเลือก? โดยเฉพาะอย่างยิ่งพลังงานจากแสงอาทิตย์ ซึ่งภายหลังรับการถ่ายทอด เทคโนโลยีดังกล่าวจากเยอรมนี เมื่อหลายสิบปีก่อน ปัจจุบันจีนเป็นผู้ผลิตแผงโซลาร์เซลล์ส่งออก รายใหญ่ที่สุดของโลก แต่จากภาวะราคาน้ามันโลกราคาตกลงมากจากที่เคยอยู่ในระดับ 100 USD ต่อบาร์เรลเมื่อสองสามปีที่แล้ว ปัจจุบันตกไปอยู่ที่ราว 30 USD ต่อบาร์เรลเท่านั้น ทาให้ต้นทุนของ พลังงานทางเลือกเมื่อเทียบกับราคาน้ามันนั้นสูงขึ้นอย่างมาก จึงน่าดึงดูดน้อยลงสาหรับ ผู้ประกอบการที่จะซื้อโซลาร์เซลล์ไปใช้ ทุกวันนี้อุตสาหกรรมโซลาร์เซลล์ของจีนจึงอยู่ในภาวะ ขาดทุนต่อเนื่องอย่างหนัก อยู่ได้ด้วยการอุ้มจากรัฐบาล ทุกวันนี้รัฐบาลจีนจึงต้องเผชิญกับการ ตัดสินใจที่ยากยิ่งว่าจีนจะยังคงทุ่มเททรัพยากรเพื่อประคับประคองอุตสาหกรรมพลังงานทางเลือก ขนาดใหญ่ของตนไปก่อน ซึ่งก็ไม่รู้ว่าจะต้องอุ้มไปอีกนานแค่ไหน แต่หากจะล้มเลิก เพื่อเอาเงินไป พัฒนาหรือช่วยเหลือวงการอื่นๆ ธุรกิจพลังงานทางเลือกของจีนก็จะต้องล้มละลาย และหากล้มใน ครั้งนี้ก็ยากที่จะฟื้นกลับมาได้อีก เท่ากับว่าการเลือกทางเดินเรียนรู้และพัฒนาเทคโนโลยีด้าน พลังงานทางเลือกหลายสิบปีที่ผ่านมาของจีนก็จะสูญเปล่า ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นเพียงปัญหาที่จีนต้อง ตัดสินใจในวงการหนึ่งเท่านั้น เรื่องนี้จึงสะท้อนให้เห็นถึงภาระอันยากเย็นที่รัฐบาลจีนกาลังประสบอยู่ ภายในซึ่งไม่ค่อยเป็นที่รับรู้กันภายนอก เป็นตัวอย่างของความท้าทายที่ประเทศมหาอานาจที่กาลัง จะก้าวขึ้นมาเป็นเบอร์หนึ่งของโลกต้องเผชิญ สาหรับ Chinese Academy of Social Sciences นั้น มีสานักงานใหญ่ที่กรุงปักกิ่ง และมี สาขาย่อยตามมณฑลต่างๆ มีนักวิจัยจานวนหลายพันคน เป็นสถาบันวิจัยที่ขึ้นกับรัฐบาลจีน ได้รับ การสนับสนุนทุนวิจัยทั้งหมดจากกระทรวงการคลังของจีน แต่เป็นหน่วยงานแยกที่ค่อนข้างมีอิสระ ในการเลือกหัวข้อวิจัย โดยมีสาขาวิจัยหลากหลาย ครอบคลุมสังคมศาสตร์ทั้งหมด โดยแบ่งออกเป็น 4 สาขาใหญ่คือ 1) ปรัชญา ประวัติศาสตร์ และภาษาศาสตร์ 2) รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ พฤติกรรม ศาสตร์ 3) เศรษฐศาสตร์ 4) ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ โดยในปัจจุบัน หน่วยงานฝ่ายไทยที่มี กรอบความร่วมมือทางวิชาการกับ CASS อยู่คือสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
  • 13. 10 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล เรียบเรียง: นางสาวจุฑามาศ พูลสวัสดิ์ นางสาวปลายฟ้า บุนนาค นายปาณัท ทองพ่วง ปีที่เผยแพร่: เมษายน 2559 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064