SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 15
Descargar para leer sin conexión
พระมหาเจดีย์ชเวดากอง: ความเชื่อและพิธีกรรมปี นักษัตร

                                                                                    นางสาวคุณากร หนูนนท์
                                                                                                     ั

                                                                                               5224610377

         ในสมัย โบราณพม่า มีค วามเชื่ อทางด้ านพระพุท ธศาสนาเป็ นอย่ า งยิ่ ง ตังแต่พัฒ นาการทาง
                                                                                ้
ประวัติศาสตร์ การเมืองของพม่า โดยเฉพาะการยึดครองพม่าตอนล่างโดยจักรวรรดินิยมอังกฤษตังแต่ปี
                                                                                   ้
พ.ศ.2367 เป็ นต้ นมา ส่งผลให้ ผ้ คนในพม่าหันมานับ ถือมากยิ่งขึ ้นตังแต่อดีตจนถึงปั จ จุบัน ซึ่งพระมหา
                                 ู                                 ้
เจดีย์ชเวดากองเป็ นจุดเริ่มต้ นของความเป็ นพม่า เนื่องจากเจดีย์นีเ้ ป็ นศูนย์รวมทางศาสนาและความเชื่อ
อีกทังยังเป็ นสัญลักษณ์เด่นของความเป็ นพม่าที่แสดงออกถึงอธิปไตย อิสรภาพ และประเพณีได้ อย่างสง่า
     ้
งาม

         ความสาคัญของพระธาตุ

         ในสังคมพม่าจะนับถือและปฏิบัติตามประเพณี ที่มีลกษณะผสมผสานของศาสนาและความเชื่อ
                                                       ั
ต่างๆ ที่มีอยู่ในดินแดนพม่า อาทิเช่น ความเชื่อของพระมหาเจดีย์ หรื อพระธาตุที่เป็ นจุดรวมศรัทธาแห่ง
หนึ่งที่สะท้ อนให้ เห็นถึงความเป็ นพุทธของคนจากทุกชนชันและจากทุกแห่งหนในประเทศพม่าโดยไม่คานึง
                                                      ้
เชื ้อสายเผ่าพันธุ์

         คติการไหว้ พระธาตุ เป็ นตานานความเชื่อของคนล้ านนาทางเหนือและในเขตพม่าว่า เป็ นความเชื่อ
ในเรื่องของปี นักษัตรที่สมพันธ์กบปี เกิด และการนับอายุของแต่ละคนที่เป็ นที่รับรู้กนอย่างแพร่หลาย ในแต่
                         ั      ั                                                 ั
ละปี นัก ษั ตรจึงก าหนดด้ วยสัญ ลัก ษณ์ เ ป็ นสัตว์ป ระจ าปี เกิ ด หรื อที่ เ รี ย กว่า ๑๒ นัก ษั ตร และมีความ
สอดคล้ องกับการไหว้ พระธาตุประจาปี เกิด มาแต่โบราณ ซึ่งยึดถือเอาพระธาตุเป็ นที่พึ่ง และคุ้มครองตน
ดังนันการไหว้ บูชาพระธาตุทุกคืน จึงเป็ นสิ่งที่ขาดไม่ได้ อีกทังยังถื อกันว่า ในชีวิตหนึ่งควรได้ มีโอกาสไป
     ้                                                        ้
สักการบูชาสักครัง ให้ เกิดความเป็ นสิริมงคลมีอายุมนขวัญยืนทังยังได้ บญอานิสงส์มาก
                ้                                 ั่        ้        ุ

         "คติการไหว้ พระธาตุ" หมายถึง กระดูก หรือ ส่วนของร่างกายต่างๆ เช่น ผม ขน เล็บ ฟั น หนัง โลหิต
ฯลฯ ที่มีคณลักษณะเป็ นที่แตกต่างจากสามัญชนทั่ วไป โดยมีลกษณะคล้ าย ' ธาตุ ' ซึ่งหากมองโดยไม่
          ุ                                             ั
สังเกตให้ ดีแล้ ว ก็คล้ าย กรวด หิน แก้ ว เพชร ฯลฯ ดังนันคาว่า พระบรมธาตุ และ พระธาตุ ยังอาจหมายถึง
                                                        ้
สถูปเจดีย์ตางๆได้ อีกด้ วย เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุดอยสุเทพ พระธาตุพนม ฯลฯ
           ่
จะเห็นได้ ว่าค าว่า พระธาตุ มีหมายความถึงพระบรมสารี ริกธาตุของพระพุทธเจ้ าและยังรวมถึ ง
สถานที่ ห รื อพระเจดี ย์ ที่ บ รรจุพระบรมธาตุด้วย ซึ่ งในแต่ล ะแห่ง จะมีตานานหรื อประวัติที่ เ ล่าถึ งมูล
เหตุการณ์สร้ างพระบรมธาตุเจดี ย์ ซึ่งสัมพันธ์ กับการเสด็จโปรดสัตว์ ของพระพุท ธเจ้ าในดินแดนต่างๆ
เหล่านี ้ และสถานที่ที่พระองค์เสด็จไปถึง รวมถึงการสร้ างพระบรมธาตุเจดีย์ขึ ้น ณ ที่นนมักจะกลายเป็ น
                                                                                    ั้
เมืองสาคัญ ในเวลาต่อมาอีกทังประวัติ พระธาตุ หรื อตานานพระธาตุนัน ยังอาจหมายถึ งตานาน หรื อ
                           ้                                   ้
ประวัติความเป็ นมาของบ้ านเมืองแต่ละท้ องถิ่นอีกด้ วย

        คติการบูชาพระธาตุ

        สมัยโบราณมักจะบูชาพระบรมธาตุด้วยเครื่องหอม และข้ าวตอกดอกไม้ ตามปกติแล้ วจะสรงพระ
ธาตุด้วยน ้าสะอาด อาจเจือด้ วยน ้าหอม เนื่องจากองค์พระบรมธาตุ ส่วนใหญ่บรรจุอยู่ใต้ ฐานพระเจดีย์ การ
สรงน าจึง กระท าโดยการราดน า ไปบนองค์ พระเจดีย์ พระธาตุบ างองค์ จ ะต้ องใช้ น าจากแหล่ง พิ เ ศษ
     ้                     ้                                                  ้
อย่ า งเช่ น การสรงน า พระธาตุ ศ รี จ อมทอง ใช้ น า จากน า แม่ก ลางเจื อ ด้ ว ยน า หอมหรื อ แก่ น จัน ทน์
                     ้                            ้      ้                       ้
        กล่าวได้ ว่าคติ ก ารบูช าพระธาตุปี เกิ ด และ ตานานที่ เ กี่ ยวข้ องสะท้ อนถึ ง การเผยแผ่ของพุท ธ
ศาสนาในดินแดนไทยมาแต่โบราณ นอกจากนี ้ การสร้ างพระบรมธาตุเจดีย์ ยังสัมพันธ์กับการเกิดชุมชน
เมืองต่างๆ อันก่อให้ เกิดคติความเชื่อ และวัฒนธรรมร่วมกันของผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ โดยเฉพาะใน
ภาคเหนื อ ของไทย ที่ มี ก ลุ่ ม ชนมากมายอาศัย อยู่ โดยมี พ ระบรมธาตุเ จดี ย์ และสิ่ ง ส าคั ญ ทาง
พระพุทธศาสนา เป็ นศูนย์กลางแห่งจิตใจ1
        การเดินทางท่องเที่ยวไหว้ พระธาตุปีเกิด มีความสะดวกเป็ นอย่างยิ่ง เนื่องจากพระธาตุส่วนใหญ่
ตังอยู่ในภาคเหนือ และในเขตพม่า จึงสามารถจัดเส้ นทางสาหรับ ไหว้ พระธาตุ ในจังหวัดใกล้ เ คียงและ
  ้
ประเทศเพื่อนบ้ านได้ เช่น เชียงใหม่-ลาพูน-ลาปาง หรือ เชียงราย-น่าน-แพร่ เชียงราย-พม่า-ย่างกุ้ง เป็ นต้ น
ซึ่งไม่เพียงแต่จะได้ อิ่มใจในบุญกุศล ทว่ายังได้ ชมศิลปะ และสถาปั ตยกรรมอันงดงาม ของแต่ละท้ องถิ่นอีก
ด้ วย




1
        สุ ริ ย า เ พ ลิ น ท รั พ ย์ .    พ ร ะ บ ร ม ธ า ตุ . ( ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ ) . แ ห ล่ ง ที่ ม า
http://student.nu.ac.th/phratad/index.htm (29 สิงหาคม 2545)
คติการไหว้ พระธาตุประจาปี เกิดและปี นักษัตร

        ความเชื่อเรื่องพระธาตุเจดีย์ประจาปี เกิดนี ้ ไม่ใช่ข้อวัตรปฏิบติหรือปรากฏในหลักธรรมคาสอนทาง
                                                                      ั
พระพุทธศาสนา แต่เป็ นคติความเชื่อดังเดิมของชาวล้ านนา ความเชื่ อนี จะมีมาตังแต่เ มื่อใดไม่ปรากฏ
                                   ้                               ้       ้
พบว่ามีบนทึกอยู่ในตาราพื ้นเมืองโบราณ สรุปใจความได้ ว่า ก่อนที่วิญญาณจะมาปฏิสนธิในครรภ์ของผู้
        ั
เป็ นมารดานัน วิญญาณจะลงมา ชุธาตุ ซึ่งหมายถึงการที่ดวงวิญญาณจะลงมาพักอยู่ที่เจดีย์แห่งใดแห่ง
            ้
หนึ่ง โดยมี ตั๋วเปิ ้ ง (สัตว์ประจานักษัตร) พามาพักไว้ และเมื่อได้ เวลา ดวงวิญญาณก็จะเคลื่อนจากพระ
เจดีย์ ไปสถิตอยู่บนกระหม่อมของผู้เป็ นบิดาเป็ นเวลา 7 วัน ก่อนที่จะเคลื่อนเข้ าสูครรภ์ของมารดา และเมื่อ
                                                                                 ่
เสียชีวิตลงแล้ ว ดวงวิญญาณก็จะกลับไปพักอยู่ที่เจดีย์นนๆตามเดิม
                                                     ั้

        นอกจากนันความเชื่อเรื่องปี นักษัตรยังสัมพันธ์กบคติการบูชาพระบรมธาตุ ดังปรากฏเป็ นประเพณี
                ้                                     ั
การชุธาตุห รื อการไหว้ พระธาตุป ระจ าปี เกิ ด โดยครังหนึ่งในชี วิตควรมีโอกาสเดิน ทางไปไหว้ พระธาตุ
                                                    ้
ประจาปี เกิดของตนเพื่อความเป็ นสิริมงคล ได้ แก่

        * นมัสการพระธาตุประจาปี ชวด พระธาตุศรีจอมทอง เชียงใหม่

        * นมัสการพระธาตุประจาปี ฉลู พระธาตุลาปางหลวง ลาปาง

        * นมัสการพระธาตุประจาปี ขาล พระธาตุช่อแฮ แพร่

        * นมัสการพระธาตุประจาปี เถาะ พระธาตุแช่แห้ ง น่าน

        * นมัสการพระธาตุประจาปี มะโรง พระพุทธสิหิงค์ เชียงใหม่

        * นมัสการพระธาตุประจาปี มะเส็ง พระศรีมหาโพธิหรือต้ นโพธิ์

        * นมัสการพระธาตุประจาปี มะเมีย พระธาตุชเวดากอง พมา

        * นมัสการพระธาตุประจาปี มะแม พระธาตุดอยสุเทพ เชียงใหม่

        * นมัสการพระธาตุประจาปี วอก พระธาตุพนม นครพนม

        * นมัสการพระธาตุประจาปี ระกา พระธาตุหริภญชัย ลาพูน
                                                ุ

        * นมัสการพระธาตุประจาปี จอ พระธาตุเกศแก้ วจุฬามณี บนสวรรค์ชนดาวดึงส์
                                                                   ั้
* นมัสการพระธาตุประจาปี กุน พระธาตุดอยตุง เชียงราย2

        นอกจากนี ้ยังมีความสอดคล้ องกับคติความเชื่อของคนล้ านนาที่เชื่อมาแต่โบราณว่า เมื่อคนเราสิ ้น
อายุขยแล้ ว ดวงวิญญาณจะไปสถิตอยู่ตามพระธาตุเจดีย์ต่างๆตามปี นักษัตรที่ เกิด ดังนัน ถ้ าหากได้ ไป
     ั                                                                           ้
นมัสการพระธาตุประจาปี เกิดของตนระหว่างที่ยงมีชีวิตอยู่ หรืออย่างน้ อยสักครังหนึ่งในชีวิตย่อมถือได้ ว่า
                                          ั                                ้
บุญกุศลและมีอายุยืนนาน กล่าวได้ ว่า คนปี มะเมีย (ม้ า) เมื่อมีเคราะห์หรื อชีวิตช่วงใดรู้สึกว่าทาอะไรก็
ติดขัดไปหมด อยู่ไม่ติดบ้ าน มีปัญหามีอปสรรคมาก การดาเนินชีวิตไม่ราบรื่ น ควรหาเวลาโอกาสไปบูชา
                                      ุ
พระธาตุประจาปี เกิดของตน ซึ่งคนปี มะเมียต้ องไปบูชา พระธาตุย่างกุ้ง หรื อพระเจดีย์ชเวดากอง ประเทศ
พม่านั่น เอง ให้ ได้ ระหว่างที่ มีชี วิตอยู่หรื ออย่ างน้ อยสักครังหนึ่งในชีวิต ซึ่งนอกจากความยุ่งยากความ
                                                                  ้
เดือดร้ อนต่างๆในชีวิตของท่านจะคลี่คลายไปในทางที่ดีขึ ้น ยังถื อว่าท่านได้ กศลและมีอายุยืน ที่สาคัญการ
                                                                            ุ
ที่ท่านได้ มานมัสการพระบรมธาตุนน โบราณท่านว่าได้ อานิสงค์มาก คือ ได้ บญกุศลมากนันเอง
                               ั้                                     ุ         ่

        ดังนัน การที่บคคลซึ่งเกิดในปี นักษัตรใดก็ตาม สมควรที่จะหาโอกาสไปกราบไหว้ พระธาตุประจาปี
             ้        ุ
เกิดของตน ให้ ได้ อย่างน้ อยครังหนึ่งในชีวิต เพราะเชื่อกันว่าเป็ นมงคลแก่ชีวิต มีอานิสงส์สงและจะทาให้ มี
                               ้                                                          ู
อายุยืนนาน รวมถึงเชื่อว่าหากสิ ้นชีพไป ดวงวิญญาณจะได้ กลับไปยังพระธาตุองค์นน ไม่ต้องเร่ร่อนไปใน
                                                                           ั้
ทุกคติภพอื่นๆ ซึ่งความเชื่อเหล่านี ้เองที่แพร่หลายไปสูหลายๆพื ้นที่ของประเทศต่างๆ นอกจากนีความเชื่อ
                                                      ่                                   ้
ดังกล่าวยังส่งผลให้ พระพุทธศาสนาดารงอยู่สืบต่อไป และทาให้ สถานที่ตามพระธาตุประจาวันเกิดต่างๆได้
กลายมาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ทางวัฒนธรรมได้ อีกด้ วย

        ความเป็ นมาของพระธาตุชเวดากอง

        หลังจากทรงปราบปรามประเทศพม่าภาคใต้ ได้ ใน พ.ศ. 2298 พระเจ้ าอลองพระหรื ออลองพยาก็
ทรงตังชื่อเมืองเล็กๆที่เคยมีชื่อมาแต่ก่อนว่า ดากอง (Dagon) ใหม่วา ยังกอง (Yan-gon) ซึ่งอาจแปลได้ ว่า
     ้                                                          ่
การยุติแห่งความยุ่งยาก และทรงสร้ างเมืองใหม่ขึ ้น ณ ที่นน ในไม่ช้าเมืองยังกองหรื อย่างกุ้งก็ได้ กลายเป็ น
                                                        ั้
เมืองท่าบนฝั่ งทะเลเมื่อเมืองสิเรี ยมซึ่งเคยเป็ นเมืองท่ามาก่อนได้ ถูกพระเจ้ าอลองพระทรงทาลายในพ.ศ.
2299


2
    ร้ อยเรี ยงเรื่ องราว.     คติ ไ หว้ พระธาตุ ประจ าปี เกิ ด . (ระบบออนไลน์ ). แหล่ ง ที่ มา
http://www.travelfortoday.com/story_partart.htm (24 พฤษภาคม 2547)
อย่างไรก็ดี เมืองยางกุ้งเพิ่งจะได้ กลายเป็ นราชธานีของประเทศพม่า และตามประวัติศาสตร์ เมือง
นี ้ก็เก่าขึ ้นไปจนถึงพุทธศตวรรษที่ 16                                                      2,000 แล้ ว




                                "ชเว" คือ ทอง ส่วน "ดากอง" คือชื่อเดิมของเมืองย่างกุ้ง
                  สมัยที่พระเจ้ าอลองพญาสถาปนาเมืองเล็กริมฝั่ งแม่น ้าแห่งนี ้ขึ ้นเมื่อปี พ.ศ.22983

        พระธาตุชเวดากอง (ชเวติโก่งพยา) ตังอยู่บริเวณเนินเขาเชียงกุตระ เมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่า ซึ่ง
                                         ้
เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของประเทศพม่าที่มีความสาคัญยิ่งกับชาวพม่า เนื่องจากจะเป็ นศูนย์รวมศรัทธา
แล้ วยังเป็ นสัญ ลัก ษณ์ ที่แสดงออกถึงอธิ ป ไตย และอิสรภาพของชาติพม่า แต่สถานการณ์ต่างๆท าให้
เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งเป็ นการเปลี่ยนแปลงที่ดีจะนาความเจริญงอกงามมาสูประเทศ และพระเจดีย์ชเวดากอง
                                                                 ่
ก็ได้ กลายเป็ นเป็ นเจดีย์ที่สงที่สดและเก่าแก่ที่สดในโลก
                              ู ุ                 ุ

        พระธาตุช เวดากอง ได้ เ ริ่ มสร้ างมาเป็ นครั งแรกตังแต่ส มัย ที่ พระพุท ธเจ้ า ทรงตรัสรู้ หรื อ เมื่ อ
                                                     ้     ้
ประมาณ 2,595 ปี มาแล้ ว ในสมัยที่ย่างกุ้งยังเป็ นเพียงเมืองเล็ก ๆ ที่ชื่อว่าเมืองอสิตนชนะหรืออีกชื่อหนึ่งคือ
                                                                                     ั
เมืองโอกกะละ โดยได้ มีพ่อค้ าชาวมอญ 2 คนชื่อว่า ตผุสสะ และภัลลิกะ ได้ เดินทางไปค้ าขายยังประเทศ
อิน เดีย ทัง สองได้ มีโอกาสเข้ าเฝาพระพุท ธเจ้ าซึ่งก าลัง ประทับ อยู่ใต้ ต้ น พระศรี มหาโพธิ์ และได้ ถ วาย
           ้                     ้
ภัตตาหารแด่พระองค์ด้วย หลังจากเสวยเสร็จแล้ ว พระพุทธเจ้ าได้ ประทานพระเกศาให้ 8 เส้ น เมื่อตผุสสะ
และภัลลิกะเดินทางกลับ พระราชาแห่งอเชตตะได้ ขอแบ่งพระเกศธาตุไป 2 เส้ น พญานาคขอไปอีก 2 เส้ น


3
      Joeeleo.      พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง                  Shwedagon.            (ระบบออนไลน์)         แหล่งที่มา
http://joeeleo.multiply.com/photos/album/60/60# (23 พฤศจิกายน 2551)
เมื่อเดินทางกลับ ถึงเมืองอสิตนชนะ พระเจ้ าโอกกะละปะก็ได้ ทรงประกอบพิธีต้อนรับ พระเกศธาตุอย่าง
                             ั
ยิ่งใหญ่ และได้ ทรง คัดเลือกสถานที่บนเขาสิงฆุตตระนอกประตูเมืองอสิตนชนะให้ เป็ นที่สร้ างพระเจดีย์เพื่ อ
                                                                  ั
บรรจุพ ระเกศธาตุ แต่ข ณะที่ ก าลัง ท าการขุดดิ น ก่ อ สร้ างนัน ก็ ไ ด้ ค้ น พบ พระบริ โ ภคเจดี ย์ ข องอดี ต
                                                              ้
พระพุทธเจ้ าองค์อื่น ๆอีก 3 พระองค์ด้วย คือไม้ ธารพระกร ภาชนะสาหรับใส่นา และสบง จึงได้ บรรจุของ
                                                                       ้
ทังหมดนี ้ในพระเจดีย์พร้ อมกับพระเกศธาตุด้วย แต่ก่อนที่จะบรรจุ ก็ค้นพบด้ วยว่ า พระเกศธาตุกลับมี 8
  ้
เส้ นดังเดิม พระเกศธาตุได้ บรรจุไว้ ภายในเจดีย์ทอง เงิน ดีบก ทองแดง ตะกัว หินอ่อน และเหล็กตามลาดับ
                                                           ุ            ่
เสร็จแล้ วจึงสร้ างเจดีย์อิฐสูงประมาณ 66 ฟุตครอบไว้ ภายนอก จากนันก็มีการสร้ างเจดีย์ครอบองค์เดิมใน
                                                                ้
รัชสมัยของกษัตริ ย์ต่าง ๆ รวมถึ ง 7 ครังด้ วยกัน โดยในสมัยพระนางเชงสอบูแห่งกรุงหงสาวดีก็ได้ ทรง
                                       ้
บริจาคทองคาถึง 40 กิโลกรัม ซึ่งเท่ากับน ้าหนักของพระองค์ในการก่อสร้ างพระเจดีย์ที่มีรูปร่างเหมือนใน
ปั จจุบนเป็ นครังแรก ส่วนพระเจ้ าธรรมเจดีย์ซึ่งครองราชย์ต่อจากพระนางเชงสอบู ก็ได้ บริ จาคทองในการ
       ั        ้
ก่อสร้ างเพิ่มเติมเป็ นน ้าหนักเท่ากับน ้าหนักของพระองค์และพระมเหสีรวมกันด้ วย ทังยังได้ ทรงสร้ างจารึก
                                                                                 ้
เล่าประวัติของพระเจดีย์ชเวดากองเป็ นภาษาพม่า มอญและบาลีไว้ ด้วย4

          จากนัน ปี พ.ศ. 2317 พระเจ้ ามังระ หรือพระเจ้ าช้ างเผือก แห่งกรุงอังวะ (กษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของ
               ้
ราชวงศ์อลองพญาของพม่า) ได้ ตอเติมยอดฉัตรเจดีย์ขึ ้นใหม่ โดยถอดฉัตรเดิมที่มอญเคยทา เป็ นแบบพม่า
                            ่
ขึ ้นไปแทน ซึ่งประกอบด้ วยระฆังเงิน ระฆังทองเหลือง ระฆังทองคาโดยระฆังแต่ละใบจะจารึกชื่อผู้บริ จาค
ไว้ ด้วย ส่วนระฆังทองคาบางใบจะมีเพชรประดับเพชรด้ วยระฆังทังหมดนี ้ติดไว้ ที่ฉตร ทาให้ เจดี ย์ชเวดากอง
                                                          ้                  ั
มีความสูงเท่ากับในปั จจุบน แต่ฉตรนี ้ก็ถกเปลี่ยนใหม่อีกครังในรัชสมัยของพระเจ้ ามินดงใน พ.ศ. 2414
                         ั     ั        ู                 ้

          ปั จจุบันพระเจดีย์ชเวดากองมีความสูงประมาณ 109 เมตร รอบฐานเจดีย์มีเจดีย์องค์เล็กๆ ราย
ล้ อมอีก 65 องค์ ซึ่งก็คือ ในภาพถ่ายที่ 2 ของโปสการ์ดนีนั่นเอง และเจดีย์องค์ใหญ่อีก 4 องค์ รอบเจดีย์มี
                                                       ้
พระประจาวันเกิดประดิษฐานทังแปดทิศตามหลักนพเคราะห์ คือ พระประจาวันจันทร์ วันอังคาร วันพุธ
                          ้
(เช้ า) วันพุธ(เย็น) วันพฤหัสบดี วันศุกร์ วันเสาร์ และวันอาทิตย์ ใครเกิดวันไหนก็ไปสรงนาพระประจาวัน
                                                                                      ้
เกิดของตน


4
    กิติมา อมรทัต. พมา (สหภาพเมียนมาร์ ). พิมพ์ครังที่ 2. กรุงเทพฯ: บริ ษัท สานักพิมพ์หน้ าต่างสู่โลก
                                                  ้
กว้ าง จากัด, 2543.
เจดีย์ชเวดากองนันยึดหลักไตรภูมิวา องค์เจดีย์ชเวดากอง คือ ศูนย์กลางแห่งจักรวาลล้ อมรอบด้ วย
                        ้               ่
ภูเขาสัตบริภณฑ์ (เจดีย์องค์เล็ก) และมหานทีสีทนดร ทาให้ นึกถึงวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามที่สร้ างตาม
            ั                                ั
คติความเชื่อไตรภูมิเหมือนกัน โดยรอบจักรวาลแบ่งเป็ น 8 ทิศ แทนวันในหนึ่งสัปดาห์ (วัน 8 คือ วันพุธ
(เย็น)) นอกจากนี ้ยังมีสตว์สญลักษณ์แทนดาวพระเคราะห์ดวงต่างๆ ตามตาราโหรศาสตร์ด้วย5
                        ั ั

      ซึ่งจากพัฒนาการทางประวัติศาสตร์การเมืองของพม่า ส่งผลให้ ความภูมิใจในพระมหาเจดีย์ชเวดา
กองคงมิได้ มาจากศรัทธาหรือความรู้ในหลักสุนทรียศาสตร์เท่านัน แต่เป็ นการชื่นชมในศักดิ์ศรีของประเทศ
                                                          ้
ที่ได้ ผานการต่อสู้เพื่อเอกราชและอธิปไตยมาแล้ วอย่างโชกโชน
        ่

        ลักษณะการกอสร้ าง

        เมื่อกล่าวถึงลักษณะงานสถาปั ตยกรรมของพระมหาเจดีย์ชเวดากองจะพบว่า มีลกษณะสาคัญ
                                                                            ั
ของระบบจักรวาลพุทธ – ฮินดูสอดคล้ องอยู่6 ทังเจดีย์และวิหารล้ วนเป็ นศูนย์กลางของกิจกรรมต่างๆ ทาง
                                           ้
สังคมวัฒนธรรม




5
     Catfishae.       โ ป ส ก า ร์ ด เ ล า เ รื่ อ ง ต อ น ที่ 2.   ( ร ะ บ บ ออ น ไ ล น์ ) แ ห ล่ ง ที่ ม า
http://www.oknation.net/blog/print.php?id=540423 (1 ธันวาคม 2552)
6
  อันประกอบขึ ้นจากการรวมตัวของธาตุ ซึ่งจักรวาลที่เราอยู่อาศัยมิใช่มีเพียงจักรวาลเดียวเท่านัน แต่ยังมี
                                                                                            ้
จักรวาลนับไม่ถ้วน ที่เรียกว่า อนันตจักรวาล และใน จักรวาลที่มากมายนัน จะมีองค์ประกอบที่เหมือนกัน
                                                                          ้
ทุกประการ จักรวาลเป็ นที่อยู่อาศัยของสัตวโลกทัง หยาบและละเอียดจานวนมาก ที่เรามองเห็นและมองไม่
                                                 ้
เห็น มีอยู่ถึง 31 ภูมิด้วยกัน แต่ละภพภูมิมีความ เป็ นอยู่ที่แตกต่างกัน ตามลักษณะบุญและบาปที่เกิดจาก
การกระทาของตนในครังเป็ นมนุษย์ และมนุสสภูมิ เป็ นศูนย์กลางของการทาความดีและความชัว โดยมีภพ
                          ้                                                               ่
ภูมิอื่น เป็ นผลรองรับการทาบุญและบาปของมนุษย์
ปลายยอดสถูปประดับด้ วยเพชร 5,448 เม็ด ทับทิม นิล และบุษราคัมอีก 2,317 เม็ด มีมรกตเม็ดเขื่องอยู่ตรง
กลาง เพื่อรับลาแสงแรกและลาแสงสุดท้ ายของดวงอาทิตย์ ทั ้งหมดนี ้ประดับอยู่ด้านบนเหนือฉัตรขนาด 10 เมตร ซึงสร้ าง
                                                                                                       ่
                 ขึ ้นบนไม้ ห้ มทองเจ็ดเส้ น ประดับด้ วยกระดิ่งทองคา 1,065 ลูก และกระดิ่งเงิน 420 ลูก
                               ุ

         พ ร ะ เ จ ดี ย์ ช เ ว ด า ก อ ง เ ป็ น เ จ ดี ย์ คู่ บ้ า น คู่ เ มื อ ง ข อ ง ช า ว พ ม่ า ค า ว่ า ช เ ว
(Shwe) หมายถึ ง ทองค า ส่วน ดากอง มาจากคาว่า Dagon หรื อ ตะเกิ ง ซึ่งเป็ นนามเดิมของนครย่ าง
กุ้ง “ชเวดากอง” แปลว่า “เจดีย์ทองแห่งเมืองดากอง” ได้ รับการบูรณปฏิสงขรณ์มาหลายครังด้ วยกัน ราช
                                                                   ั             ้
ประเพณี ของกษัต ริ ย์มอญ และพม่า เมื่อจะขึ ้นครองราชย์ จะต้ องท านุบารุงบูรณะองค์พระเจดีย์ และมี
บางพระองค์ถวายทองคาเท่ากับ หรือ มากกว่าน ้าหนักของพระองค์ เพื่อนามาห่อหุ้มองค์มหาเจดีย์ทงองค์
                                                                                        ั้
ส่วนเรือนยอดประดับด้ วยเพชร 5,448 เม็ด รวมทังทับทิม นิล และบุษราคัมอีก 2,317 เม็ด และที่ปลายยอด
                                            ้
ประดับด้ วย เพชรเม็ดที่ใหญ่ที่สด ขนาด 72 กระรัต
                               ุ

         ปั จจุบนพระเจดีย์มีความสูง 326 ฟุต เส้ นรอบวง 1,420 ฟุต สูงกว่าระดับน ้าทะเล 190 ฟุต ประดับ
                ั
ด้ วยแผ่นทองคา 4 หมื่นแผ่น รวมนาหนักทอง 8 ตัน สาหรับฉัตรซึ่งครอบยอดเจดีย์ ก็มีการซ่อมแซมหรื อ
                               ้
สร้ างขึ ้นใหม่มาเป็ นระยะๆ ฉัตรเก่าสร้ างในสมัยพระเจ้ ามิน ดงในปี ค.ศ. 1871 สูง 33 ฟุต เส้ นผ่าศูนย์กลาง
18 ฟุต ขณะนี ้ก็ยังตังไว้ ให้ ประชาชนได้ ชมอยู่ ครังล่าสุดได้ มีการสร้ างฉัตรขึ ้นใหม่เมื่อ 8 ปี ที่ผ่านมานีเ้ อง
                     ้                             ้
โดยประดับเพชรพลอยรวมถึง 4,351 เม็ดรวม น ้าหนัก 2,000 กะรัต เพชรเม็ดใหญ่ที่สดบนยอดฉัตรมีฐาน
                                                                           ุ
กว้ าง 2 ฟุต ยาว 1 ฟุต 10 นิ ้ว และหนัก 76 กะรัต นอกจากนี ้ พระเจดีย์ชเวดากองก็ยังมีวตถุที่มีคณค่าทาง
                                                                                     ั        ุ
ศาสนา ศิลปะ ประวัติศาสตร์ และอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น ระฆัง ที่พระเจ้ าสิงคุ (Singhu) ทรงสร้ างไว้ เมื่อปี
ค.ศ. 1778 หล่อด้ วยปั ญจโลหะ คือทอง เงิน ทองแดง ตะกั่วและสังกะสี สูง 8 ฟุต หนัก 23 ตัน ในปี ค.ศ.
1824 พม่าได้ ทาสงครามกับอังกฤษเป็ นครังแรกและอังกฤษได้ ยึดเจดีย์ชเวดากองได้ และได้ ขนทรัพย์สิน
                                      ้
แก้ วแหวนเงินทองไปหลายอย่าง รวมทังได้ คิดที่จะขนย้ ายระฆังใบนีกลับไปอังกฤษด้ วย แต่ระหว่างการ
                                 ้                            ้
เดินทางเรือที่ขนระฆังจมลงที่แม่น ้าย่างกุ้ง ต่อมาพม่าจึงทาการกู้ระฆังใบนี ้ด้ วยตนเองและนามาติดตังไว้ ที่
                                                                                                 ้
เจดีย์ชเวดากองได้ เช่นเดิม ซึ่งเป็ นที่ภาคภูมิใจของประชาชนพม่าโดยทัวไปมาจนทุกวันนี ้นอกจากนันก็ยงมี
                                                                   ่                        ้ ั
พระพุทธรูปสลักจากหยกทังก้ อน ซึ่งได้ มาจากรัฐคะฉิ่นในปี ค.ศ. 1999 ในโอกาสที่ได้ สร้ างฉัตรใหม่ และยัง
                            ้
มีต้นพระศรีมหาโพธิ์ซึ่งได้ นาเมล็ดมาปลูกจากพุทธคยาเมื่อ 79 ปี ก่อน และของมีคาอื่น ๆ อีกมากมาย7
                                                                            ่

          ซึ่ง การดูแลรักษาเจดีย์ ช เวดากอง ในทุก ๆ 50ปี จะน ายอดฉัตรของพระเจดีย์ ลงมาบูรณะ และ
อนุญาตให้ ประชาชน นาเครื่องสักการะ คือ เครื่องประดับอัญมณี แก้ ว แหวน เงินทอง เพชร นิล จินดา มา
ถวายเป็ นพุทธบูชา เพื่อขึ ้นติดไว้ บนยอดฉัตรของพระเจดีย์

การสักการะพระเจดีย์

          การสักการะพระเจดีย์ชเวดากอง มี 2 แบบ คือ แบบสามัญและแบบวิสามัญ

          1. แบบสามัญ

          โดยการถือเครื่องสักการะขึ ้นไปยังวิหาร จากนันก็จดธูปเทียนถวายเครื่องสักการะกราบไหว้ สวดคา
                                                      ้ ุ
บูชารัตนตรัย แล้ วเดินประทักษิ ณพระเจดีย์ชเวดากอง (หมายถึง หันด้ านขวาเข้ าหาองค์พระเจดีย์ โดยมาก
จะเดินเวียนรอบพระเจดีย์ 3 รอบ) เป็ นอับเสร็จพิธี

          2. แบบวิสามัญ

          เกี่ยวเนื่องกับเทวดานพเคราะห์ คนพม่านับถือตารานพเคราะห์อย่างเดียวกับไทยเรา เหมือนเช่นให้
ชื่อคนก็ขึ ้นด้ วยตัวอักษรตามวรรคประจาวันเป็ นต้ น แต่พม่าจะนับถือเทวดานพเคราะห์ยิ่งกว่าไทยเสียอีก ที่
ลานพระเจดีย์ชเวดากอง (และพระมหาธาตุองค์อื่นๆก็เหมือนกัน) ทาหลักปายมีรูปเทวดากับสัตว์พาหนะ
                                                                ้
และมีชื่อบอกนามปั กประจาไว้ ตามทิศทัง 8 ได้ แก่
                                    ้

          วันอาทิตย์ - ครุฑ อยู่ที่ทิศตะวันออกเฉียง เหนือของลานเจดีย์

          วันจันทร์ - เสือ อยู่ทิศตะวันออก

          วันอังคาร - สิงห์ อยู่ทิศตะวันออกเฉียงใต้


7
    พวงนิล คาปั งสุ์. พมา. กรุงเทพฯ: บริษัท สานักพิมพ์หน้ าต่างสูโลกกว้ าง จากัด, 2546.
                                                                 ่
วันพุธ (เช้ า) - ช้ างงา อยู่ทิศใต้

        วันพุธ(กลางคืน) - ช้ างไม่มีงา อยู่ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ

        วันพฤหัสบดี - หนู อยู่ทิศตะวันตก

        วันศุกร์ - หนูตะเภา (บางคนเชื่อว่าเป็ น กระต่ายหูสน) อยู่ทิศเหนือ
                                                          ั้

        วันเสาร์ - พญานาค อยู่ทิศตะวันตกเฉียงใต้




        ดังรูปจะเห็นว่า ทางเข้ าพระเจดีย์ชเวดากองจะมีทง 4 ทิศ แต่ทางเข้ าใหญ่คือทางทิศใต้ ซึ่งมีสิงห์นง
                                                      ั้                                              ั่
สองตัวสูง 30 เมตรเฝาทางเข้ าอยู่ เมื่อเข้ าไปถึงที่ทาการของคณะกรรมการบริหารชเวดากอง ก็จะได้ รับการ
                  ้
เชื ้อเชิญให้ เข้ าไปในห้ องเพื่อถอดรองเท้ าแล้ วผู้แทนคณะกรรมการเจดีย์ฯซึ่งจะทาหน้ าที่เป็ นมัคคุเทศก์ก็จะ
นาไปขึ ้นลิฟต์ซึ่งจะขึ ้นถึงลานใหญ่ของพระเจดีย์เลย ขณะที่ประชาชนต้ องขึ ้นบันไดเลื่อนไกลหน่อย เมื่อขึ ้น
ไปถึงลาน มัคคุเทศก์ก็จะนาไปที่ศาลาเพื่อจุดธูปเทียนไหว้ พระ ถวายดอก ไม้ และจตุปัจจัยบารุงเจดีย์ แล้ ว
เซ็นหนังสือในสมุดเยี่ยม หลังจาก นันก็เดินพาไปดูของหรือสถานที่สาคัญต่าง ๆ รอบลาน ซึ่งจะมีวิหารใหญ่
                                  ้
4 ทิศซึ่งประดิษฐานพระพุทธรูปของพระพุทธเจ้ าที่มีมาแล้ วทัง 4 พระองค์คือ พระกักกุสนโธ พระโกนาคม
                                                         ้                       ั
พระกัสสปะ และพระโคตมะองค์ปัจจุบนให้ ประชาชนได้ กราบไหว้ ทาบุญด้ วยรวมถึงการไปตีระฆังสิงคุที่เล่า
                                    ั
มาแล้ วด้ วย 3 ครัง นอกจากนันก็มีการหยุดที่ลานอธิษฐานซึ่งเชื่อกันว่าศักดิสิทธิ์มาก และเท่าที่ทราบก็เคย
                  ้         ้                                            ์
มีคนใหญ่คนโตของไทยไปตังจิตอธิษฐานจนประสบความสาเร็จมาหลายท่านแล้ ว และก็ยงมีอีกจุดหนึ่งบน
                      ้                                                 ั
ลานซึ่งเขาท าจุด ให้ ยืน ไว้ ซึ่งจะท าให้ มองเห็น ประกายเพชรบนยอดฉัตรได้ ด้วยตาเปล่า ที่ น่าสนใจอีก
ประการหนึ่งก็คือจะมีพระพุทธรูปและสัตว์สญลักษณ์ประจาวันเกิด ตังอยู่รอบ ๆ ลานเป็ นคู่ ๆ ด้ วย โดยเชื่อ
                                       ั                     ้
กันว่าการสรงน ้าพระพุทธรูปและสัตว์เหล่านี ้ จะสร้ างความบริสทธิ์และความสุขความเจริญแก่ผ้ สรงน ้า โดย
                                                            ุ                            ู
จะรดน ้าด้ วยขันเล็ก ๆ ที่มีจดเตรียมไว้ ให้ เป็ นจานวนเท่าอายุ +1 แต่สาหรับ คนแก่ ๆ ที่อายุ 60-70 ไปแล้ วก็
                             ั
อาจจะย่นย่อลง เหลือ 5 ขันก็ได้ ซึ่งหมายถึงพระรัตนตรัยรวมกับบิดามารดานันเอง
                                                                      ่

         การกราบไหว้ พระธาตุเ จดี ย์ ชเวดากองในทุก ๆเช้ า เริ่ มต้ น วันสว่างตังแต่เ วลาตี 4 ทังพระภิก ษุ
                                                                               ้               ้
สามเณร แม่ชี และชาวพม่า จะเดินทางออกจากบ้ าน มาสวดมนต์ นั่ งสมาธิ (Meditation) บูชาพระเจดีย์
และช่วยกันปั ดกวาด ทาความสะอาดพระเจดีย์ ซึ่งคนจะมากันมาก ในช่วงเช้ ามืดก่อนไปทางาน กับช่วง
เย็นเวลาหลังเลิกงานตังแต่ 6โมงเย็นจนถึงเวลา 3ทุ่ม ชาวพม่าจะมาสวดมนต์ นั่งสมาธิ เหมือนช่วงเช้ ามืด
                     ้
พอเวลาประมาณ 1ทุ่ม จะมีหนุ่มสาวชาวพม่าจานวนมาก มาช่วยกันกวาดถู ทาความสะอาดพระเจดีย์
กวาดกันเป็ นทิวแถว อย่างพร้ อมเพรียงเหมือนที่วดพระธรรมกายของเรา เวลาของการทาความสะอาดพระ
                                              ั
เจดีย์จะเป็ นเวลาแห่งความสนุกสนาน ที่ทกคนรอคอยจะเก็บบุญสุดท้ ายก่อนกลับเข้ าบ้ านเพื่อพักผ่อน โดย
                                      ุ
ทุกคนจะเอาไม้ กวาดและผ้ ามาเอง ทากันอย่างพร้ อมเพรียง เมื่อถึงเวลานอน ชาวพม่าจะหันศีรษะไปทาง
ทิศที่เจดีย์ชเวดากองตังอยู่ เพื่อทาความเคารพและบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า
                      ้

         และสิ่งที่เป็ นเอกลักษณ์ เป็ นวัฒนธรรมชาวพุทธของชาวพม่า ที่นกท่องเที่ยวทุกคนต้ องปฏิบติ โดย
                                                                     ั                        ั
ไม่เลือกชัน วรรณะ หรื อเผ่าพันธุ์ คือ ประเพณีการถอดรองเท้ าเข้ าวัด รวมถึงถุงเท้ า และถุงน่องก็ห้ามใส่
          ้
ชาวพม่าจะถือเคร่งครัดมาก ไม่วาเด็ก ผู้ใหญ่ หากเป็ นนักท่องเที่ยวเผลอสวมรองเท้ าเดินเข้ าเขตวัด เขาจะ
                                 ่
ร้ องทัก ตักเตือน ให้ ถอดทันที โดยไม่ดดาย เพราะถือว่า เป็ นหน้ าที่ของเขาที่จะรักษาสถานที่ศกดิ์สิทธิ์ มิให้
                                      ู                                                    ั
ผู้ใดล่วงละเมิดได้ 8

      ดังนันจะเห็นได้ วาพระเจดีย์ชเวดากอง ศาสนสถานอันยิ่งใหญ่สาคัญ และมีชื่อเสียงมากที่สดใน
           ้               ่                                                                      ุ
ประเทศพม่า เป็ นสิ่งศักดิสิทธิ์ที่ชาวพม่านับถือสูงสุดเป็ นศูนย์รวมจิตใจของชาวพม่าทุกคน ที่แม้ จะอยู่ไกล
                         ์
แสนไกลขนาดไหน การเดินทางจะลาบากยากเข็ญเพียงไรจะต้ องเดินทางมานมัสการองค์เจดีย์ชเวดากอง
ให้ ได้ สกครังหนึ่งในชีวิต
         ั ้




8
       ที วี ช่ อ ง คุ ณ ธ ร ร ม .   เ จ ดี ย์ ช เ ว ด า ก อ ง .     ( ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ ) แ ห ล่ ง ที่ ม า
http://www.dmc.tv/pages/latest_update/Myanmar_Buddhism_2.html (14 พ.ย. 2550)
ความเชื่อพระธาตุชเวดากองและปี นักษัตรในมิติตางๆ

        พระธาตุชเวดากอง เป็ นแหล่งสถานที่สาคัญแห่งหนึ่งที่รวบรวมพลังศรัทธาของพุทธศาสนิกชนชาว
พม่าที่มีต่อพระพุทธศาสานา ซึ่งความเชื่อนี ทาให้ ชาวพม่ายังคงอนุรักษ์ ขนบธรรมเนียมทางพุทธศาสนา
                                          ้
เอาไว้ อย่ างเหนียวแน่น และมีศ รัทธาในพุทธศาสนาสูงในแต่ละวัน ไม่ว่าจะเป็ นวัน ธรรมดา วันหยุดสุด
สัปดาห์ วันสาคัญทางศาสนา ผู้คนจะหลังไหลไปกราบไหว้ ทาบุญที่วดต่างๆ ไม่ขาดสาย ดังนันคติความ
                                   ่                       ั                     ้
เชื่อในด้ านพระพุทธศาสนา จึงเป็ นส่วนสาคัญที่ทาให้ พระธาตุเจดีย์ชเวดากองเป็ นศูนย์รวมความศรัทธาใน
ด้ านต่างๆ ไม่วาจะเป็ นทางด้ านสังคม การเมือง เศรษฐกิจ เป็ นต้ น
               ่

        ในด้ านการเมืองพม่าหรือสหภาพเมียนมาร์ เป็ นประเทศสังคมนิยม แต่ความเชื่อในทางศาสนาและ
ประเพณีพิธีกรรมยังคงมีความหมายและความสาคัญอย่างมาก ศาสนาพุทธกับประชาชนพม่านัน ดูจะมี
                                                                            ้
ส่วนเกี่ยวข้ อง ช่วยเหลือกันอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องกันมาเป็ นเวลายาวนานตังแต่อดีต แม้ การสนับสนุน
                                                                           ้
จะไม่ได้ มาจากกษัตริย์ดงเช่นในอดีต แต่ศาสนาพุทธก็จาเป็ นต้ องดารงอยู่ เพื่อทาหน้ าที่ที่เป็ นมากกว่าสิ่ง
                       ั
เคารพและความเชื่อที่สงต่อมาจนถึงปั จจุบน
                     ่                 ั

        ในสังคมพม่า พระพุทธศาสนาและวัดเองยังคงมีความสาคัญต่อวิถีชีวิตอับสงบสุขของพม่าอย่าง
เห็นได้ ชด กล่าวได้ วา วัด เป็ นศูนย์กลางของชุมชน เป็ นสถานที่โอ่โถงและงดงาม ขณะที่ความเป็ นอยู่ของ
         ั           ่
ชาวพม่าเองอยู่ในสภาพซอมซ่อยากจนน่าเวทนามาก วัดพม่าโดยมากสร้ างประณีตด้ วยศิลปกรรมปูนปั น
                                                                                       ้
ไม้ แกะสลัก และมีบริเวณวัดที่สะอาดร่มรื่ น ผู้คนทังเด็ก ผู้ใหญ่ และคนแก่จะพากันมากราบไหว้ พระและ
                                                  ้
ทาบุญเป็ นประจา

        ส่วนในด้ านเศรษฐกิจนัน พระมหาเจดีย์ชเวดากอง นอกจากจะเป็ นศูนย์รวมศรัทธาของชาวพม่า
                             ้
แล้ ว ยังเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวที่สาคัญแห่งหนึ่งที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวจากทุกมุมโลกต้ องมาเยือนพม่า
จนเป็ นที่รับรู้กนว่าใครมาถึงพม่าแล้ วไม่ได้ มาชมหรื อนมัสการมหาเจดีย์ชเวดากองก็เหมือนมาไม่ถึงพม่า
                 ั
นอกจากนีเ้ ราพบว่าความสาคัญของพระพุทธศาสนานันเชื่อมโยงกับพระธาตุในปั จจุบนได้ ดงนี ้
                                            ้                            ั     ั

1. เป็ นสถาบันในการสงเสริม สนับสนุนให้ กับเด็ก และผู้ยากไร้ ได้ เรียนและอาศัย

        เด็กจานวนมากทังหญิ งและชายที่กาพร้ าและยากจนจานวนมากถูกส่งตัวมายังวัด และวัดได้ ให้
                      ้
การสนับสนุนให้ เด็กที่ยากจนและขาดโอกาสทางการศึกษาได้ เข้ ามาเรียนฟรี พร้ อมทังมีอาหารและที่อยู่ได้
                                                                             ้
พักอาศัยอีกด้ วย ตัวอย่างวัดดังกล่าวมีชื่อว่า วัดผองดอว์อู ซึ่งตัววัดจะมีการรับเด็กจากทั่วทังประเทศพม่า
                                                                                            ้
มาเลี ้ยงดู และให้ การศึกษาเพื่อที่จะให้ เด็กมีชีวิตในอนาคตที่ดี

2. เป็ นที่พ่งทางใจให้ กับการดารงชีวต
             ึ                      ิ

        พระพุทธรูป และสิ่งเคารพอันมีความสาคัญต่อชาวพม่าทั่วไป การแขวนผ้ าสี การประดับไฟ หรื อ
การจุดธูปเทียนกราบไหว้ สิ่งอันเป็ นสัญลักษณ์ของความศักดิสิทธิ์ ได้ กลายเป็ นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของชาว
                                                        ์
พม่าไปซะแล้ ว ในบริเวณรอบ ๆ วัด เราจะพบเห็นการเข้ ามาขอพร หรือการรดนาประจาวันเกิดตลอดเวลา
                                                                    ้
จากการสังเกตช่วงเวลาที่อยู่ในเจดีย์ชเวดากอง บริเวณที่มีการสรงน ้าพระประจาวันเกิดนัน ได้ พบเห็นผู้คน
                                                                                  ้
เข้ ามาสรงน ้าตลอดเวลา

3. เป็ นพลังในการขับเคลื่อนทางสังคม

         จากเหตุการณ์ที่ผานมาของพม่า จะเห็นว่าการรวมตัวของประชาชนชาวพม่านัน ย่อมก่อร่างสร้ าง
                         ่                                                ้
ตัวจากกลุ่มพระสงฆ์ที่มีความคิดในการร่วมเปลี่ยนแปลงสังคม ให้ เป็ นไปในลัก ษณะของประชาธิปไตย
ร่วมกับนางออง ซาน ซูจี ศาสนาพุทธได้ ใช้ ความเป็ นผู้ร่วมศรัทธาในสิ่งเดียวกันในการติดต่อและสร้ างพลัง
อันยิ่งใหญ่ให้ เกิดขึ ้นในสังคมที่มีความแตกต่างเป็ นอย่างมากทางชาติพันธ์ให้ เกิดขึ ้นได้ พระสงฆ์ไม่ได้ มี
หน้ าที่ในการศึกษาพระธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้ าเพียงอย่างเดียว แต่พระสงฆ์ในประเทศพม่านัน ยังมี
                                                                                     ้
ความจ าเป็ นที่ ต้ องศึก ษาทางโลกและด าเนิ น การเกี่ ย วกับ ทางโลกโดยเป็ น เสมือนครู ที่ เ ปิ ดกว้ างทาง
ความคิดให้ แก่ประชาชน อย่างที่ ได้ กล่าวไว้ ในข้ อแรกว่า ศาสนาเป็ นสถานบันที่ส่งเสริ มให้ ผ้ ยากไร้ และ
                                                                                             ู
ยากจนได้ เข้ ามาอยู่พก อาศัย และเรียนหนังสือ ทาให้ ความสัมพันธ์ของประชาชนกับศาสนามีความผูกพัน
                     ั
กันยิ่งกว่าสถาบันอื่น ๆ ในสังคม การที่พระสงฆ์จะใช้ ศาสนาในการดึงผู้คนเข้ ามาร่วมกิจกรรมจึงเป็ นการ
ง่ายด้ วย ความคุ้นเคย

4. เป็ นพลังในการลดความขัดแย้ งที่เกิดขึนในสังคม
                                        ้

         ศาสนาพุทธได้ มีบทบาทในการเจรจาให้ เกิดสันติภาพขึ ้นภายในประเทศ โดยการนาหลักคาสอน
ของศาสนาพุทธเข้ ามาเกี่ยวข้ องกับการยุติปัญหาความขัดแย้ ง 9ที่ได้ แสดงให้ เห็นว่าเรื่ องของบาปและบุญ


9
    นฤมล ธีรวัฒน์ และคณะ. มองพมาผานชเวดากอง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์โอ.เอส.พรินติ ้งเฮ้ าส์, 2551.
                                                                         ้
ของศาสนาพุทธได้ ทาให้ การเจรจาตกลงในการยุติปัญหาเกิดขึ ้นได้ เพราะผลของปั จจุบันจะเป็ นเช่นไร
ย่อมขึ ้นอยู่กบบาปและบุญที่ ทาไว้ ในอดีต การอ้ างเหตุผลทางศาสนาเรื่ องนีนน ย่อมทาให้ กลุ่มต่าง ๆ ใน
              ั                                                         ้ ั้
พม่าเข้ าใจได้ ว่า การที่ คนเหล่านันอันหมายถึงทหารผู้มีอานาจเผด็จการอยู่นน ได้ ครองทรัพย์สินต่าง ๆ
                                   ้                                     ั้
ภายในประเทศและมีอานาจมากกว่าพวกเขา เป็ นผลมาจากบุญที่พวกเขาได้ กระทาไว้ ในอดีต ฉะนันการจะ
                                                                                   ้
รอให้ ผลบุญหมดจึงเป็ นเรื่องที่ควรกระทา นันคือการรอจนกว่ารัฐบาลทหารจะหมดบุญกุศล และพวกเขาจึง
                                          ้
สามารถที่จะรวมประเทศ หรือสามารถเรียกร้ องสิทธิอนควรจะมีตอกลุมของตนเองได้
                                               ั        ่ ่

5. เป็ นวัตถุเพื่อการค้ าขายให้ กับนักทองเที่ยว

          การเข้ ามายังพม่าในสถานที่ท่องเที่ยวทุกแห่งของประเทศพม่า จะพบเห็นสิ่งของที่ระลึกในรูปแบบ
ของพระพุทธรูป เศียร์พระ หรือภาพวาดที่เกี่ยวกับศาสนาในรูปแบบต่าง ๆ คงไม่ใช่เรื่องแปลกอะไร สาหรับ
การเปลี่ยนวัฒนธรรมที่พวกเขานับถือและเห็นว่ามีค่าในการนาไปเคารพบูชาที่บ้านสาหรับนักท่องเที่ยว
เป็ นอีกหนึ่งกระบวนการที่เกิดจากการเปิ ดการท่องเที่ยวที่กว้ างขึ ้นของประเทศพม่า นักท่องเที่ยวที่หลังไหล
                                                                                                    ่
เข้ ามาอย่างต่อเนื่องตังแต่ช่วงที่ค วามสงบเริ่ มเกิดขึ ้นในพม่า เป็ นจุดที่ท าให้ ประชาชน หรื อหมู่บ้านที่ มี
                       ้
บริ เ วณใกล้ เ คี ย ง หยิ บ เอาวัฒนธรรมของเขา มาแปรรู ป เป็ นสิน ค้ า หรื อ ที่ เ ราเรี ย กกัน ว่า “การกลาย
วัฒนธรรมให้ เป็ นสินค้ า”

                  ดังนัน กล่าวโดยสรุป ด้ วยความศรัทธาอันเปี่ ยมล้ นของชาวเมียนมาร์ (พม่า) ที่มีต่อพระ
                       ้
เจดีย์ชเวดากองนี ้ เราจะเห็นได้ ชัดจากการที่มีประชากรมากราบไหว้ สกการะบูชา เป็ นประจ าทุกวันทุก
                                                                 ั
ชัวโมง หรื อทุกๆนาที หรื ออาจเรี ยกได้ ว่า ตลอด 24
  ่                                                                1,440                    จะ      มา     บ
ไหว้ พระเจดีย์ตลอดเวลาไม่มีขาด ไม่ว่าจะเป็ นที่ลานพระเจดีย์ หรื อเวลาไหนก็จะพบคนมากราบไหว้ พระ
เจดีย์เวลานัน ทังกลางวันและกลางคืน อีกทังความสัมพันธ์ของคนพม่าชนบทและเมืองยังคงเป็ นเรื่ องทาง
            ้ ้                         ้
ศาสนาและประเพณี โดยเฉพาะอย่ างยิ่งพระธาตุช เวดากอง ที่ สะท้ อนให้ เห็นถึงกระบวนการอบรมทาง
สังคมและวัฒนธรรมที่ เป็ นไปโดยอัตโนมัติและต่อเนื่องกันมาช้ านานเป็ นสาคัญ เพราะวัดพม่ายังดารง
ความศูนย์รวมทางวัฒนธรรมทังทางวัตถุและจิตใจเป็ นอย่างดี แม้ ในปั จจุบันคนพม่าอาจจะพึ่งพารัฐไม่ได้
                         ้
แต่ก็พึ่งวัดได้
เอกสารอ้ างอิง

ภาษาไทย

    กิติมา อมรทัต. พมา (สหภาพเมียนมาร์ ). พิมพ์ครังที่2. กรุงเทพฯ: บริษัท สานักพิมพ์หน้ าต่างสูโลก
                                                  ้                                            ่
กว้ าง จากัด, 2543.
    พวงนิล คาปั งสุ์. พมา. กรุงเทพฯ: บริษัท สานักพิมพ์หน้ าต่างสูโลกกว้ าง จากัด, 2546.
                                                                 ่
    นฤมล ธีรวัฒน์ และคณะ. มองพมาผานชเวดากอง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์โอ.เอส.พรินติ ้งเฮ้ าส์, 2551.
                                                                         ้
    สุภทรดิศ ดิศกุล. เที่ยวดงเจดีย์ท่ พมาประเทศ. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มติชน, 2545.
       ั                              ี

รายการอ้ างอิงทางอิเลกทรอนิกส์

    สุริยา เพลินทรัพย์. พระบรมธาตุ. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา

http://student.nu.ac.th/phratad/index.htm (29 สิงหาคม 2545)

    ร้ อยเรียงเรื่องราว. คติไหว้ พระธาตุประจาปี เกิด. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา

http://www.travelfortoday.com/story_partart.htm (24 พฤษภาคม 2547)

    Catfishae. โปสการ์ ดเลาเรื่อง ตอนที่ 2. (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา

http://www.oknation.net/blog/print.php?id=540423 (1 ธันวาคม 2552)

    ทีวีช่องคุณธรรม. เจดีย์ชเวดากอง. (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา

http://www.dmc.tv/pages/latest_update/Myanmar_Buddhism_2.html (14 พ.ย. 2550)

    Joeeleo. พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง Shwedagon. (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา

http://joeeleo.multiply.com/photos/album/60/60# (23 พฤศจิกายน 2551)

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
tippaya6563
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชน
Tongsamut vorasan
 
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบอิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
Kumobarick Achiroki
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ampy48
 

La actualidad más candente (18)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชา
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชน
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
Onet social
Onet socialOnet social
Onet social
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรม
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบอิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
กลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการกลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการ
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
 

Similar a พระธาตุชเวดากอง

พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้
Kasetsart University
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนา
primpatcha
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนา
primpatcha
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนา
primpatcha
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีน
Thammasat University
 
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรม
supreedada
 
ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทย
Thaiway Thanathep
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
linda471129101
 

Similar a พระธาตุชเวดากอง (20)

พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้งแผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
 
Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้พระพุทธศาสนากับป่าไม้
พระพุทธศาสนากับป่าไม้
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนา
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนา
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนา
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีน
 
ฮินดู
ฮินดูฮินดู
ฮินดู
 
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรม
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
รายงานวันลอยกระทง
รายงานวันลอยกระทงรายงานวันลอยกระทง
รายงานวันลอยกระทง
 
loy krathong Festival
loy krathong  Festivalloy krathong  Festival
loy krathong Festival
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
 
ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทย
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 
วั
วัวั
วั
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
Saeng Dhamma in May 2010
Saeng Dhamma in May 2010Saeng Dhamma in May 2010
Saeng Dhamma in May 2010
 

พระธาตุชเวดากอง

  • 1. พระมหาเจดีย์ชเวดากอง: ความเชื่อและพิธีกรรมปี นักษัตร นางสาวคุณากร หนูนนท์ ั 5224610377 ในสมัย โบราณพม่า มีค วามเชื่ อทางด้ านพระพุท ธศาสนาเป็ นอย่ า งยิ่ ง ตังแต่พัฒ นาการทาง ้ ประวัติศาสตร์ การเมืองของพม่า โดยเฉพาะการยึดครองพม่าตอนล่างโดยจักรวรรดินิยมอังกฤษตังแต่ปี ้ พ.ศ.2367 เป็ นต้ นมา ส่งผลให้ ผ้ คนในพม่าหันมานับ ถือมากยิ่งขึ ้นตังแต่อดีตจนถึงปั จ จุบัน ซึ่งพระมหา ู ้ เจดีย์ชเวดากองเป็ นจุดเริ่มต้ นของความเป็ นพม่า เนื่องจากเจดีย์นีเ้ ป็ นศูนย์รวมทางศาสนาและความเชื่อ อีกทังยังเป็ นสัญลักษณ์เด่นของความเป็ นพม่าที่แสดงออกถึงอธิปไตย อิสรภาพ และประเพณีได้ อย่างสง่า ้ งาม ความสาคัญของพระธาตุ ในสังคมพม่าจะนับถือและปฏิบัติตามประเพณี ที่มีลกษณะผสมผสานของศาสนาและความเชื่อ ั ต่างๆ ที่มีอยู่ในดินแดนพม่า อาทิเช่น ความเชื่อของพระมหาเจดีย์ หรื อพระธาตุที่เป็ นจุดรวมศรัทธาแห่ง หนึ่งที่สะท้ อนให้ เห็นถึงความเป็ นพุทธของคนจากทุกชนชันและจากทุกแห่งหนในประเทศพม่าโดยไม่คานึง ้ เชื ้อสายเผ่าพันธุ์ คติการไหว้ พระธาตุ เป็ นตานานความเชื่อของคนล้ านนาทางเหนือและในเขตพม่าว่า เป็ นความเชื่อ ในเรื่องของปี นักษัตรที่สมพันธ์กบปี เกิด และการนับอายุของแต่ละคนที่เป็ นที่รับรู้กนอย่างแพร่หลาย ในแต่ ั ั ั ละปี นัก ษั ตรจึงก าหนดด้ วยสัญ ลัก ษณ์ เ ป็ นสัตว์ป ระจ าปี เกิ ด หรื อที่ เ รี ย กว่า ๑๒ นัก ษั ตร และมีความ สอดคล้ องกับการไหว้ พระธาตุประจาปี เกิด มาแต่โบราณ ซึ่งยึดถือเอาพระธาตุเป็ นที่พึ่ง และคุ้มครองตน ดังนันการไหว้ บูชาพระธาตุทุกคืน จึงเป็ นสิ่งที่ขาดไม่ได้ อีกทังยังถื อกันว่า ในชีวิตหนึ่งควรได้ มีโอกาสไป ้ ้ สักการบูชาสักครัง ให้ เกิดความเป็ นสิริมงคลมีอายุมนขวัญยืนทังยังได้ บญอานิสงส์มาก ้ ั่ ้ ุ "คติการไหว้ พระธาตุ" หมายถึง กระดูก หรือ ส่วนของร่างกายต่างๆ เช่น ผม ขน เล็บ ฟั น หนัง โลหิต ฯลฯ ที่มีคณลักษณะเป็ นที่แตกต่างจากสามัญชนทั่ วไป โดยมีลกษณะคล้ าย ' ธาตุ ' ซึ่งหากมองโดยไม่ ุ ั สังเกตให้ ดีแล้ ว ก็คล้ าย กรวด หิน แก้ ว เพชร ฯลฯ ดังนันคาว่า พระบรมธาตุ และ พระธาตุ ยังอาจหมายถึง ้ สถูปเจดีย์ตางๆได้ อีกด้ วย เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุดอยสุเทพ พระธาตุพนม ฯลฯ ่
  • 2. จะเห็นได้ ว่าค าว่า พระธาตุ มีหมายความถึงพระบรมสารี ริกธาตุของพระพุทธเจ้ าและยังรวมถึ ง สถานที่ ห รื อพระเจดี ย์ ที่ บ รรจุพระบรมธาตุด้วย ซึ่ งในแต่ล ะแห่ง จะมีตานานหรื อประวัติที่ เ ล่าถึ งมูล เหตุการณ์สร้ างพระบรมธาตุเจดี ย์ ซึ่งสัมพันธ์ กับการเสด็จโปรดสัตว์ ของพระพุท ธเจ้ าในดินแดนต่างๆ เหล่านี ้ และสถานที่ที่พระองค์เสด็จไปถึง รวมถึงการสร้ างพระบรมธาตุเจดีย์ขึ ้น ณ ที่นนมักจะกลายเป็ น ั้ เมืองสาคัญ ในเวลาต่อมาอีกทังประวัติ พระธาตุ หรื อตานานพระธาตุนัน ยังอาจหมายถึ งตานาน หรื อ ้ ้ ประวัติความเป็ นมาของบ้ านเมืองแต่ละท้ องถิ่นอีกด้ วย คติการบูชาพระธาตุ สมัยโบราณมักจะบูชาพระบรมธาตุด้วยเครื่องหอม และข้ าวตอกดอกไม้ ตามปกติแล้ วจะสรงพระ ธาตุด้วยน ้าสะอาด อาจเจือด้ วยน ้าหอม เนื่องจากองค์พระบรมธาตุ ส่วนใหญ่บรรจุอยู่ใต้ ฐานพระเจดีย์ การ สรงน าจึง กระท าโดยการราดน า ไปบนองค์ พระเจดีย์ พระธาตุบ างองค์ จ ะต้ องใช้ น าจากแหล่ง พิ เ ศษ ้ ้ ้ อย่ า งเช่ น การสรงน า พระธาตุ ศ รี จ อมทอง ใช้ น า จากน า แม่ก ลางเจื อ ด้ ว ยน า หอมหรื อ แก่ น จัน ทน์ ้ ้ ้ ้ กล่าวได้ ว่าคติ ก ารบูช าพระธาตุปี เกิ ด และ ตานานที่ เ กี่ ยวข้ องสะท้ อนถึ ง การเผยแผ่ของพุท ธ ศาสนาในดินแดนไทยมาแต่โบราณ นอกจากนี ้ การสร้ างพระบรมธาตุเจดีย์ ยังสัมพันธ์กับการเกิดชุมชน เมืองต่างๆ อันก่อให้ เกิดคติความเชื่อ และวัฒนธรรมร่วมกันของผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ โดยเฉพาะใน ภาคเหนื อ ของไทย ที่ มี ก ลุ่ ม ชนมากมายอาศัย อยู่ โดยมี พ ระบรมธาตุเ จดี ย์ และสิ่ ง ส าคั ญ ทาง พระพุทธศาสนา เป็ นศูนย์กลางแห่งจิตใจ1 การเดินทางท่องเที่ยวไหว้ พระธาตุปีเกิด มีความสะดวกเป็ นอย่างยิ่ง เนื่องจากพระธาตุส่วนใหญ่ ตังอยู่ในภาคเหนือ และในเขตพม่า จึงสามารถจัดเส้ นทางสาหรับ ไหว้ พระธาตุ ในจังหวัดใกล้ เ คียงและ ้ ประเทศเพื่อนบ้ านได้ เช่น เชียงใหม่-ลาพูน-ลาปาง หรือ เชียงราย-น่าน-แพร่ เชียงราย-พม่า-ย่างกุ้ง เป็ นต้ น ซึ่งไม่เพียงแต่จะได้ อิ่มใจในบุญกุศล ทว่ายังได้ ชมศิลปะ และสถาปั ตยกรรมอันงดงาม ของแต่ละท้ องถิ่นอีก ด้ วย 1 สุ ริ ย า เ พ ลิ น ท รั พ ย์ . พ ร ะ บ ร ม ธ า ตุ . ( ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ ) . แ ห ล่ ง ที่ ม า http://student.nu.ac.th/phratad/index.htm (29 สิงหาคม 2545)
  • 3. คติการไหว้ พระธาตุประจาปี เกิดและปี นักษัตร ความเชื่อเรื่องพระธาตุเจดีย์ประจาปี เกิดนี ้ ไม่ใช่ข้อวัตรปฏิบติหรือปรากฏในหลักธรรมคาสอนทาง ั พระพุทธศาสนา แต่เป็ นคติความเชื่อดังเดิมของชาวล้ านนา ความเชื่ อนี จะมีมาตังแต่เ มื่อใดไม่ปรากฏ ้ ้ ้ พบว่ามีบนทึกอยู่ในตาราพื ้นเมืองโบราณ สรุปใจความได้ ว่า ก่อนที่วิญญาณจะมาปฏิสนธิในครรภ์ของผู้ ั เป็ นมารดานัน วิญญาณจะลงมา ชุธาตุ ซึ่งหมายถึงการที่ดวงวิญญาณจะลงมาพักอยู่ที่เจดีย์แห่งใดแห่ง ้ หนึ่ง โดยมี ตั๋วเปิ ้ ง (สัตว์ประจานักษัตร) พามาพักไว้ และเมื่อได้ เวลา ดวงวิญญาณก็จะเคลื่อนจากพระ เจดีย์ ไปสถิตอยู่บนกระหม่อมของผู้เป็ นบิดาเป็ นเวลา 7 วัน ก่อนที่จะเคลื่อนเข้ าสูครรภ์ของมารดา และเมื่อ ่ เสียชีวิตลงแล้ ว ดวงวิญญาณก็จะกลับไปพักอยู่ที่เจดีย์นนๆตามเดิม ั้ นอกจากนันความเชื่อเรื่องปี นักษัตรยังสัมพันธ์กบคติการบูชาพระบรมธาตุ ดังปรากฏเป็ นประเพณี ้ ั การชุธาตุห รื อการไหว้ พระธาตุป ระจ าปี เกิ ด โดยครังหนึ่งในชี วิตควรมีโอกาสเดิน ทางไปไหว้ พระธาตุ ้ ประจาปี เกิดของตนเพื่อความเป็ นสิริมงคล ได้ แก่ * นมัสการพระธาตุประจาปี ชวด พระธาตุศรีจอมทอง เชียงใหม่ * นมัสการพระธาตุประจาปี ฉลู พระธาตุลาปางหลวง ลาปาง * นมัสการพระธาตุประจาปี ขาล พระธาตุช่อแฮ แพร่ * นมัสการพระธาตุประจาปี เถาะ พระธาตุแช่แห้ ง น่าน * นมัสการพระธาตุประจาปี มะโรง พระพุทธสิหิงค์ เชียงใหม่ * นมัสการพระธาตุประจาปี มะเส็ง พระศรีมหาโพธิหรือต้ นโพธิ์ * นมัสการพระธาตุประจาปี มะเมีย พระธาตุชเวดากอง พมา * นมัสการพระธาตุประจาปี มะแม พระธาตุดอยสุเทพ เชียงใหม่ * นมัสการพระธาตุประจาปี วอก พระธาตุพนม นครพนม * นมัสการพระธาตุประจาปี ระกา พระธาตุหริภญชัย ลาพูน ุ * นมัสการพระธาตุประจาปี จอ พระธาตุเกศแก้ วจุฬามณี บนสวรรค์ชนดาวดึงส์ ั้
  • 4. * นมัสการพระธาตุประจาปี กุน พระธาตุดอยตุง เชียงราย2 นอกจากนี ้ยังมีความสอดคล้ องกับคติความเชื่อของคนล้ านนาที่เชื่อมาแต่โบราณว่า เมื่อคนเราสิ ้น อายุขยแล้ ว ดวงวิญญาณจะไปสถิตอยู่ตามพระธาตุเจดีย์ต่างๆตามปี นักษัตรที่ เกิด ดังนัน ถ้ าหากได้ ไป ั ้ นมัสการพระธาตุประจาปี เกิดของตนระหว่างที่ยงมีชีวิตอยู่ หรืออย่างน้ อยสักครังหนึ่งในชีวิตย่อมถือได้ ว่า ั ้ บุญกุศลและมีอายุยืนนาน กล่าวได้ ว่า คนปี มะเมีย (ม้ า) เมื่อมีเคราะห์หรื อชีวิตช่วงใดรู้สึกว่าทาอะไรก็ ติดขัดไปหมด อยู่ไม่ติดบ้ าน มีปัญหามีอปสรรคมาก การดาเนินชีวิตไม่ราบรื่ น ควรหาเวลาโอกาสไปบูชา ุ พระธาตุประจาปี เกิดของตน ซึ่งคนปี มะเมียต้ องไปบูชา พระธาตุย่างกุ้ง หรื อพระเจดีย์ชเวดากอง ประเทศ พม่านั่น เอง ให้ ได้ ระหว่างที่ มีชี วิตอยู่หรื ออย่ างน้ อยสักครังหนึ่งในชีวิต ซึ่งนอกจากความยุ่งยากความ ้ เดือดร้ อนต่างๆในชีวิตของท่านจะคลี่คลายไปในทางที่ดีขึ ้น ยังถื อว่าท่านได้ กศลและมีอายุยืน ที่สาคัญการ ุ ที่ท่านได้ มานมัสการพระบรมธาตุนน โบราณท่านว่าได้ อานิสงค์มาก คือ ได้ บญกุศลมากนันเอง ั้ ุ ่ ดังนัน การที่บคคลซึ่งเกิดในปี นักษัตรใดก็ตาม สมควรที่จะหาโอกาสไปกราบไหว้ พระธาตุประจาปี ้ ุ เกิดของตน ให้ ได้ อย่างน้ อยครังหนึ่งในชีวิต เพราะเชื่อกันว่าเป็ นมงคลแก่ชีวิต มีอานิสงส์สงและจะทาให้ มี ้ ู อายุยืนนาน รวมถึงเชื่อว่าหากสิ ้นชีพไป ดวงวิญญาณจะได้ กลับไปยังพระธาตุองค์นน ไม่ต้องเร่ร่อนไปใน ั้ ทุกคติภพอื่นๆ ซึ่งความเชื่อเหล่านี ้เองที่แพร่หลายไปสูหลายๆพื ้นที่ของประเทศต่างๆ นอกจากนีความเชื่อ ่ ้ ดังกล่าวยังส่งผลให้ พระพุทธศาสนาดารงอยู่สืบต่อไป และทาให้ สถานที่ตามพระธาตุประจาวันเกิดต่างๆได้ กลายมาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ทางวัฒนธรรมได้ อีกด้ วย ความเป็ นมาของพระธาตุชเวดากอง หลังจากทรงปราบปรามประเทศพม่าภาคใต้ ได้ ใน พ.ศ. 2298 พระเจ้ าอลองพระหรื ออลองพยาก็ ทรงตังชื่อเมืองเล็กๆที่เคยมีชื่อมาแต่ก่อนว่า ดากอง (Dagon) ใหม่วา ยังกอง (Yan-gon) ซึ่งอาจแปลได้ ว่า ้ ่ การยุติแห่งความยุ่งยาก และทรงสร้ างเมืองใหม่ขึ ้น ณ ที่นน ในไม่ช้าเมืองยังกองหรื อย่างกุ้งก็ได้ กลายเป็ น ั้ เมืองท่าบนฝั่ งทะเลเมื่อเมืองสิเรี ยมซึ่งเคยเป็ นเมืองท่ามาก่อนได้ ถูกพระเจ้ าอลองพระทรงทาลายในพ.ศ. 2299 2 ร้ อยเรี ยงเรื่ องราว. คติ ไ หว้ พระธาตุ ประจ าปี เกิ ด . (ระบบออนไลน์ ). แหล่ ง ที่ มา http://www.travelfortoday.com/story_partart.htm (24 พฤษภาคม 2547)
  • 5. อย่างไรก็ดี เมืองยางกุ้งเพิ่งจะได้ กลายเป็ นราชธานีของประเทศพม่า และตามประวัติศาสตร์ เมือง นี ้ก็เก่าขึ ้นไปจนถึงพุทธศตวรรษที่ 16 2,000 แล้ ว "ชเว" คือ ทอง ส่วน "ดากอง" คือชื่อเดิมของเมืองย่างกุ้ง สมัยที่พระเจ้ าอลองพญาสถาปนาเมืองเล็กริมฝั่ งแม่น ้าแห่งนี ้ขึ ้นเมื่อปี พ.ศ.22983 พระธาตุชเวดากอง (ชเวติโก่งพยา) ตังอยู่บริเวณเนินเขาเชียงกุตระ เมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่า ซึ่ง ้ เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของประเทศพม่าที่มีความสาคัญยิ่งกับชาวพม่า เนื่องจากจะเป็ นศูนย์รวมศรัทธา แล้ วยังเป็ นสัญ ลัก ษณ์ ที่แสดงออกถึงอธิ ป ไตย และอิสรภาพของชาติพม่า แต่สถานการณ์ต่างๆท าให้ เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งเป็ นการเปลี่ยนแปลงที่ดีจะนาความเจริญงอกงามมาสูประเทศ และพระเจดีย์ชเวดากอง ่ ก็ได้ กลายเป็ นเป็ นเจดีย์ที่สงที่สดและเก่าแก่ที่สดในโลก ู ุ ุ พระธาตุช เวดากอง ได้ เ ริ่ มสร้ างมาเป็ นครั งแรกตังแต่ส มัย ที่ พระพุท ธเจ้ า ทรงตรัสรู้ หรื อ เมื่ อ ้ ้ ประมาณ 2,595 ปี มาแล้ ว ในสมัยที่ย่างกุ้งยังเป็ นเพียงเมืองเล็ก ๆ ที่ชื่อว่าเมืองอสิตนชนะหรืออีกชื่อหนึ่งคือ ั เมืองโอกกะละ โดยได้ มีพ่อค้ าชาวมอญ 2 คนชื่อว่า ตผุสสะ และภัลลิกะ ได้ เดินทางไปค้ าขายยังประเทศ อิน เดีย ทัง สองได้ มีโอกาสเข้ าเฝาพระพุท ธเจ้ าซึ่งก าลัง ประทับ อยู่ใต้ ต้ น พระศรี มหาโพธิ์ และได้ ถ วาย ้ ้ ภัตตาหารแด่พระองค์ด้วย หลังจากเสวยเสร็จแล้ ว พระพุทธเจ้ าได้ ประทานพระเกศาให้ 8 เส้ น เมื่อตผุสสะ และภัลลิกะเดินทางกลับ พระราชาแห่งอเชตตะได้ ขอแบ่งพระเกศธาตุไป 2 เส้ น พญานาคขอไปอีก 2 เส้ น 3 Joeeleo. พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง Shwedagon. (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา http://joeeleo.multiply.com/photos/album/60/60# (23 พฤศจิกายน 2551)
  • 6. เมื่อเดินทางกลับ ถึงเมืองอสิตนชนะ พระเจ้ าโอกกะละปะก็ได้ ทรงประกอบพิธีต้อนรับ พระเกศธาตุอย่าง ั ยิ่งใหญ่ และได้ ทรง คัดเลือกสถานที่บนเขาสิงฆุตตระนอกประตูเมืองอสิตนชนะให้ เป็ นที่สร้ างพระเจดีย์เพื่ อ ั บรรจุพ ระเกศธาตุ แต่ข ณะที่ ก าลัง ท าการขุดดิ น ก่ อ สร้ างนัน ก็ ไ ด้ ค้ น พบ พระบริ โ ภคเจดี ย์ ข องอดี ต ้ พระพุทธเจ้ าองค์อื่น ๆอีก 3 พระองค์ด้วย คือไม้ ธารพระกร ภาชนะสาหรับใส่นา และสบง จึงได้ บรรจุของ ้ ทังหมดนี ้ในพระเจดีย์พร้ อมกับพระเกศธาตุด้วย แต่ก่อนที่จะบรรจุ ก็ค้นพบด้ วยว่ า พระเกศธาตุกลับมี 8 ้ เส้ นดังเดิม พระเกศธาตุได้ บรรจุไว้ ภายในเจดีย์ทอง เงิน ดีบก ทองแดง ตะกัว หินอ่อน และเหล็กตามลาดับ ุ ่ เสร็จแล้ วจึงสร้ างเจดีย์อิฐสูงประมาณ 66 ฟุตครอบไว้ ภายนอก จากนันก็มีการสร้ างเจดีย์ครอบองค์เดิมใน ้ รัชสมัยของกษัตริ ย์ต่าง ๆ รวมถึ ง 7 ครังด้ วยกัน โดยในสมัยพระนางเชงสอบูแห่งกรุงหงสาวดีก็ได้ ทรง ้ บริจาคทองคาถึง 40 กิโลกรัม ซึ่งเท่ากับน ้าหนักของพระองค์ในการก่อสร้ างพระเจดีย์ที่มีรูปร่างเหมือนใน ปั จจุบนเป็ นครังแรก ส่วนพระเจ้ าธรรมเจดีย์ซึ่งครองราชย์ต่อจากพระนางเชงสอบู ก็ได้ บริ จาคทองในการ ั ้ ก่อสร้ างเพิ่มเติมเป็ นน ้าหนักเท่ากับน ้าหนักของพระองค์และพระมเหสีรวมกันด้ วย ทังยังได้ ทรงสร้ างจารึก ้ เล่าประวัติของพระเจดีย์ชเวดากองเป็ นภาษาพม่า มอญและบาลีไว้ ด้วย4 จากนัน ปี พ.ศ. 2317 พระเจ้ ามังระ หรือพระเจ้ าช้ างเผือก แห่งกรุงอังวะ (กษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของ ้ ราชวงศ์อลองพญาของพม่า) ได้ ตอเติมยอดฉัตรเจดีย์ขึ ้นใหม่ โดยถอดฉัตรเดิมที่มอญเคยทา เป็ นแบบพม่า ่ ขึ ้นไปแทน ซึ่งประกอบด้ วยระฆังเงิน ระฆังทองเหลือง ระฆังทองคาโดยระฆังแต่ละใบจะจารึกชื่อผู้บริ จาค ไว้ ด้วย ส่วนระฆังทองคาบางใบจะมีเพชรประดับเพชรด้ วยระฆังทังหมดนี ้ติดไว้ ที่ฉตร ทาให้ เจดี ย์ชเวดากอง ้ ั มีความสูงเท่ากับในปั จจุบน แต่ฉตรนี ้ก็ถกเปลี่ยนใหม่อีกครังในรัชสมัยของพระเจ้ ามินดงใน พ.ศ. 2414 ั ั ู ้ ปั จจุบันพระเจดีย์ชเวดากองมีความสูงประมาณ 109 เมตร รอบฐานเจดีย์มีเจดีย์องค์เล็กๆ ราย ล้ อมอีก 65 องค์ ซึ่งก็คือ ในภาพถ่ายที่ 2 ของโปสการ์ดนีนั่นเอง และเจดีย์องค์ใหญ่อีก 4 องค์ รอบเจดีย์มี ้ พระประจาวันเกิดประดิษฐานทังแปดทิศตามหลักนพเคราะห์ คือ พระประจาวันจันทร์ วันอังคาร วันพุธ ้ (เช้ า) วันพุธ(เย็น) วันพฤหัสบดี วันศุกร์ วันเสาร์ และวันอาทิตย์ ใครเกิดวันไหนก็ไปสรงนาพระประจาวัน ้ เกิดของตน 4 กิติมา อมรทัต. พมา (สหภาพเมียนมาร์ ). พิมพ์ครังที่ 2. กรุงเทพฯ: บริ ษัท สานักพิมพ์หน้ าต่างสู่โลก ้ กว้ าง จากัด, 2543.
  • 7. เจดีย์ชเวดากองนันยึดหลักไตรภูมิวา องค์เจดีย์ชเวดากอง คือ ศูนย์กลางแห่งจักรวาลล้ อมรอบด้ วย ้ ่ ภูเขาสัตบริภณฑ์ (เจดีย์องค์เล็ก) และมหานทีสีทนดร ทาให้ นึกถึงวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามที่สร้ างตาม ั ั คติความเชื่อไตรภูมิเหมือนกัน โดยรอบจักรวาลแบ่งเป็ น 8 ทิศ แทนวันในหนึ่งสัปดาห์ (วัน 8 คือ วันพุธ (เย็น)) นอกจากนี ้ยังมีสตว์สญลักษณ์แทนดาวพระเคราะห์ดวงต่างๆ ตามตาราโหรศาสตร์ด้วย5 ั ั ซึ่งจากพัฒนาการทางประวัติศาสตร์การเมืองของพม่า ส่งผลให้ ความภูมิใจในพระมหาเจดีย์ชเวดา กองคงมิได้ มาจากศรัทธาหรือความรู้ในหลักสุนทรียศาสตร์เท่านัน แต่เป็ นการชื่นชมในศักดิ์ศรีของประเทศ ้ ที่ได้ ผานการต่อสู้เพื่อเอกราชและอธิปไตยมาแล้ วอย่างโชกโชน ่ ลักษณะการกอสร้ าง เมื่อกล่าวถึงลักษณะงานสถาปั ตยกรรมของพระมหาเจดีย์ชเวดากองจะพบว่า มีลกษณะสาคัญ ั ของระบบจักรวาลพุทธ – ฮินดูสอดคล้ องอยู่6 ทังเจดีย์และวิหารล้ วนเป็ นศูนย์กลางของกิจกรรมต่างๆ ทาง ้ สังคมวัฒนธรรม 5 Catfishae. โ ป ส ก า ร์ ด เ ล า เ รื่ อ ง ต อ น ที่ 2. ( ร ะ บ บ ออ น ไ ล น์ ) แ ห ล่ ง ที่ ม า http://www.oknation.net/blog/print.php?id=540423 (1 ธันวาคม 2552) 6 อันประกอบขึ ้นจากการรวมตัวของธาตุ ซึ่งจักรวาลที่เราอยู่อาศัยมิใช่มีเพียงจักรวาลเดียวเท่านัน แต่ยังมี ้ จักรวาลนับไม่ถ้วน ที่เรียกว่า อนันตจักรวาล และใน จักรวาลที่มากมายนัน จะมีองค์ประกอบที่เหมือนกัน ้ ทุกประการ จักรวาลเป็ นที่อยู่อาศัยของสัตวโลกทัง หยาบและละเอียดจานวนมาก ที่เรามองเห็นและมองไม่ ้ เห็น มีอยู่ถึง 31 ภูมิด้วยกัน แต่ละภพภูมิมีความ เป็ นอยู่ที่แตกต่างกัน ตามลักษณะบุญและบาปที่เกิดจาก การกระทาของตนในครังเป็ นมนุษย์ และมนุสสภูมิ เป็ นศูนย์กลางของการทาความดีและความชัว โดยมีภพ ้ ่ ภูมิอื่น เป็ นผลรองรับการทาบุญและบาปของมนุษย์
  • 8. ปลายยอดสถูปประดับด้ วยเพชร 5,448 เม็ด ทับทิม นิล และบุษราคัมอีก 2,317 เม็ด มีมรกตเม็ดเขื่องอยู่ตรง กลาง เพื่อรับลาแสงแรกและลาแสงสุดท้ ายของดวงอาทิตย์ ทั ้งหมดนี ้ประดับอยู่ด้านบนเหนือฉัตรขนาด 10 เมตร ซึงสร้ าง ่ ขึ ้นบนไม้ ห้ มทองเจ็ดเส้ น ประดับด้ วยกระดิ่งทองคา 1,065 ลูก และกระดิ่งเงิน 420 ลูก ุ พ ร ะ เ จ ดี ย์ ช เ ว ด า ก อ ง เ ป็ น เ จ ดี ย์ คู่ บ้ า น คู่ เ มื อ ง ข อ ง ช า ว พ ม่ า ค า ว่ า ช เ ว (Shwe) หมายถึ ง ทองค า ส่วน ดากอง มาจากคาว่า Dagon หรื อ ตะเกิ ง ซึ่งเป็ นนามเดิมของนครย่ าง กุ้ง “ชเวดากอง” แปลว่า “เจดีย์ทองแห่งเมืองดากอง” ได้ รับการบูรณปฏิสงขรณ์มาหลายครังด้ วยกัน ราช ั ้ ประเพณี ของกษัต ริ ย์มอญ และพม่า เมื่อจะขึ ้นครองราชย์ จะต้ องท านุบารุงบูรณะองค์พระเจดีย์ และมี บางพระองค์ถวายทองคาเท่ากับ หรือ มากกว่าน ้าหนักของพระองค์ เพื่อนามาห่อหุ้มองค์มหาเจดีย์ทงองค์ ั้ ส่วนเรือนยอดประดับด้ วยเพชร 5,448 เม็ด รวมทังทับทิม นิล และบุษราคัมอีก 2,317 เม็ด และที่ปลายยอด ้ ประดับด้ วย เพชรเม็ดที่ใหญ่ที่สด ขนาด 72 กระรัต ุ ปั จจุบนพระเจดีย์มีความสูง 326 ฟุต เส้ นรอบวง 1,420 ฟุต สูงกว่าระดับน ้าทะเล 190 ฟุต ประดับ ั ด้ วยแผ่นทองคา 4 หมื่นแผ่น รวมนาหนักทอง 8 ตัน สาหรับฉัตรซึ่งครอบยอดเจดีย์ ก็มีการซ่อมแซมหรื อ ้ สร้ างขึ ้นใหม่มาเป็ นระยะๆ ฉัตรเก่าสร้ างในสมัยพระเจ้ ามิน ดงในปี ค.ศ. 1871 สูง 33 ฟุต เส้ นผ่าศูนย์กลาง 18 ฟุต ขณะนี ้ก็ยังตังไว้ ให้ ประชาชนได้ ชมอยู่ ครังล่าสุดได้ มีการสร้ างฉัตรขึ ้นใหม่เมื่อ 8 ปี ที่ผ่านมานีเ้ อง ้ ้ โดยประดับเพชรพลอยรวมถึง 4,351 เม็ดรวม น ้าหนัก 2,000 กะรัต เพชรเม็ดใหญ่ที่สดบนยอดฉัตรมีฐาน ุ กว้ าง 2 ฟุต ยาว 1 ฟุต 10 นิ ้ว และหนัก 76 กะรัต นอกจากนี ้ พระเจดีย์ชเวดากองก็ยังมีวตถุที่มีคณค่าทาง ั ุ ศาสนา ศิลปะ ประวัติศาสตร์ และอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น ระฆัง ที่พระเจ้ าสิงคุ (Singhu) ทรงสร้ างไว้ เมื่อปี ค.ศ. 1778 หล่อด้ วยปั ญจโลหะ คือทอง เงิน ทองแดง ตะกั่วและสังกะสี สูง 8 ฟุต หนัก 23 ตัน ในปี ค.ศ. 1824 พม่าได้ ทาสงครามกับอังกฤษเป็ นครังแรกและอังกฤษได้ ยึดเจดีย์ชเวดากองได้ และได้ ขนทรัพย์สิน ้ แก้ วแหวนเงินทองไปหลายอย่าง รวมทังได้ คิดที่จะขนย้ ายระฆังใบนีกลับไปอังกฤษด้ วย แต่ระหว่างการ ้ ้
  • 9. เดินทางเรือที่ขนระฆังจมลงที่แม่น ้าย่างกุ้ง ต่อมาพม่าจึงทาการกู้ระฆังใบนี ้ด้ วยตนเองและนามาติดตังไว้ ที่ ้ เจดีย์ชเวดากองได้ เช่นเดิม ซึ่งเป็ นที่ภาคภูมิใจของประชาชนพม่าโดยทัวไปมาจนทุกวันนี ้นอกจากนันก็ยงมี ่ ้ ั พระพุทธรูปสลักจากหยกทังก้ อน ซึ่งได้ มาจากรัฐคะฉิ่นในปี ค.ศ. 1999 ในโอกาสที่ได้ สร้ างฉัตรใหม่ และยัง ้ มีต้นพระศรีมหาโพธิ์ซึ่งได้ นาเมล็ดมาปลูกจากพุทธคยาเมื่อ 79 ปี ก่อน และของมีคาอื่น ๆ อีกมากมาย7 ่ ซึ่ง การดูแลรักษาเจดีย์ ช เวดากอง ในทุก ๆ 50ปี จะน ายอดฉัตรของพระเจดีย์ ลงมาบูรณะ และ อนุญาตให้ ประชาชน นาเครื่องสักการะ คือ เครื่องประดับอัญมณี แก้ ว แหวน เงินทอง เพชร นิล จินดา มา ถวายเป็ นพุทธบูชา เพื่อขึ ้นติดไว้ บนยอดฉัตรของพระเจดีย์ การสักการะพระเจดีย์ การสักการะพระเจดีย์ชเวดากอง มี 2 แบบ คือ แบบสามัญและแบบวิสามัญ 1. แบบสามัญ โดยการถือเครื่องสักการะขึ ้นไปยังวิหาร จากนันก็จดธูปเทียนถวายเครื่องสักการะกราบไหว้ สวดคา ้ ุ บูชารัตนตรัย แล้ วเดินประทักษิ ณพระเจดีย์ชเวดากอง (หมายถึง หันด้ านขวาเข้ าหาองค์พระเจดีย์ โดยมาก จะเดินเวียนรอบพระเจดีย์ 3 รอบ) เป็ นอับเสร็จพิธี 2. แบบวิสามัญ เกี่ยวเนื่องกับเทวดานพเคราะห์ คนพม่านับถือตารานพเคราะห์อย่างเดียวกับไทยเรา เหมือนเช่นให้ ชื่อคนก็ขึ ้นด้ วยตัวอักษรตามวรรคประจาวันเป็ นต้ น แต่พม่าจะนับถือเทวดานพเคราะห์ยิ่งกว่าไทยเสียอีก ที่ ลานพระเจดีย์ชเวดากอง (และพระมหาธาตุองค์อื่นๆก็เหมือนกัน) ทาหลักปายมีรูปเทวดากับสัตว์พาหนะ ้ และมีชื่อบอกนามปั กประจาไว้ ตามทิศทัง 8 ได้ แก่ ้ วันอาทิตย์ - ครุฑ อยู่ที่ทิศตะวันออกเฉียง เหนือของลานเจดีย์ วันจันทร์ - เสือ อยู่ทิศตะวันออก วันอังคาร - สิงห์ อยู่ทิศตะวันออกเฉียงใต้ 7 พวงนิล คาปั งสุ์. พมา. กรุงเทพฯ: บริษัท สานักพิมพ์หน้ าต่างสูโลกกว้ าง จากัด, 2546. ่
  • 10. วันพุธ (เช้ า) - ช้ างงา อยู่ทิศใต้ วันพุธ(กลางคืน) - ช้ างไม่มีงา อยู่ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ วันพฤหัสบดี - หนู อยู่ทิศตะวันตก วันศุกร์ - หนูตะเภา (บางคนเชื่อว่าเป็ น กระต่ายหูสน) อยู่ทิศเหนือ ั้ วันเสาร์ - พญานาค อยู่ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ดังรูปจะเห็นว่า ทางเข้ าพระเจดีย์ชเวดากองจะมีทง 4 ทิศ แต่ทางเข้ าใหญ่คือทางทิศใต้ ซึ่งมีสิงห์นง ั้ ั่ สองตัวสูง 30 เมตรเฝาทางเข้ าอยู่ เมื่อเข้ าไปถึงที่ทาการของคณะกรรมการบริหารชเวดากอง ก็จะได้ รับการ ้ เชื ้อเชิญให้ เข้ าไปในห้ องเพื่อถอดรองเท้ าแล้ วผู้แทนคณะกรรมการเจดีย์ฯซึ่งจะทาหน้ าที่เป็ นมัคคุเทศก์ก็จะ นาไปขึ ้นลิฟต์ซึ่งจะขึ ้นถึงลานใหญ่ของพระเจดีย์เลย ขณะที่ประชาชนต้ องขึ ้นบันไดเลื่อนไกลหน่อย เมื่อขึ ้น ไปถึงลาน มัคคุเทศก์ก็จะนาไปที่ศาลาเพื่อจุดธูปเทียนไหว้ พระ ถวายดอก ไม้ และจตุปัจจัยบารุงเจดีย์ แล้ ว เซ็นหนังสือในสมุดเยี่ยม หลังจาก นันก็เดินพาไปดูของหรือสถานที่สาคัญต่าง ๆ รอบลาน ซึ่งจะมีวิหารใหญ่ ้ 4 ทิศซึ่งประดิษฐานพระพุทธรูปของพระพุทธเจ้ าที่มีมาแล้ วทัง 4 พระองค์คือ พระกักกุสนโธ พระโกนาคม ้ ั พระกัสสปะ และพระโคตมะองค์ปัจจุบนให้ ประชาชนได้ กราบไหว้ ทาบุญด้ วยรวมถึงการไปตีระฆังสิงคุที่เล่า ั มาแล้ วด้ วย 3 ครัง นอกจากนันก็มีการหยุดที่ลานอธิษฐานซึ่งเชื่อกันว่าศักดิสิทธิ์มาก และเท่าที่ทราบก็เคย ้ ้ ์ มีคนใหญ่คนโตของไทยไปตังจิตอธิษฐานจนประสบความสาเร็จมาหลายท่านแล้ ว และก็ยงมีอีกจุดหนึ่งบน ้ ั ลานซึ่งเขาท าจุด ให้ ยืน ไว้ ซึ่งจะท าให้ มองเห็น ประกายเพชรบนยอดฉัตรได้ ด้วยตาเปล่า ที่ น่าสนใจอีก ประการหนึ่งก็คือจะมีพระพุทธรูปและสัตว์สญลักษณ์ประจาวันเกิด ตังอยู่รอบ ๆ ลานเป็ นคู่ ๆ ด้ วย โดยเชื่อ ั ้
  • 11. กันว่าการสรงน ้าพระพุทธรูปและสัตว์เหล่านี ้ จะสร้ างความบริสทธิ์และความสุขความเจริญแก่ผ้ สรงน ้า โดย ุ ู จะรดน ้าด้ วยขันเล็ก ๆ ที่มีจดเตรียมไว้ ให้ เป็ นจานวนเท่าอายุ +1 แต่สาหรับ คนแก่ ๆ ที่อายุ 60-70 ไปแล้ วก็ ั อาจจะย่นย่อลง เหลือ 5 ขันก็ได้ ซึ่งหมายถึงพระรัตนตรัยรวมกับบิดามารดานันเอง ่ การกราบไหว้ พระธาตุเ จดี ย์ ชเวดากองในทุก ๆเช้ า เริ่ มต้ น วันสว่างตังแต่เ วลาตี 4 ทังพระภิก ษุ ้ ้ สามเณร แม่ชี และชาวพม่า จะเดินทางออกจากบ้ าน มาสวดมนต์ นั่ งสมาธิ (Meditation) บูชาพระเจดีย์ และช่วยกันปั ดกวาด ทาความสะอาดพระเจดีย์ ซึ่งคนจะมากันมาก ในช่วงเช้ ามืดก่อนไปทางาน กับช่วง เย็นเวลาหลังเลิกงานตังแต่ 6โมงเย็นจนถึงเวลา 3ทุ่ม ชาวพม่าจะมาสวดมนต์ นั่งสมาธิ เหมือนช่วงเช้ ามืด ้ พอเวลาประมาณ 1ทุ่ม จะมีหนุ่มสาวชาวพม่าจานวนมาก มาช่วยกันกวาดถู ทาความสะอาดพระเจดีย์ กวาดกันเป็ นทิวแถว อย่างพร้ อมเพรียงเหมือนที่วดพระธรรมกายของเรา เวลาของการทาความสะอาดพระ ั เจดีย์จะเป็ นเวลาแห่งความสนุกสนาน ที่ทกคนรอคอยจะเก็บบุญสุดท้ ายก่อนกลับเข้ าบ้ านเพื่อพักผ่อน โดย ุ ทุกคนจะเอาไม้ กวาดและผ้ ามาเอง ทากันอย่างพร้ อมเพรียง เมื่อถึงเวลานอน ชาวพม่าจะหันศีรษะไปทาง ทิศที่เจดีย์ชเวดากองตังอยู่ เพื่อทาความเคารพและบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า ้ และสิ่งที่เป็ นเอกลักษณ์ เป็ นวัฒนธรรมชาวพุทธของชาวพม่า ที่นกท่องเที่ยวทุกคนต้ องปฏิบติ โดย ั ั ไม่เลือกชัน วรรณะ หรื อเผ่าพันธุ์ คือ ประเพณีการถอดรองเท้ าเข้ าวัด รวมถึงถุงเท้ า และถุงน่องก็ห้ามใส่ ้ ชาวพม่าจะถือเคร่งครัดมาก ไม่วาเด็ก ผู้ใหญ่ หากเป็ นนักท่องเที่ยวเผลอสวมรองเท้ าเดินเข้ าเขตวัด เขาจะ ่ ร้ องทัก ตักเตือน ให้ ถอดทันที โดยไม่ดดาย เพราะถือว่า เป็ นหน้ าที่ของเขาที่จะรักษาสถานที่ศกดิ์สิทธิ์ มิให้ ู ั ผู้ใดล่วงละเมิดได้ 8 ดังนันจะเห็นได้ วาพระเจดีย์ชเวดากอง ศาสนสถานอันยิ่งใหญ่สาคัญ และมีชื่อเสียงมากที่สดใน ้ ่ ุ ประเทศพม่า เป็ นสิ่งศักดิสิทธิ์ที่ชาวพม่านับถือสูงสุดเป็ นศูนย์รวมจิตใจของชาวพม่าทุกคน ที่แม้ จะอยู่ไกล ์ แสนไกลขนาดไหน การเดินทางจะลาบากยากเข็ญเพียงไรจะต้ องเดินทางมานมัสการองค์เจดีย์ชเวดากอง ให้ ได้ สกครังหนึ่งในชีวิต ั ้ 8 ที วี ช่ อ ง คุ ณ ธ ร ร ม . เ จ ดี ย์ ช เ ว ด า ก อ ง . ( ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ ) แ ห ล่ ง ที่ ม า http://www.dmc.tv/pages/latest_update/Myanmar_Buddhism_2.html (14 พ.ย. 2550)
  • 12. ความเชื่อพระธาตุชเวดากองและปี นักษัตรในมิติตางๆ พระธาตุชเวดากอง เป็ นแหล่งสถานที่สาคัญแห่งหนึ่งที่รวบรวมพลังศรัทธาของพุทธศาสนิกชนชาว พม่าที่มีต่อพระพุทธศาสานา ซึ่งความเชื่อนี ทาให้ ชาวพม่ายังคงอนุรักษ์ ขนบธรรมเนียมทางพุทธศาสนา ้ เอาไว้ อย่ างเหนียวแน่น และมีศ รัทธาในพุทธศาสนาสูงในแต่ละวัน ไม่ว่าจะเป็ นวัน ธรรมดา วันหยุดสุด สัปดาห์ วันสาคัญทางศาสนา ผู้คนจะหลังไหลไปกราบไหว้ ทาบุญที่วดต่างๆ ไม่ขาดสาย ดังนันคติความ ่ ั ้ เชื่อในด้ านพระพุทธศาสนา จึงเป็ นส่วนสาคัญที่ทาให้ พระธาตุเจดีย์ชเวดากองเป็ นศูนย์รวมความศรัทธาใน ด้ านต่างๆ ไม่วาจะเป็ นทางด้ านสังคม การเมือง เศรษฐกิจ เป็ นต้ น ่ ในด้ านการเมืองพม่าหรือสหภาพเมียนมาร์ เป็ นประเทศสังคมนิยม แต่ความเชื่อในทางศาสนาและ ประเพณีพิธีกรรมยังคงมีความหมายและความสาคัญอย่างมาก ศาสนาพุทธกับประชาชนพม่านัน ดูจะมี ้ ส่วนเกี่ยวข้ อง ช่วยเหลือกันอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องกันมาเป็ นเวลายาวนานตังแต่อดีต แม้ การสนับสนุน ้ จะไม่ได้ มาจากกษัตริย์ดงเช่นในอดีต แต่ศาสนาพุทธก็จาเป็ นต้ องดารงอยู่ เพื่อทาหน้ าที่ที่เป็ นมากกว่าสิ่ง ั เคารพและความเชื่อที่สงต่อมาจนถึงปั จจุบน ่ ั ในสังคมพม่า พระพุทธศาสนาและวัดเองยังคงมีความสาคัญต่อวิถีชีวิตอับสงบสุขของพม่าอย่าง เห็นได้ ชด กล่าวได้ วา วัด เป็ นศูนย์กลางของชุมชน เป็ นสถานที่โอ่โถงและงดงาม ขณะที่ความเป็ นอยู่ของ ั ่ ชาวพม่าเองอยู่ในสภาพซอมซ่อยากจนน่าเวทนามาก วัดพม่าโดยมากสร้ างประณีตด้ วยศิลปกรรมปูนปั น ้ ไม้ แกะสลัก และมีบริเวณวัดที่สะอาดร่มรื่ น ผู้คนทังเด็ก ผู้ใหญ่ และคนแก่จะพากันมากราบไหว้ พระและ ้ ทาบุญเป็ นประจา ส่วนในด้ านเศรษฐกิจนัน พระมหาเจดีย์ชเวดากอง นอกจากจะเป็ นศูนย์รวมศรัทธาของชาวพม่า ้ แล้ ว ยังเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวที่สาคัญแห่งหนึ่งที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวจากทุกมุมโลกต้ องมาเยือนพม่า จนเป็ นที่รับรู้กนว่าใครมาถึงพม่าแล้ วไม่ได้ มาชมหรื อนมัสการมหาเจดีย์ชเวดากองก็เหมือนมาไม่ถึงพม่า ั นอกจากนีเ้ ราพบว่าความสาคัญของพระพุทธศาสนานันเชื่อมโยงกับพระธาตุในปั จจุบนได้ ดงนี ้ ้ ั ั 1. เป็ นสถาบันในการสงเสริม สนับสนุนให้ กับเด็ก และผู้ยากไร้ ได้ เรียนและอาศัย เด็กจานวนมากทังหญิ งและชายที่กาพร้ าและยากจนจานวนมากถูกส่งตัวมายังวัด และวัดได้ ให้ ้ การสนับสนุนให้ เด็กที่ยากจนและขาดโอกาสทางการศึกษาได้ เข้ ามาเรียนฟรี พร้ อมทังมีอาหารและที่อยู่ได้ ้
  • 13. พักอาศัยอีกด้ วย ตัวอย่างวัดดังกล่าวมีชื่อว่า วัดผองดอว์อู ซึ่งตัววัดจะมีการรับเด็กจากทั่วทังประเทศพม่า ้ มาเลี ้ยงดู และให้ การศึกษาเพื่อที่จะให้ เด็กมีชีวิตในอนาคตที่ดี 2. เป็ นที่พ่งทางใจให้ กับการดารงชีวต ึ ิ พระพุทธรูป และสิ่งเคารพอันมีความสาคัญต่อชาวพม่าทั่วไป การแขวนผ้ าสี การประดับไฟ หรื อ การจุดธูปเทียนกราบไหว้ สิ่งอันเป็ นสัญลักษณ์ของความศักดิสิทธิ์ ได้ กลายเป็ นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของชาว ์ พม่าไปซะแล้ ว ในบริเวณรอบ ๆ วัด เราจะพบเห็นการเข้ ามาขอพร หรือการรดนาประจาวันเกิดตลอดเวลา ้ จากการสังเกตช่วงเวลาที่อยู่ในเจดีย์ชเวดากอง บริเวณที่มีการสรงน ้าพระประจาวันเกิดนัน ได้ พบเห็นผู้คน ้ เข้ ามาสรงน ้าตลอดเวลา 3. เป็ นพลังในการขับเคลื่อนทางสังคม จากเหตุการณ์ที่ผานมาของพม่า จะเห็นว่าการรวมตัวของประชาชนชาวพม่านัน ย่อมก่อร่างสร้ าง ่ ้ ตัวจากกลุ่มพระสงฆ์ที่มีความคิดในการร่วมเปลี่ยนแปลงสังคม ให้ เป็ นไปในลัก ษณะของประชาธิปไตย ร่วมกับนางออง ซาน ซูจี ศาสนาพุทธได้ ใช้ ความเป็ นผู้ร่วมศรัทธาในสิ่งเดียวกันในการติดต่อและสร้ างพลัง อันยิ่งใหญ่ให้ เกิดขึ ้นในสังคมที่มีความแตกต่างเป็ นอย่างมากทางชาติพันธ์ให้ เกิดขึ ้นได้ พระสงฆ์ไม่ได้ มี หน้ าที่ในการศึกษาพระธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้ าเพียงอย่างเดียว แต่พระสงฆ์ในประเทศพม่านัน ยังมี ้ ความจ าเป็ นที่ ต้ องศึก ษาทางโลกและด าเนิ น การเกี่ ย วกับ ทางโลกโดยเป็ น เสมือนครู ที่ เ ปิ ดกว้ างทาง ความคิดให้ แก่ประชาชน อย่างที่ ได้ กล่าวไว้ ในข้ อแรกว่า ศาสนาเป็ นสถานบันที่ส่งเสริ มให้ ผ้ ยากไร้ และ ู ยากจนได้ เข้ ามาอยู่พก อาศัย และเรียนหนังสือ ทาให้ ความสัมพันธ์ของประชาชนกับศาสนามีความผูกพัน ั กันยิ่งกว่าสถาบันอื่น ๆ ในสังคม การที่พระสงฆ์จะใช้ ศาสนาในการดึงผู้คนเข้ ามาร่วมกิจกรรมจึงเป็ นการ ง่ายด้ วย ความคุ้นเคย 4. เป็ นพลังในการลดความขัดแย้ งที่เกิดขึนในสังคม ้ ศาสนาพุทธได้ มีบทบาทในการเจรจาให้ เกิดสันติภาพขึ ้นภายในประเทศ โดยการนาหลักคาสอน ของศาสนาพุทธเข้ ามาเกี่ยวข้ องกับการยุติปัญหาความขัดแย้ ง 9ที่ได้ แสดงให้ เห็นว่าเรื่ องของบาปและบุญ 9 นฤมล ธีรวัฒน์ และคณะ. มองพมาผานชเวดากอง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์โอ.เอส.พรินติ ้งเฮ้ าส์, 2551. ้
  • 14. ของศาสนาพุทธได้ ทาให้ การเจรจาตกลงในการยุติปัญหาเกิดขึ ้นได้ เพราะผลของปั จจุบันจะเป็ นเช่นไร ย่อมขึ ้นอยู่กบบาปและบุญที่ ทาไว้ ในอดีต การอ้ างเหตุผลทางศาสนาเรื่ องนีนน ย่อมทาให้ กลุ่มต่าง ๆ ใน ั ้ ั้ พม่าเข้ าใจได้ ว่า การที่ คนเหล่านันอันหมายถึงทหารผู้มีอานาจเผด็จการอยู่นน ได้ ครองทรัพย์สินต่าง ๆ ้ ั้ ภายในประเทศและมีอานาจมากกว่าพวกเขา เป็ นผลมาจากบุญที่พวกเขาได้ กระทาไว้ ในอดีต ฉะนันการจะ ้ รอให้ ผลบุญหมดจึงเป็ นเรื่องที่ควรกระทา นันคือการรอจนกว่ารัฐบาลทหารจะหมดบุญกุศล และพวกเขาจึง ้ สามารถที่จะรวมประเทศ หรือสามารถเรียกร้ องสิทธิอนควรจะมีตอกลุมของตนเองได้ ั ่ ่ 5. เป็ นวัตถุเพื่อการค้ าขายให้ กับนักทองเที่ยว การเข้ ามายังพม่าในสถานที่ท่องเที่ยวทุกแห่งของประเทศพม่า จะพบเห็นสิ่งของที่ระลึกในรูปแบบ ของพระพุทธรูป เศียร์พระ หรือภาพวาดที่เกี่ยวกับศาสนาในรูปแบบต่าง ๆ คงไม่ใช่เรื่องแปลกอะไร สาหรับ การเปลี่ยนวัฒนธรรมที่พวกเขานับถือและเห็นว่ามีค่าในการนาไปเคารพบูชาที่บ้านสาหรับนักท่องเที่ยว เป็ นอีกหนึ่งกระบวนการที่เกิดจากการเปิ ดการท่องเที่ยวที่กว้ างขึ ้นของประเทศพม่า นักท่องเที่ยวที่หลังไหล ่ เข้ ามาอย่างต่อเนื่องตังแต่ช่วงที่ค วามสงบเริ่ มเกิดขึ ้นในพม่า เป็ นจุดที่ท าให้ ประชาชน หรื อหมู่บ้านที่ มี ้ บริ เ วณใกล้ เ คี ย ง หยิ บ เอาวัฒนธรรมของเขา มาแปรรู ป เป็ นสิน ค้ า หรื อ ที่ เ ราเรี ย กกัน ว่า “การกลาย วัฒนธรรมให้ เป็ นสินค้ า” ดังนัน กล่าวโดยสรุป ด้ วยความศรัทธาอันเปี่ ยมล้ นของชาวเมียนมาร์ (พม่า) ที่มีต่อพระ ้ เจดีย์ชเวดากองนี ้ เราจะเห็นได้ ชัดจากการที่มีประชากรมากราบไหว้ สกการะบูชา เป็ นประจ าทุกวันทุก ั ชัวโมง หรื อทุกๆนาที หรื ออาจเรี ยกได้ ว่า ตลอด 24 ่ 1,440 จะ มา บ ไหว้ พระเจดีย์ตลอดเวลาไม่มีขาด ไม่ว่าจะเป็ นที่ลานพระเจดีย์ หรื อเวลาไหนก็จะพบคนมากราบไหว้ พระ เจดีย์เวลานัน ทังกลางวันและกลางคืน อีกทังความสัมพันธ์ของคนพม่าชนบทและเมืองยังคงเป็ นเรื่ องทาง ้ ้ ้ ศาสนาและประเพณี โดยเฉพาะอย่ างยิ่งพระธาตุช เวดากอง ที่ สะท้ อนให้ เห็นถึงกระบวนการอบรมทาง สังคมและวัฒนธรรมที่ เป็ นไปโดยอัตโนมัติและต่อเนื่องกันมาช้ านานเป็ นสาคัญ เพราะวัดพม่ายังดารง ความศูนย์รวมทางวัฒนธรรมทังทางวัตถุและจิตใจเป็ นอย่างดี แม้ ในปั จจุบันคนพม่าอาจจะพึ่งพารัฐไม่ได้ ้ แต่ก็พึ่งวัดได้
  • 15. เอกสารอ้ างอิง ภาษาไทย กิติมา อมรทัต. พมา (สหภาพเมียนมาร์ ). พิมพ์ครังที่2. กรุงเทพฯ: บริษัท สานักพิมพ์หน้ าต่างสูโลก ้ ่ กว้ าง จากัด, 2543. พวงนิล คาปั งสุ์. พมา. กรุงเทพฯ: บริษัท สานักพิมพ์หน้ าต่างสูโลกกว้ าง จากัด, 2546. ่ นฤมล ธีรวัฒน์ และคณะ. มองพมาผานชเวดากอง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์โอ.เอส.พรินติ ้งเฮ้ าส์, 2551. ้ สุภทรดิศ ดิศกุล. เที่ยวดงเจดีย์ท่ พมาประเทศ. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มติชน, 2545. ั ี รายการอ้ างอิงทางอิเลกทรอนิกส์ สุริยา เพลินทรัพย์. พระบรมธาตุ. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา http://student.nu.ac.th/phratad/index.htm (29 สิงหาคม 2545) ร้ อยเรียงเรื่องราว. คติไหว้ พระธาตุประจาปี เกิด. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา http://www.travelfortoday.com/story_partart.htm (24 พฤษภาคม 2547) Catfishae. โปสการ์ ดเลาเรื่อง ตอนที่ 2. (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา http://www.oknation.net/blog/print.php?id=540423 (1 ธันวาคม 2552) ทีวีช่องคุณธรรม. เจดีย์ชเวดากอง. (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา http://www.dmc.tv/pages/latest_update/Myanmar_Buddhism_2.html (14 พ.ย. 2550) Joeeleo. พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง Shwedagon. (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา http://joeeleo.multiply.com/photos/album/60/60# (23 พฤศจิกายน 2551)