SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 43
ตอนที่ 1
สาร คือ สิ่งที่ต้องการที่อยู่ มีมวล สถานะของ
สารมี 3 สถานะคือ ของแข็ง ของเหลว และ
แก๊ส
แก๊ส ของเหลว ของแข็ง
Solid
s
Liquid
s
Gasse
s
Plasma
พลาสมา
• Lightning is a plasma.
• Used in fluorescent light bulbs and Neon
lights.
• Plasma is a lot like a gas, but the particles are
electrically charged.
คำาถามคำาถาม ; อะไรเป็นสาเหตุทำาให้สารมีสถานะต่างกัน
และสารเดียวกันเมื่อเปลี่ยนสถานะยังเป็นสารเดิมอยู่
หรือเปล่า ?
แก๊ส ของเหลว ของแข็ง
คำาตอบคำาตอบ ; อยู่ในแผนภาพข้างล่าง อธิบายได้อย่างไร
คำานี้มีความหมายอย่างไรคำานี้มีความหมายอย่างไร
อนุภาค
ของแข็ง มีการจัดเรียงอนุภาคชิดติดกัน
แน่น มีช่องว่างระหว่างอนุภาคน้อยมาก
พลังงานจลน์น้อย สามารถสั่นหรือเคลื่อนที่ได้
เล็กน้อยมาก จึงรักษาปริมาตรและรูปร่างจึงรักษาปริมาตรและรูปร่าง
ได้อย่างแน่นอนได้อย่างแน่นอน
1.ของแข็ง
1.แข็งแกร่ง มีรูปร่างที่แน่นอน ไม่ขึ้นอยู่กับ
ภาชนะที่บรรจุ
2.ปริมาตรเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยหรือไม่
เปลี่ยนแปลงเมื่อถูกกดดัน
3.มีการแพร่ที่ช้ามาก เมื่อเทียบกับของเหลวและ
แก๊ส
4.อาจมีรูปผลึก เช่น NaCl, S
สมบัติทั่วไปของของแข็งสมบัติทั่วไปของของแข็งสมบัติทั่วไปของของแข็งสมบัติทั่วไปของของแข็ง
แรงกดดันมีผลต่อรูปร่างและปริมาตรของแข็งหรือเปล่า?
ของแข็งแบ่งเป็น 2 ชนิดคือของแข็งแบ่งเป็น 2 ชนิดคือ
1.1. ของแข็งผลึกของแข็งผลึก (Crystalline solid)(Crystalline solid)
• อนุภาคเรียงตัวกันอย่างมีระเบียบแบบแผนทาง
เรขาคณิตเป็นสามมิติ เรียกว่า Crystal lattice หรือ
Space lattice
• ผิวหน้าเรียบ มุมระหว่างผิวหน้ามีค่าแน่นอน
• มีจุดหลอมเหลวแน่นอน
• มีสมบัติไม่เหมือนกันทุกทิศทาง (Anisotropic
Substance)
1.1. ของแข็งผลึกของแข็งผลึก (Crystalline solid)(Crystalline solid)
• อนุภาคเรียงตัวกันอย่างมีระเบียบแบบแผนทาง
เรขาคณิตเป็นสามมิติ เรียกว่า Crystal lattice หรือ
Space lattice
• ผิวหน้าเรียบ มุมระหว่างผิวหน้ามีค่าแน่นอน
• มีจุดหลอมเหลวแน่นอน
• มีสมบัติไม่เหมือนกันทุกทิศทาง (Anisotropic
Substance)
อะไรคือผลึก?
กำำมะถันมอนอคลินิก กำำมะถันรอมบิก
2.2. ของแข็งอสัณฐำนของแข็งอสัณฐำน (Amorphous(Amorphous
solid)solid)
• อนุภำคเรียงตัวโดยไม่มีระเบียบแบบแผน
• ผิวหน้ำไม่เรียบ และมุมต่ำงๆ กัน
• ช่วงกำรหลอมเหลวกว้ำง
• มีสมบัติเหมือนกันทุกทิศทำง (Isotropic
Substance)
ตัดสินใจยำกไหม๊ตัดสินใจยำกไหม๊
ของเหลวจะมีช่องว่ำงระหว่ำงอนุภำคมำกกว่ำ
ของแข็ง มีพลังงำนจลน์มำกขึ้นสำมำรถสั่นหรือ
เคลื่อนที่ได้มำกขึ้น แต่ยังมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่ำง
อนุภำคอยู่ จึงรักษำปริมำตรแต่ไม่รักษำรูปร่ำงจึงรักษำปริมำตรแต่ไม่รักษำรูปร่ำง
เปลี่ยนรูปร่ำงตำมภำชนะที่บรรจุเปลี่ยนรูปร่ำงตำมภำชนะที่บรรจุ
2.2.ของเหลวของเหลว
สมบัติทั่วไปของของเหลวสมบัติทั่วไปของของเหลว
1. ปริมำตรแน่นอน ไหลได้จำกที่สูงไปตำ่ำ และมีรูปร่ำง
ตำมภำชนะ
2. กำรถูกอัดและขยำยตัวมีผลต่อกำรเปลี่ยนแปลงรูป
ร่ำงและปริมำตรของของเหลวน้อยมำก
3. กำรแพร่ถ้ำนำำของเหลวชนิดหนึ่งที่สำมำรถละลำย
ซึ่งกันและกันมำผสมกัน ของเหลวชนิดหนึ่งจะแพร่
กระจำยไปในของเหลวอีกชนิดหนึ่ง
4. กำรเคลื่อนที่ของอนุภำคของเหลวทำำให้เกิดแรง
กระทำำต่อพื้นที่เรียกว่ำ แรงดันหรือควำมดัน
รู้ไหม๊ว่ำเป็นสมบัติใดของ
ของเหลว
รู้ไหม๊ว่ำเป็นสมบัติใดของ
ของเหลว
แรงกดดันมีผลต่อรูปร่ำงและปริมำตรของ
ของเหลวหรือเปล่ำ?
การจัดเรียงอนุภาคของของเหลว
แก๊สจะมีช่องว่างระหว่างอนุภาคมากที่สุด
ฟุ้งกระจาย อยู่กันไม่เป็นระเบียบเคลื่อนที่ได้ทุก
ทิศทาง มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยมาก
มีแรงดัน มีการแพร่ จุดเดือดต่ำ่ากว่าอุณหภูมิห้อง
ไม่รักษาทั้งปริมาต่รและรูปร่าง
เปลี่ยนแปลงรูปร่างต่ามภาชนะที่บรรจุ
3.3.แก๊สแก๊ส
สมบัต่ิทั่วไปของแก๊สสมบัต่ิทั่วไปของแก๊ส
1. ปริมาต่รไม่แน่นอน ไหลได้ทุกทิศทาง เรียกว่าฟุ้ง
กระจาย และมีรูปร่างต่ามภาชนะ
2. การถูกอัดและขยายต่ัวมีผลต่่อการเปลี่ยนแปลงรูป
ร่างและปริมาต่รมาก
3. การแพร่เกิดได้ดีโดยแพร่จากบริเวณที่มีความหนา
แน่นสูงไปยังบริเวณที่หนาแน่นต่ำ่ากว่า
4. การเคลื่อนที่ของอนุภาคของแก๊สทำาให้เกิดแรง
กระทำาต่่อพื้นที่เรียกว่า แรงดันหรือความดัน
แรงกดดันมีผลต่่อรูปร่างและปริมาต่รของ
ของแก๊สหรือเปล่า?
สรุปสถานะของสาร
สถานะของสารในธรรมชาต่ิสถานะของสารในธรรมชาต่ิ
1. จุดเดือดคือ อุณหภูมิที่ทำาให้สารเปลี่ยนสถานะจาก
ของเหลวเป็นไอหรือแก๊ส
2. จุดหลอมเหลวคือ อุณหภูมิที่ทำาให้สารเปลี่ยนสถานะจาก
ของแข็งเป็นของเหลว
3. อุณหภูมิห้องกำาหนดที่ 25o
C
4. สารที่อยู่ในสถานะแก๊สแสดงว่าจุดเดือดต่ำ่ากว่า 25o
C
5. สารที่อยู่ในสถานะของเหลวแสดงว่าจุดหลอมเหลวต่ำ่ากว่า
25o
C แต่่จุดเดือดสูงกว่า 25o
C
6. สารที่อยู่ในสถานะของแข็งแสดงว่าจุดหลอมเหลวสูงกว่า
25o
C
หลักการพิจารณาสถานะของสารหลักการพิจารณาสถานะของสาร
•ในการพิจารณาสถานะของสารนั้นจะต่้องทราบ
1. Boiling Point ⇒ อุณหภูมิที่พิจารณา
สูงกว่าจุดเดือด สารจะอยู่ในสถานะของแก๊ส
2. Melting Point ⇒ อุณหภูมิที่ต่ำ่ากว่า
จุดหลอมเหลว สารจะอยู่ในสถานะของแข็ง
รู้หรือเปล่า ; แล้วถ้าอยู่ระหว่างจุดเดือดกับ
จุดหลอมเหลวอยู่ในสถานะอะไร
Ex. การพิจารณา สถานะของนำ้าที่อุณหภูมิ 80 ๐
C
จุดหลอมเหลว จุดเดือด
( 0๐
C) 80๐
C ( 100๐
C)
Solid Liquid Gas
หลักการพิจารณาสถานะของสารหลักการพิจารณาสถานะของสาร
Ex.Ex. จงพิจารณาสถานะของสารจงพิจารณาสถานะของสาร AA และและ BB เมื่อเมื่อ
กำาหนดให้กำาหนดให้
สาร จุดหลอมเหลว จุดเดือด
A
B
-36
-300
380
-26
•ที่อุณหภูมิ -100 ๐
C สาร A มีสถานะ_____ สาร B มีสถานะ ______
•ที่อุณหภูมิ -38 ๐
C สาร A มีสถานะ _____ สาร B มีสถานะ
______
•ที่อุณหภูมิ -25 ๐
C สาร A มีสถานะ _____ สาร B มีสถานะ
หลักการพิจารณาสถานะของสารหลักการพิจารณาสถานะของสาร
การเปลี่ยนสถานะ
ความรู้เบื้องต้นความรู้เบื้องต้น
การเปลี่ยนสถานะของสาร ไม่ได้ทำาให้สาร
เปลี่ยนเป็นสารใหม่ แต่เป็นเพียงการทำาให้อนุภาค
ของสารเคลื่อนที่เข้ามาชิดกันหรือเคลื่อนที่แยกออก
จากกันเท่านั้นโดยมีปัจจัยสำาคัญมาจาก พลังงาน
ความร้อน
ข้อควรรู้ ; การเปลี่ยนสถานะจัด
เป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
เพราะไม่เกิดสารใหม่
ของแข็งเมื่อได้รับความร้อน อนุภาคมีพลังงานสูงขึ้น
จึงเคลื่อนที่แยกห่างออกจากกัน ทำาให้มีช่องว่าง
ระหว่างอนุภาคมากขึ้น ขาดความเป็นระเบียบ
ของแข็งจึงเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลวของแข็งจึงเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรียกเรียก
ว่าว่าการหลอมเหลวการหลอมเหลว
ดูด ความ
ร้อน
ของแข็ง ของเหลว
ของเหลว แก๊ส
ดูด ความ
ร้อน
ของเหลวเมื่อได้รับความร้อน อนุภาคมีพลังงานสูงขึ้นจึง
เคลื่อนที่แยกห่างออกจากกันมากยิ่งขึ้น มีช่องว่าง
ระหว่างอนุภาคมากขึ้น อนุภาคแยกห่างจากกันมาก ไม่มี
ระเบียบ ของเหลวจึงเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊สของเหลวจึงเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊ส เรียกเรียก
ว่าว่าการระเหยการระเหย
ดูด ความ
ร้อน
ของแข็ง
แก๊ส
ของแข็งบางชนิดเช่น ลูกเหม็น การบูร พิมเสนเมื่อได้
รับความร้อน อนุภาคมีพลังงานสูงขึ้นจึงเคลื่อนที่แยก
ห่างออกจากกันอย่างมาก อนุภาคกระจัดกระจาย ไม่มี
ระเบียบ ของแข็งจึงเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊สของแข็งจึงเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊ส เรียกเรียก
ว่าว่าการระเหิดการระเหิด
ของเหลวเมื่อลดความร้อน อนุภาคมีพลังงานตำ่าลงจึง
เคลื่อนที่เข้าใกล้กันมากขึ้น ลดช่องว่างระหว่างอนุภาค
ให้น้อยลง มีการจัดอนุภาคเป็นระเบียบ ของเหลวจึงของเหลวจึง
เปลี่ยนสถานะเป็นของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง เรียกว่าเรียกว่าการแข็งตัวการแข็งตัว
หรือการเยือกแข็งหรือการเยือกแข็ง
ของเหลว ของแข็ง
คายความ
ร้อน
ของเหลวแก๊ส
แก๊ส เมื่อลดความร้อน ทำาให้มีพลังงานลดตำ่าลงจึง
เคลื่อนที่ใกล้กันมากยิ่งขึ้น มีช่องว่างระหว่างอนุภาค
น้อยลง อนุภาคอยู่ชิดติดกันมีความเป็นระเบียบมากขึ้น
แก๊สจึงเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลวแก๊สจึงเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรียกนี้ว่าเรียกนี้ว่าการการ
ควบแน่นควบแน่น
คายความ
ร้อน
ของแข็งแก๊ส
แก๊ส เช่น ไอลูกเหม็น ไอพิมเสน เมื่อลดความร้อนหรือ
ทำาให้เย็นลง อนุภาคมีพลังงานตำ่าลงจึงเคลื่อนที่มาชิดติด
กัน ลดช่องว่างระหว่างอนุภาค อนุภาคมีความเป็น
ระเบียบมาก แก๊สจึงเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็งแก๊สจึงเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง
เรียกว่าเรียกว่าการพอกพูนการพอกพูน
คายความ
ร้อน
สรุปพฤติกรรมของสารในสถานะต่างๆ กับพลังงาน
เหมือนพฤติกรรมของคน
อากาศร้อนทำาให้คนขาดระเบียบ – อยู่ไม่นิ่ง หงุดหงิด
กระวนกระวาย ไม่อยากอยู่ใกล้ใคร
อากาศเย็น - ทำาให้สงบ อยู่นิ่งๆ อยากมีคนอยู่ใกล้ๆ
การดูดความร้อนคือการสะสมความร้อนไว้ในสารจะมี
ผลอย่างไร ?
การคายความร้อนคือการเอาความร้อนออกไปสารจะมี
ผลอย่างไร ?
ดูด-เก็บไว้ คาย- เอาออก

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสารtaew paichibi
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 

La actualidad más candente (20)

ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
หู
หูหู
หู
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 

สารเคมีในชีวิตประจำวันตอนที่ 1