SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 30
Descargar para leer sin conexión
การพัฒนาสื่อนวัตกรรมการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมสมรรถนะสากลในศตวรรษที่ 21กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์ สถาบันแฮรีสและสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21สื่อนวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21การใช้และการพัฒนาสื่อนวัตกรรมการเรียนการสอน การใช้สื่อในกระบวนการเรียนการสอน การประเมินคุณภาพสื่อนวัตกรรมการเรียนการสอน กระบวนการพัฒนาสื่อนวัตกรรมการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ 123
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 
Standard and Assessment 
Curriculum and Instruction 
Professional Development 
Learning Environment 
ที่มา: 21stCENTURY SKILLS: Rethinking How Students Learn ทักษะแห่งอนาคตใหม่ การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21 (2554)
Framework for Student Learning 
2011 ©Alberta Education, Alberta, Canada
1. การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา Critical Thinking, and problem solving2. การคิดสร้างสรรค์ และการสร้างนวัตกรรม Creativity, and innovation3. ความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา Collaboration, teamwork and leadership4. การสื่อสาร การรู้สารสนเทศและสื่อ Communication, information and media literacy5. คอมพิวเตอร์และการรู้เทคโนโลยี Computer, and ICT literacy6. ความเข้าใจในความแตกต่างและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม Cross-cultural understanding7. วิชาชีพและการพึ่งพาตนเอง Career, and learning self-relianceทักษะทางปัญญา ทักษะทางปัญญา ทักษะการทางาน ทักษะทางปัญญา ทักษะการทางาน ทักษะชีวิต ทักษะการทางาน+ชีวิต ทักษะ 7 c
พัฒนาการการเรียนรู้ จากศตวรรษที่ 20 สู่ศตวรรษที่ 21เรียนรู้ตามหลักสูตร เรียนรู้ในเวลา ใช้รูปแบบเดียวกับทั้งหมด เน้นการแข่งขัน เรียนรู้ในชั้นเรียน เรียนรู้จากตารา ประเมินผลหลังเรียน เรียนเพื่อรู้ เรียนรู้จากการปฏิบัติ เรียนรู้ได้ทุกเวลา รูปแบบการเรียนรายบุคคล เน้นการเรียนรู้ร่วมกัน เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้และโลกกว้าง เรียนรู้จากการสืบค้น ประเมินผลระหว่างเรียน เรียนเพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิต
แนวทางการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21การเรียนรู้แบบนาตนเอง Self-directed learningการเรียนรู้ร่วมกัน Collaborative learningการเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ e-learningการเรียนแบบผสมผสาน Blended learningการเรียนรู้จากการปฏิบัติ Performance-based learningการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการคิดระดับสูง Higher order thinkingการจัดการความรู้ส่วนบุคคล Personal knowledge management
การเรียนรู้ ที่ส่งเสริมการ คิดระดับสูง การเรียนรู้ แบบนา ตนเอง การเรียน ผ่านสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ การเรียน แบบผสม ผสาน การเรียนรู้ จากการ ปฏิบัติ การจัดการ ความรู้ ส่วนบุคคล เมตาคอคนิชั่น (Metacognition) การกากับตนเอง (Self-regulation) การรับรู้ความ สามารถของตนเอง (Self-efficacy) การเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative) การเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative) การเรียนผ่านสื่อ (Computer-mediated) การเรียนผ่านเว็บ (Web-based learning) การเรียนทางไกล (Distance learning) การเรียน แบบหมุน (Rotation) การเรียน แบบกลับด้าน (Flipped) เรียนรู้จากปัญหา (Problem-based) เรียนรู้จากโครงงาน (Project-based) เรียนรู้จากการวิจัย (Research-based) เรียนรู้จากงาน (Task-based) คิดวิเคราะห์ (Analysis) คิดสังเคราะห์ (Synthesis) คิดสร้างสรรค์ (Creative) คิดแก้ปัญหา (Problem-solving) คิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical) การประมวลสารสนเทศ (Information processing) การจัดการความรู้ (Knowledge Management) การคิดอย่างเป็นระบบ (Systematic) การเรียน แบบผสม (Blended) แนวทาง การจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษ ที่ 21การเรียนรู้ ร่วมกัน
นวัตกรรมทางการศึกษา นวัตกรรมทางการศึกษา (Educational Innovation) หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่นามาใช้ ในบริบทของการศึกษาเพื่อช่วยพัฒนาคุณภาพศึกษาและการจัดการเรียนการสอนมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลสูงขึ้นกว่าเดิม และตอบสนองต่อเป้าหมายของการจัดการศึกษา นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการศึกษามีขอบข่ายดังนี้ 1. นวัตกรรมด้านการพัฒนาระบบการจัดการศึกษาหรือระบบการเรียนการสอน 2. นวัตกรรมด้านรูปแบบหรือวิธีการจัดการศึกษา 3. นวัตกรรมด้านหลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนการสอน 4. นวัตกรรมด้านสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษา 5. นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการทางการศึกษา 6. นวัตกรรมด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา
นวัตกรรมการเรียนรู้ หมายถึง การนาเอาสิ่งใหม่ๆ ทั้งที่เป็นแนวคิด ระบบ วิธีการ รูปแบบ สื่อและเทคโนโลยี การบริหาร จัดการและการวัดประเมินผลแบบใหม่ๆ มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนทั้งระบบหรือเฉพาะในชั้นเรียน เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อเป้าหมายและจุดประสงค์การเรียนรู้ระดับต่างๆ ซึ่งจาเป็นต้องอาศัยวิธีการและ เทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการและสนับสนุนการเรียนการสอน ตัวอย่างนวัตกรรมการเรียนรู้ ได้แก่ -รูปแบบการเรียนรู้รายบุคคล -การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ -การเรียนแบบมีส่วนร่วม / การเรียนรู้ร่วมกัน -การเรียนรู้แบบแก้ปัญหา -การเรียนแบบโครงงาน -การเรียนแบบศูนย์การเรียน -การใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ -การเรียนรู้ด้วยตนเอง -การเรียนผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การเรียนผ่านเว็บ การเรียนแบบ ผสมผสาน เป็นต้น
นวัตกรรมการเรียนรู้ ตัวอย่างสื่อนวัตกรรม ได้แก่ -คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI : Computer-Assisted Instruction) -มัลติมีเดีย (Multimedia) -การประชุมทางไกล (Tele Conference) -วีดีทัศน์แบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive Media/Video) -บทเรียนสาเร็จรูป (Lesson Programed Instruction) -หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Books) -เครื่องช่วยสอน (Teaching Machine) -วิทยุและโทรทัศน์ช่วยสอน (Teaching By Radio and TV) -ชุดการสอน (Learning Packages) -ฯ ล ฯ
นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
TPACK FRAMEWORK 
Mishra & Koehler (2006)
Technological Knowledgeความรู้เทคโนโลยี 
Pedagogical Knowledgeความรู้วิธีการสอน 
Content Knowledgeความรู้เนื้อหาวิชา TPKTCKPCKTPACKTKPKCK 
Pedagogical ContentKnowledge 
ความรู้วิธีการสอนเนื้อหา 
Technological Content Knowledge ความรู้เนื้อหาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี 
Technological Pedagogical Knowledgeความรู้เทคโนโลยีที่ใช้ในการสอน 
Technological Pedagogical Content Knowledgeความรู้เนื้อหาวิธีการสอนที่ใช้เทคโนโลยี TPACKFRAMEWORK
ตัวอย่างการวิเคราะห์เนื้อหาตามกรอบแนวคิด TPACKวิชา สังคมศึกษา (ภูมิศาสตร์) ชั้น ม.3ตัวชี้วัด ส 5.1.1 ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและสังคม ของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ TKPKCKความรู้เกี่ยวกับ เทคโนโลยีของระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ ความรู้เกี่ยวกับระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic InformativeSystem: GIS) ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการ สอนแบบสืบสอบ (InquiryBasedLearning) TPKTCKPCKTPACKความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้ในกระบวนการสอน แบบสืบสอบเพื่อเรียนรู้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดระบบ และเสนอข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ การสืบสอบ การวิเคราะห์ การนาเสนอ Teacher’ TPACKความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้ ในการจัดระบบและเสนอข้อมูล สารสนเทศภูมิศาสตร์ ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการสอนแบบสืบสอบ ความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้ในกระบวน การสอนแบบสืบสอบเพื่อเรียนรู้ระบบและ นาเสนอข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์
TKPKCKTPKTCKPCKTPACKTeacher’ TPACK = Teacher’ Abilityกรอบแนวคิด TPACKจะช่วยให้ครูมีความรู้ที่ชัดเจน ในการจัดการเรียนการสอนใน 3ส่วน คือ -เนื้อหาวิชา (Subject matter) -กระบวนวิธีสอน (Pedagogical) -เทคโนโลยี (Technology) ทั้งเนื้อหาการสอนที่เกี่ยว กับเทคโนโลยีและการใช้เทคโนโลยีในการสอน เมื่อนาความรู้ทั้ง 3 ส่วน มาบูรณาการในกระบวนการ เรียนการสอน จะช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้เนื้อหาไปพร้อมๆ กับความรู้และทักษะทางเทคโนโลยี Teacher’ TPACK จะเน้นในการพัฒนาศักยภาพครู ในการวิเคราะห์ แจกแจง และเพิ่มเติมเนื้อหาสาหรับ การเรียนรู้ของนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การเรียนการสอนแบบผสมผสาน เป็นการจัดการเรียนการสอนที่รวมเอา การเรียน แบบเผชิญหน้าในชั้นเรียน กับ การเรียนแบบออนไลน์ เข้าด้วยกัน นอกจากนี้ยัง รวมถึงการจัดการเรียนการสอนที่เลือกใช้กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อวัสดุอุปกรณ์ และการวัดผลประเมินผลที่หลากหลายและยืดหยุ่น เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสมากขึ้นใน การเข้าถึงเนื้อหาความรู้และตอบสนองการเรียนรู้เป็นรายบุคคล การเรียนการสอนแบบผสมผสาน BLENDED LEARNINGOnline Face-to-Face
แนวคิดที่ 1 การรวมหรือผสมวิธีการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีของเว็บ (Web-based technology) เช่น การ เรียนการสอนผ่านระบบคอมพิวเตอร์เสมือนจริง (Live virtual classroom) การสอนที่ผู้เรียนสามารถกาหนด เส้นทางการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-paced instruction) การเรียนรู้ร่วมกัน (collaborative learning) วิดีโอ สตรีมมิ่ง (streaming video) เสียง (audio)และข้อความ (text)เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา แนวคิดที่ 2 การรวมเอาแนวคิดวิธีการสอนทางด้านการศึกษา เช่น แนวคิดคอนสตรัคติวิสม์(constructivism) แนวคิดพฤติกรรมนิยม (behaviorism) แนวคิดพุทธิปัญญานิยม (cognitivism) มาผสมผสานกันทาให้เกิดการ เรียนรู้ที่เหมาะสมที่สุด ซึ่งอาจใช้หรือไม่ใช้เทคโนโลยีการสอน (instructional technology) ก็ได้ แนวคิดที่ 3 การผสมผสานการสอนโดยใช้เทคโนโลยีทุกรูปแบบ เช่น การใช้วิดีโอเทป (videotape)ซีดีรอม (CD- ROM) การฝึกอบรมผ่านเว็บ (web based training) เข้ากับการเรียนการสอนแบบเผชิญหน้าระหว่างผู้เรียนและ ผู้สอน ซึ่งแนวคิดนี้ได้รับการยอมรับมากที่สุด แนวคิดที่ 4 การรวมหรือผสมผสานวิธีการสอนโดยใช้เทคโนโลยีร่วมกับการทางานจริง โดยมีขั้นตอนที่ทาให้เกิด ความสอดคล้องกันและมีผลต่อการเรียนและการทางาน 
แนวคิดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน Driscoll (2002)
การเรียนการสอนแบบผสมผสาน BLENDED LEARNING
ลักษณะปฏิสัมพันธ์ในการเรียนแบบผสมผสาน
ลักษณะการเรียนการสอนแบบผสมผสาน BLENDED LEARNINGการเรียนในชั้นเรียน Brick and mortarการเรียนออนไลน์ Online learningแบบหมุน Rotation modelแบบยืดหยุ่น Flex modelแบบผสม Self-blend modelแบบชั้นเรียนเสมือน Enriched-Virtual modelแบบสลับฐานการเรียน แบบสลับห้อง แบบห้องเรียนกลับทาง แบบสลับฐาน-รายบุคคล 
InnosightInstitute (2012)
แบบสลับฐานการเรียน 
InnosightInstitute (2012)
แบบสลับห้องเรียน 
InnosightInstitute (2012)
แบบห้องเรียนกลับด้าน 
InnosightInstitute (2012)
แบบสลับฐานการเรียนเป็นรายบุคคล 
InnosightInstitute (2012)
แบบยืดหยุ่น 
InnosightInstitute (2012)
แบบผสมผสาน 
InnosightInstitute (2012)
แบบชั้นเรียนเสมือน –Full-time online 
InnosightInstitute (2012)
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์, 2546 
University of Illinois at Chicago, 2008 
5-10% Informationalใช้ชั้นเรียนมากกว่า e-Learning โดยใช้ในส่วนของประมวลผล การสอน ตารางเวลาและประกาศข่าว 
0% Classroom-basedไม่มีการใช้เทคโนโลยีการเรียนแบบออนไลน์ แต่จะใช้การนาเสนอ เนื้อหาโดยการเขียน หรือบรรยาย 
20-30% Supplementalใช้สารสนเทศเช่น เอกสารอ่านประกอบ เอกสารประกอบการสอน การเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์การติดต่อทางอีเมล์ 
1-24% Technology-enhancedเป็นหลักสูตรที่ใช้เทคโนโลยีบนเว็บในการอานวยความสะดวกในการ สอนแบบเผชิญหน้า โดยอาจใช้ในการนาเสนอคาอธิบายรายวิชา และมอบหมายงานกับผู้เรียน เป็นต้น 
50-60% Blendedเป็นการเรียนในชั้นเรียน 50%และออนไลน์อีก 50%ใช้แทนการ เรียนในชั้นเรียน (บรรยาย/สัมมนา/ปฏิบัติ) ศึกษาสื่อออนไลน์แทน ฟังบรรยาย อภิปราย ทาแบบทดสอบ แบบฝึกหัดออนไลน์ 
25-74% Blendedเป็นการนาเสนอเนื้อหาส่วนหนึ่งในระบบออนไลน์เช่น มีการอภิปราย แบบออนไลน์ หรือการปฏิบัติการแบบออนไลน์ และมีบางส่วนที่มี การพบปะนาเสนอในห้องเรียนแบบเผชิญหน้า 
90-100% Distanceมีการเรียนในชั้นเรียนน้อยมาก หรือไม่มีเลย เป็นโปรแกรมเรียน ออนไลน์เต็มรูปแบบ เช่น มหาวิทยาลัยไซเบอร์ของไทย และปัจจุบัน ยังมีอยู่น้อยมาก 
75+% Onlineเป็นส่วนที่ให้ความสาคัญและนาเสนอการเรียนการสอนในระบบ ออนไลน์เกือบทั้งหมดและจะไม่มีการเรียนในชั้นเรียนแบบเผชิญหน้า ถ้ามีจะมีเป็นส่วนน้อย สัดส่วนของเวลาในการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 30 :70

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้immyberry
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environmentTar Bt
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนการนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนPrachyanun Nilsook
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
Tablet1
Tablet1Tablet1
Tablet1jamrat
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environmentTar Bt
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยKobwit Piriyawat
 
เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3Prachyanun Nilsook
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2Prachyanun Nilsook
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...khon Kaen University
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27khon Kaen University
 
Tablet4 5
Tablet4 5Tablet4 5
Tablet4 5jamrat
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21Wichit Thepprasit
 
ICT กับการเรียนการสอน: สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
ICT กับการเรียนการสอน: สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้มICT กับการเรียนการสอน: สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
ICT กับการเรียนการสอน: สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้มnatthasart
 

La actualidad más candente (20)

สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environment
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
World class
World classWorld class
World class
 
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนการนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
Tablet1
Tablet1Tablet1
Tablet1
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environment
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 
เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27
 
Tablet4 5
Tablet4 5Tablet4 5
Tablet4 5
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
 
ICT กับการเรียนการสอน: สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
ICT กับการเรียนการสอน: สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้มICT กับการเรียนการสอน: สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
ICT กับการเรียนการสอน: สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
 

Destacado

การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนTeacher Sophonnawit
 
marine phytoplactons
marine phytoplactonsmarine phytoplactons
marine phytoplactonsANAT grup
 
PowerStrips ve BasBoyun
PowerStrips ve BasBoyunPowerStrips ve BasBoyun
PowerStrips ve BasBoyunANAT grup
 
Tüm FGXpress ürünleri
Tüm FGXpress ürünleriTüm FGXpress ürünleri
Tüm FGXpress ürünleriANAT grup
 
Zeiss opmi-lumera700 rescan 700 microscope
Zeiss opmi-lumera700 rescan 700 microscopeZeiss opmi-lumera700 rescan 700 microscope
Zeiss opmi-lumera700 rescan 700 microscopeANAT grup
 
นาย จตุรพัฒน์ ภัควนิตย์
นาย จตุรพัฒน์ ภัควนิตย์นาย จตุรพัฒน์ ภัควนิตย์
นาย จตุรพัฒน์ ภัควนิตย์Pornchanida Ansietà
 
Time series data mining
Time series data miningTime series data mining
Time series data miningO-Ta Kung
 
Neural network and GA approaches for dwelling fire occurrence prediction
Neural network and GA approaches for dwelling fire occurrence predictionNeural network and GA approaches for dwelling fire occurrence prediction
Neural network and GA approaches for dwelling fire occurrence predictionPhisan Shukkhi
 
01 introduction to data mining
01 introduction to data mining01 introduction to data mining
01 introduction to data miningphakhwan22
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง สมุนไพรรางจืด
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง สมุนไพรรางจืดโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง สมุนไพรรางจืด
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง สมุนไพรรางจืดRungnaree Uun
 
15 Machine Learning Multilayer Perceptron
15 Machine Learning Multilayer Perceptron15 Machine Learning Multilayer Perceptron
15 Machine Learning Multilayer PerceptronAndres Mendez-Vazquez
 
Optimization Methods in Finance
Optimization Methods in FinanceOptimization Methods in Finance
Optimization Methods in Financethilankm
 
02.03 Artificial Intelligence: Search by Optimization
02.03 Artificial Intelligence: Search by Optimization02.03 Artificial Intelligence: Search by Optimization
02.03 Artificial Intelligence: Search by OptimizationAndres Mendez-Vazquez
 
1การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
1การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 211การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
1การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21krupornpana55
 

Destacado (20)

การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
marine phytoplactons
marine phytoplactonsmarine phytoplactons
marine phytoplactons
 
PowerStrips ve BasBoyun
PowerStrips ve BasBoyunPowerStrips ve BasBoyun
PowerStrips ve BasBoyun
 
Bank account
Bank accountBank account
Bank account
 
Tüm FGXpress ürünleri
Tüm FGXpress ürünleriTüm FGXpress ürünleri
Tüm FGXpress ürünleri
 
Viconcept
ViconceptViconcept
Viconcept
 
Zeiss opmi-lumera700 rescan 700 microscope
Zeiss opmi-lumera700 rescan 700 microscopeZeiss opmi-lumera700 rescan 700 microscope
Zeiss opmi-lumera700 rescan 700 microscope
 
นาย จตุรพัฒน์ ภัควนิตย์
นาย จตุรพัฒน์ ภัควนิตย์นาย จตุรพัฒน์ ภัควนิตย์
นาย จตุรพัฒน์ ภัควนิตย์
 
Thai Glossary Repository
Thai Glossary RepositoryThai Glossary Repository
Thai Glossary Repository
 
Time series data mining
Time series data miningTime series data mining
Time series data mining
 
Neural network and GA approaches for dwelling fire occurrence prediction
Neural network and GA approaches for dwelling fire occurrence predictionNeural network and GA approaches for dwelling fire occurrence prediction
Neural network and GA approaches for dwelling fire occurrence prediction
 
My topic
My topicMy topic
My topic
 
Microsoft Azure day 1
Microsoft Azure day 1Microsoft Azure day 1
Microsoft Azure day 1
 
21st century skill for librarian
21st century skill for librarian21st century skill for librarian
21st century skill for librarian
 
01 introduction to data mining
01 introduction to data mining01 introduction to data mining
01 introduction to data mining
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง สมุนไพรรางจืด
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง สมุนไพรรางจืดโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง สมุนไพรรางจืด
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง สมุนไพรรางจืด
 
15 Machine Learning Multilayer Perceptron
15 Machine Learning Multilayer Perceptron15 Machine Learning Multilayer Perceptron
15 Machine Learning Multilayer Perceptron
 
Optimization Methods in Finance
Optimization Methods in FinanceOptimization Methods in Finance
Optimization Methods in Finance
 
02.03 Artificial Intelligence: Search by Optimization
02.03 Artificial Intelligence: Search by Optimization02.03 Artificial Intelligence: Search by Optimization
02.03 Artificial Intelligence: Search by Optimization
 
1การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
1การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 211การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
1การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
 

Similar a Media&tech2learn 001-Part 1

หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12sangkom
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาChacrit Onbao
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้janepi49
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกarunrat bamrungchit
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1boomakung
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1boomakung
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Real PN
 
งานนำเสนอนวัตกรรม2
งานนำเสนอนวัตกรรม2งานนำเสนอนวัตกรรม2
งานนำเสนอนวัตกรรม2lalidawan
 
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษางานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษาAmu P Thaiying
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้lalidawan
 

Similar a Media&tech2learn 001-Part 1 (20)

Learning21
Learning21Learning21
Learning21
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
960447
960447960447
960447
 
Teacher
Teacher Teacher
Teacher
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1
 
Innovation49 1
Innovation49 1Innovation49 1
Innovation49 1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอนวัตกรรม2
งานนำเสนอนวัตกรรม2งานนำเสนอนวัตกรรม2
งานนำเสนอนวัตกรรม2
 
Report
ReportReport
Report
 
Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษางานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 

Más de Kittipun Udomseth

Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018
Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018
Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018Kittipun Udomseth
 
Flipped learning-privateschool-CM59
Flipped learning-privateschool-CM59Flipped learning-privateschool-CM59
Flipped learning-privateschool-CM59Kittipun Udomseth
 
6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา
6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา
6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหาKittipun Udomseth
 
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-newติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-newKittipun Udomseth
 

Más de Kittipun Udomseth (7)

Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018
Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018
Bloom Taxonomy2001_kttpud-2018
 
Active Learning kttpud_2018
Active Learning kttpud_2018Active Learning kttpud_2018
Active Learning kttpud_2018
 
Info 001
Info 001Info 001
Info 001
 
Flipped learning-privateschool-CM59
Flipped learning-privateschool-CM59Flipped learning-privateschool-CM59
Flipped learning-privateschool-CM59
 
6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา
6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา
6 วิธีง่ายๆ กับการทำวีดีโอบรรยายเนื้อหา
 
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-newติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
ติวสอบโอเน็ตม6 2557-new
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
 

Media&tech2learn 001-Part 1

  • 1. การพัฒนาสื่อนวัตกรรมการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมสมรรถนะสากลในศตวรรษที่ 21กิตติพันธ์ อุดมเศรษฐ์ สถาบันแฮรีสและสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย
  • 2. การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21สื่อนวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21การใช้และการพัฒนาสื่อนวัตกรรมการเรียนการสอน การใช้สื่อในกระบวนการเรียนการสอน การประเมินคุณภาพสื่อนวัตกรรมการเรียนการสอน กระบวนการพัฒนาสื่อนวัตกรรมการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ 123
  • 3. การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 Standard and Assessment Curriculum and Instruction Professional Development Learning Environment ที่มา: 21stCENTURY SKILLS: Rethinking How Students Learn ทักษะแห่งอนาคตใหม่ การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21 (2554)
  • 4.
  • 5. Framework for Student Learning 2011 ©Alberta Education, Alberta, Canada
  • 6. 1. การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา Critical Thinking, and problem solving2. การคิดสร้างสรรค์ และการสร้างนวัตกรรม Creativity, and innovation3. ความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา Collaboration, teamwork and leadership4. การสื่อสาร การรู้สารสนเทศและสื่อ Communication, information and media literacy5. คอมพิวเตอร์และการรู้เทคโนโลยี Computer, and ICT literacy6. ความเข้าใจในความแตกต่างและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม Cross-cultural understanding7. วิชาชีพและการพึ่งพาตนเอง Career, and learning self-relianceทักษะทางปัญญา ทักษะทางปัญญา ทักษะการทางาน ทักษะทางปัญญา ทักษะการทางาน ทักษะชีวิต ทักษะการทางาน+ชีวิต ทักษะ 7 c
  • 7. พัฒนาการการเรียนรู้ จากศตวรรษที่ 20 สู่ศตวรรษที่ 21เรียนรู้ตามหลักสูตร เรียนรู้ในเวลา ใช้รูปแบบเดียวกับทั้งหมด เน้นการแข่งขัน เรียนรู้ในชั้นเรียน เรียนรู้จากตารา ประเมินผลหลังเรียน เรียนเพื่อรู้ เรียนรู้จากการปฏิบัติ เรียนรู้ได้ทุกเวลา รูปแบบการเรียนรายบุคคล เน้นการเรียนรู้ร่วมกัน เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้และโลกกว้าง เรียนรู้จากการสืบค้น ประเมินผลระหว่างเรียน เรียนเพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิต
  • 8. แนวทางการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21การเรียนรู้แบบนาตนเอง Self-directed learningการเรียนรู้ร่วมกัน Collaborative learningการเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ e-learningการเรียนแบบผสมผสาน Blended learningการเรียนรู้จากการปฏิบัติ Performance-based learningการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการคิดระดับสูง Higher order thinkingการจัดการความรู้ส่วนบุคคล Personal knowledge management
  • 9. การเรียนรู้ ที่ส่งเสริมการ คิดระดับสูง การเรียนรู้ แบบนา ตนเอง การเรียน ผ่านสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ การเรียน แบบผสม ผสาน การเรียนรู้ จากการ ปฏิบัติ การจัดการ ความรู้ ส่วนบุคคล เมตาคอคนิชั่น (Metacognition) การกากับตนเอง (Self-regulation) การรับรู้ความ สามารถของตนเอง (Self-efficacy) การเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative) การเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative) การเรียนผ่านสื่อ (Computer-mediated) การเรียนผ่านเว็บ (Web-based learning) การเรียนทางไกล (Distance learning) การเรียน แบบหมุน (Rotation) การเรียน แบบกลับด้าน (Flipped) เรียนรู้จากปัญหา (Problem-based) เรียนรู้จากโครงงาน (Project-based) เรียนรู้จากการวิจัย (Research-based) เรียนรู้จากงาน (Task-based) คิดวิเคราะห์ (Analysis) คิดสังเคราะห์ (Synthesis) คิดสร้างสรรค์ (Creative) คิดแก้ปัญหา (Problem-solving) คิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical) การประมวลสารสนเทศ (Information processing) การจัดการความรู้ (Knowledge Management) การคิดอย่างเป็นระบบ (Systematic) การเรียน แบบผสม (Blended) แนวทาง การจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษ ที่ 21การเรียนรู้ ร่วมกัน
  • 10. นวัตกรรมทางการศึกษา นวัตกรรมทางการศึกษา (Educational Innovation) หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่นามาใช้ ในบริบทของการศึกษาเพื่อช่วยพัฒนาคุณภาพศึกษาและการจัดการเรียนการสอนมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลสูงขึ้นกว่าเดิม และตอบสนองต่อเป้าหมายของการจัดการศึกษา นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการศึกษามีขอบข่ายดังนี้ 1. นวัตกรรมด้านการพัฒนาระบบการจัดการศึกษาหรือระบบการเรียนการสอน 2. นวัตกรรมด้านรูปแบบหรือวิธีการจัดการศึกษา 3. นวัตกรรมด้านหลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนการสอน 4. นวัตกรรมด้านสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษา 5. นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการทางการศึกษา 6. นวัตกรรมด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา
  • 11. นวัตกรรมการเรียนรู้ หมายถึง การนาเอาสิ่งใหม่ๆ ทั้งที่เป็นแนวคิด ระบบ วิธีการ รูปแบบ สื่อและเทคโนโลยี การบริหาร จัดการและการวัดประเมินผลแบบใหม่ๆ มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนทั้งระบบหรือเฉพาะในชั้นเรียน เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อเป้าหมายและจุดประสงค์การเรียนรู้ระดับต่างๆ ซึ่งจาเป็นต้องอาศัยวิธีการและ เทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการและสนับสนุนการเรียนการสอน ตัวอย่างนวัตกรรมการเรียนรู้ ได้แก่ -รูปแบบการเรียนรู้รายบุคคล -การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ -การเรียนแบบมีส่วนร่วม / การเรียนรู้ร่วมกัน -การเรียนรู้แบบแก้ปัญหา -การเรียนแบบโครงงาน -การเรียนแบบศูนย์การเรียน -การใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ -การเรียนรู้ด้วยตนเอง -การเรียนผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การเรียนผ่านเว็บ การเรียนแบบ ผสมผสาน เป็นต้น
  • 12. นวัตกรรมการเรียนรู้ ตัวอย่างสื่อนวัตกรรม ได้แก่ -คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI : Computer-Assisted Instruction) -มัลติมีเดีย (Multimedia) -การประชุมทางไกล (Tele Conference) -วีดีทัศน์แบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive Media/Video) -บทเรียนสาเร็จรูป (Lesson Programed Instruction) -หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Books) -เครื่องช่วยสอน (Teaching Machine) -วิทยุและโทรทัศน์ช่วยสอน (Teaching By Radio and TV) -ชุดการสอน (Learning Packages) -ฯ ล ฯ
  • 14. TPACK FRAMEWORK Mishra & Koehler (2006)
  • 15. Technological Knowledgeความรู้เทคโนโลยี Pedagogical Knowledgeความรู้วิธีการสอน Content Knowledgeความรู้เนื้อหาวิชา TPKTCKPCKTPACKTKPKCK Pedagogical ContentKnowledge ความรู้วิธีการสอนเนื้อหา Technological Content Knowledge ความรู้เนื้อหาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี Technological Pedagogical Knowledgeความรู้เทคโนโลยีที่ใช้ในการสอน Technological Pedagogical Content Knowledgeความรู้เนื้อหาวิธีการสอนที่ใช้เทคโนโลยี TPACKFRAMEWORK
  • 16. ตัวอย่างการวิเคราะห์เนื้อหาตามกรอบแนวคิด TPACKวิชา สังคมศึกษา (ภูมิศาสตร์) ชั้น ม.3ตัวชี้วัด ส 5.1.1 ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและสังคม ของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ TKPKCKความรู้เกี่ยวกับ เทคโนโลยีของระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ ความรู้เกี่ยวกับระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic InformativeSystem: GIS) ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการ สอนแบบสืบสอบ (InquiryBasedLearning) TPKTCKPCKTPACKความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้ในกระบวนการสอน แบบสืบสอบเพื่อเรียนรู้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดระบบ และเสนอข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ การสืบสอบ การวิเคราะห์ การนาเสนอ Teacher’ TPACKความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้ ในการจัดระบบและเสนอข้อมูล สารสนเทศภูมิศาสตร์ ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการสอนแบบสืบสอบ ความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้ในกระบวน การสอนแบบสืบสอบเพื่อเรียนรู้ระบบและ นาเสนอข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์
  • 17. TKPKCKTPKTCKPCKTPACKTeacher’ TPACK = Teacher’ Abilityกรอบแนวคิด TPACKจะช่วยให้ครูมีความรู้ที่ชัดเจน ในการจัดการเรียนการสอนใน 3ส่วน คือ -เนื้อหาวิชา (Subject matter) -กระบวนวิธีสอน (Pedagogical) -เทคโนโลยี (Technology) ทั้งเนื้อหาการสอนที่เกี่ยว กับเทคโนโลยีและการใช้เทคโนโลยีในการสอน เมื่อนาความรู้ทั้ง 3 ส่วน มาบูรณาการในกระบวนการ เรียนการสอน จะช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้เนื้อหาไปพร้อมๆ กับความรู้และทักษะทางเทคโนโลยี Teacher’ TPACK จะเน้นในการพัฒนาศักยภาพครู ในการวิเคราะห์ แจกแจง และเพิ่มเติมเนื้อหาสาหรับ การเรียนรู้ของนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 18. การเรียนการสอนแบบผสมผสาน เป็นการจัดการเรียนการสอนที่รวมเอา การเรียน แบบเผชิญหน้าในชั้นเรียน กับ การเรียนแบบออนไลน์ เข้าด้วยกัน นอกจากนี้ยัง รวมถึงการจัดการเรียนการสอนที่เลือกใช้กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อวัสดุอุปกรณ์ และการวัดผลประเมินผลที่หลากหลายและยืดหยุ่น เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสมากขึ้นใน การเข้าถึงเนื้อหาความรู้และตอบสนองการเรียนรู้เป็นรายบุคคล การเรียนการสอนแบบผสมผสาน BLENDED LEARNINGOnline Face-to-Face
  • 19. แนวคิดที่ 1 การรวมหรือผสมวิธีการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีของเว็บ (Web-based technology) เช่น การ เรียนการสอนผ่านระบบคอมพิวเตอร์เสมือนจริง (Live virtual classroom) การสอนที่ผู้เรียนสามารถกาหนด เส้นทางการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-paced instruction) การเรียนรู้ร่วมกัน (collaborative learning) วิดีโอ สตรีมมิ่ง (streaming video) เสียง (audio)และข้อความ (text)เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา แนวคิดที่ 2 การรวมเอาแนวคิดวิธีการสอนทางด้านการศึกษา เช่น แนวคิดคอนสตรัคติวิสม์(constructivism) แนวคิดพฤติกรรมนิยม (behaviorism) แนวคิดพุทธิปัญญานิยม (cognitivism) มาผสมผสานกันทาให้เกิดการ เรียนรู้ที่เหมาะสมที่สุด ซึ่งอาจใช้หรือไม่ใช้เทคโนโลยีการสอน (instructional technology) ก็ได้ แนวคิดที่ 3 การผสมผสานการสอนโดยใช้เทคโนโลยีทุกรูปแบบ เช่น การใช้วิดีโอเทป (videotape)ซีดีรอม (CD- ROM) การฝึกอบรมผ่านเว็บ (web based training) เข้ากับการเรียนการสอนแบบเผชิญหน้าระหว่างผู้เรียนและ ผู้สอน ซึ่งแนวคิดนี้ได้รับการยอมรับมากที่สุด แนวคิดที่ 4 การรวมหรือผสมผสานวิธีการสอนโดยใช้เทคโนโลยีร่วมกับการทางานจริง โดยมีขั้นตอนที่ทาให้เกิด ความสอดคล้องกันและมีผลต่อการเรียนและการทางาน แนวคิดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน Driscoll (2002)
  • 22. ลักษณะการเรียนการสอนแบบผสมผสาน BLENDED LEARNINGการเรียนในชั้นเรียน Brick and mortarการเรียนออนไลน์ Online learningแบบหมุน Rotation modelแบบยืดหยุ่น Flex modelแบบผสม Self-blend modelแบบชั้นเรียนเสมือน Enriched-Virtual modelแบบสลับฐานการเรียน แบบสลับห้อง แบบห้องเรียนกลับทาง แบบสลับฐาน-รายบุคคล InnosightInstitute (2012)
  • 30. บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์, 2546 University of Illinois at Chicago, 2008 5-10% Informationalใช้ชั้นเรียนมากกว่า e-Learning โดยใช้ในส่วนของประมวลผล การสอน ตารางเวลาและประกาศข่าว 0% Classroom-basedไม่มีการใช้เทคโนโลยีการเรียนแบบออนไลน์ แต่จะใช้การนาเสนอ เนื้อหาโดยการเขียน หรือบรรยาย 20-30% Supplementalใช้สารสนเทศเช่น เอกสารอ่านประกอบ เอกสารประกอบการสอน การเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์การติดต่อทางอีเมล์ 1-24% Technology-enhancedเป็นหลักสูตรที่ใช้เทคโนโลยีบนเว็บในการอานวยความสะดวกในการ สอนแบบเผชิญหน้า โดยอาจใช้ในการนาเสนอคาอธิบายรายวิชา และมอบหมายงานกับผู้เรียน เป็นต้น 50-60% Blendedเป็นการเรียนในชั้นเรียน 50%และออนไลน์อีก 50%ใช้แทนการ เรียนในชั้นเรียน (บรรยาย/สัมมนา/ปฏิบัติ) ศึกษาสื่อออนไลน์แทน ฟังบรรยาย อภิปราย ทาแบบทดสอบ แบบฝึกหัดออนไลน์ 25-74% Blendedเป็นการนาเสนอเนื้อหาส่วนหนึ่งในระบบออนไลน์เช่น มีการอภิปราย แบบออนไลน์ หรือการปฏิบัติการแบบออนไลน์ และมีบางส่วนที่มี การพบปะนาเสนอในห้องเรียนแบบเผชิญหน้า 90-100% Distanceมีการเรียนในชั้นเรียนน้อยมาก หรือไม่มีเลย เป็นโปรแกรมเรียน ออนไลน์เต็มรูปแบบ เช่น มหาวิทยาลัยไซเบอร์ของไทย และปัจจุบัน ยังมีอยู่น้อยมาก 75+% Onlineเป็นส่วนที่ให้ความสาคัญและนาเสนอการเรียนการสอนในระบบ ออนไลน์เกือบทั้งหมดและจะไม่มีการเรียนในชั้นเรียนแบบเผชิญหน้า ถ้ามีจะมีเป็นส่วนน้อย สัดส่วนของเวลาในการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 30 :70