SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 7
Descargar para leer sin conexión
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ (Air Pollution)
      หมายถึง ภาวะที่อากาศมีการเจือปนของสารหรือสิ่งปนเปื้อนในปริมาณที่มากพอ
ทาให้อากาศเสื่อมคุณภาพเป็นอันตรายต่อมนุษย์ สัตว์ และพืช
มลสาร (Pollutant)
      หมายถึง ที่ปนเปื้อนอยู่ในอากาศมีทั้งในรูปของแข็ง ฝุ่นละออง ไอระเหยหรือก๊าซ
รวมทั้งกลิ่น เขม่า ควัน สารกัมมันตรังสี สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ปรอท ตะกั่ว
ออกไซด์ของไนโตรเจน และคาร์บอน เป็นต้น
แหล่งกาเนิดมลพิษทางอากาศ
      1. การเผาไหม้เชื้อเพลิงของกิจกรรมต่างๆ ซึงทาให้เกิดก๊าซต่างๆ เช่น ก๊าซ
                                               ่
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ขี้เถ้า และ
ออกไซด์ของโลหะ เป็นต้น
      2. การฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองและอนุภาคต่างๆ
      3. โรงงานอุตสาหกรรมผลิตหรือแปรรูปวัตถุดิบ ซึ่งอาจมีการปล่อยสารพิษ
ออกมา เช่น ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ ออกไซต์ของซัลเฟอร์แอมโมเนีย ไออตะกั่ว สารหนู
เป็นต้น
      4. การเกษตร
      5. เตาปฏิกรณ์
      6. แหล่งกาเนิดจากธรรมชาติ
ผลกระทบจากภาวะมวลพิษทางอากาศ
      1. เป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ มวลสารแต่ละชนิดจะเป็นผลกระทบต่อ
สุขภาพต่างกัน
      2. สารพิษที่ระบายออกสู่บรรยากาศ บางชนิดคงตัวอยู่ในบรรยากาศได้เป็น
เวลานาน และแพร่กระจายออกไปได้ไกล
      3. ทาให้เกิดฝนกรด ซึงเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิงก่อสร้าง
                          ่                              ่
      4. ทาให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) เกิดจากก๊าซ
คาร์บอนมอนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทน ออกไซด์ของไนโตรเจน โอโซน
และสารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC) เมื่อลอยขึ้นไปบนชั้นบรรยากาศ จะปกคลุมมิให้
รังสีความร้อนจากผิวโลกระบายขึ้นสู่บรรยากาศระดับสูงขึ้นได้ ทาให้เกิดการสะสมความ
ร้อนของผิวโลก
การป้องกันและแก้ไขภาวะมลพิษทางอากาศ
       1. ลดสารภาวะมลพิษทางอากาศจากแหล่งกาเนิด
       2. เข้มงวดกับมาตรการลดผลกระทบด้านภาวะมลพิษทางอากาศจาก
  ภาคอุตสาหกรรม
       3. สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีการเกษตร
       4. ปรับปรุงระบบการกาจัดขยะมูลฝอยในชุมชนให้มีการบริหารจัดการแบบครบ
  วงจร ถูกหลักวิชาการ เพื่อลดการเผาขยะในที่โล่ง
       5. ป้องกันการเกิดไฟป่า
6. ส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียนที่มาจากธรรมชาติ
     7. ลดการใช้อุปกรณ์เครื่องใช้ที่มสารประกอบของสารที่ทาให้เกิดภาวะเรือน
                                     ี
กระจก
     8. สนับสนุนให้มีการใช้ระบบการขนส่งที่มีมลพิษน้อย และส่งเสริมการใช้ระบบ
ขนส่งมวลชน
     9. รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าใจอันตรายที่เกิดจากภาวะมลพิษทาง
อากาศ และมีส่วนรวมในการป้องกันแก้ไขมิให้เกิดภาวะมลพิษทางอากาศ
     10. ปรับปรุงกฎหมาย เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติตามและการใช้บังคับกฎหมาย
ด้านการจัดการภาวะมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอ..

Más contenido relacionado

Similar a มลพิษทางอ..

โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อนsudsanguan
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกdnavaroj
 
ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ fainaja
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2fainaja
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2fainaja
 
บูรณาการเคมี
บูรณาการเคมีบูรณาการเคมี
บูรณาการเคมีninefiit
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวsangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2thanaluhk
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)Aungkana Na Na
 
งานที่4 powerpoint
งานที่4 powerpointงานที่4 powerpoint
งานที่4 powerpointAmbobo
 
งานบูรณาการิชาเคมี
งานบูรณาการิชาเคมีงานบูรณาการิชาเคมี
งานบูรณาการิชาเคมีninefiit
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์oraneehussem
 
บูรณาการเคมี
บูรณาการเคมีบูรณาการเคมี
บูรณาการเคมีninefiit
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2Thitiporn Klainil
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2klainil
 

Similar a มลพิษทางอ.. (20)

โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อน
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
 
ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ ทรัพยากรอากาศ
ทรัพยากรอากาศ
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 
02 global warming
02 global warming02 global warming
02 global warming
 
บูรณาการเคมี
บูรณาการเคมีบูรณาการเคมี
บูรณาการเคมี
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
 
งานที่4 powerpoint
งานที่4 powerpointงานที่4 powerpoint
งานที่4 powerpoint
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
งานบูรณาการิชาเคมี
งานบูรณาการิชาเคมีงานบูรณาการิชาเคมี
งานบูรณาการิชาเคมี
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
บูรณาการเคมี
บูรณาการเคมีบูรณาการเคมี
บูรณาการเคมี
 
GREEN RESEARCH Issue Dec 25
GREEN RESEARCH Issue Dec 25GREEN RESEARCH Issue Dec 25
GREEN RESEARCH Issue Dec 25
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 

มลพิษทางอ..

  • 1.
  • 2. มลพิษทางอากาศ มลพิษทางอากาศ (Air Pollution) หมายถึง ภาวะที่อากาศมีการเจือปนของสารหรือสิ่งปนเปื้อนในปริมาณที่มากพอ ทาให้อากาศเสื่อมคุณภาพเป็นอันตรายต่อมนุษย์ สัตว์ และพืช มลสาร (Pollutant) หมายถึง ที่ปนเปื้อนอยู่ในอากาศมีทั้งในรูปของแข็ง ฝุ่นละออง ไอระเหยหรือก๊าซ รวมทั้งกลิ่น เขม่า ควัน สารกัมมันตรังสี สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ปรอท ตะกั่ว ออกไซด์ของไนโตรเจน และคาร์บอน เป็นต้น
  • 3. แหล่งกาเนิดมลพิษทางอากาศ 1. การเผาไหม้เชื้อเพลิงของกิจกรรมต่างๆ ซึงทาให้เกิดก๊าซต่างๆ เช่น ก๊าซ ่ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ขี้เถ้า และ ออกไซด์ของโลหะ เป็นต้น 2. การฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองและอนุภาคต่างๆ 3. โรงงานอุตสาหกรรมผลิตหรือแปรรูปวัตถุดิบ ซึ่งอาจมีการปล่อยสารพิษ ออกมา เช่น ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ ออกไซต์ของซัลเฟอร์แอมโมเนีย ไออตะกั่ว สารหนู เป็นต้น 4. การเกษตร 5. เตาปฏิกรณ์ 6. แหล่งกาเนิดจากธรรมชาติ
  • 4. ผลกระทบจากภาวะมวลพิษทางอากาศ 1. เป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ มวลสารแต่ละชนิดจะเป็นผลกระทบต่อ สุขภาพต่างกัน 2. สารพิษที่ระบายออกสู่บรรยากาศ บางชนิดคงตัวอยู่ในบรรยากาศได้เป็น เวลานาน และแพร่กระจายออกไปได้ไกล 3. ทาให้เกิดฝนกรด ซึงเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิงก่อสร้าง ่ ่ 4. ทาให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) เกิดจากก๊าซ คาร์บอนมอนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทน ออกไซด์ของไนโตรเจน โอโซน และสารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC) เมื่อลอยขึ้นไปบนชั้นบรรยากาศ จะปกคลุมมิให้ รังสีความร้อนจากผิวโลกระบายขึ้นสู่บรรยากาศระดับสูงขึ้นได้ ทาให้เกิดการสะสมความ ร้อนของผิวโลก
  • 5. การป้องกันและแก้ไขภาวะมลพิษทางอากาศ 1. ลดสารภาวะมลพิษทางอากาศจากแหล่งกาเนิด 2. เข้มงวดกับมาตรการลดผลกระทบด้านภาวะมลพิษทางอากาศจาก ภาคอุตสาหกรรม 3. สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีการเกษตร 4. ปรับปรุงระบบการกาจัดขยะมูลฝอยในชุมชนให้มีการบริหารจัดการแบบครบ วงจร ถูกหลักวิชาการ เพื่อลดการเผาขยะในที่โล่ง 5. ป้องกันการเกิดไฟป่า
  • 6. 6. ส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียนที่มาจากธรรมชาติ 7. ลดการใช้อุปกรณ์เครื่องใช้ที่มสารประกอบของสารที่ทาให้เกิดภาวะเรือน ี กระจก 8. สนับสนุนให้มีการใช้ระบบการขนส่งที่มีมลพิษน้อย และส่งเสริมการใช้ระบบ ขนส่งมวลชน 9. รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าใจอันตรายที่เกิดจากภาวะมลพิษทาง อากาศ และมีส่วนรวมในการป้องกันแก้ไขมิให้เกิดภาวะมลพิษทางอากาศ 10. ปรับปรุงกฎหมาย เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติตามและการใช้บังคับกฎหมาย ด้านการจัดการภาวะมลพิษทางอากาศ